ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์


ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์



 


 

ดาวเคราะห์ (กรีก: πλανήτης; อังกฤษ: planetes หรือ "ผู้พเนจร") คือวัตถุขนาดใหญ่ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ ก่อนคริสต์ทศวรรษ 1990 มีดาระบบสุริยะ)
ปัจจุบันเรารู้จักดาวเคราะห์ใหม่อีกมากกว่า 100 ดวง ซึ่งเป็น
ดาวเคราะห์นอกระบบ คือ โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงอื่นที่ไม่ใช่ดวงอาทิตย์
ดาวฤกษ์ คือวัตถุท้องฟ้าในอวกาศที่เป็นก้อนแก๊สมวลมหาศาล ดาวฤกษ์ปรากฏเป็นจุดแสงในท้องฟ้าเวลากลางคืน เราเห็นแสงดาวกะพริบ
จากผลของปรากฏการณ์ในบรรยากาศโลก และการที่ดาวฤกษ์อยู่ห่างไกลจากเรามาก ยกเว้นกรณีของดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ดวงเดียวที่อยู่ใกล้โลกมาก
จนปรากฏเป็นดวงกลมโตให้แสงสว่างในเวลากลางวันดาวเคราะห์ที่เรารู้จักเพียง 9 ดวง
 
 
 
           

 
            ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกของเรามากที่สุด มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซไฮโดรเจน ที่ใจกลางของดวงอาทิตย์ 
มีอุณหภูมิและแรงดันสูงมาก จนทำให้ก๊าซไฮโดรเจนหลอมรวมกันเป็นก๊าซฮีเลียม และแผ่พลังงานออกมาอย่างมหาศาล เป็นความร้อนและแสงสว่าง
เราเรียกปฏิกิริยานี้ว่า "ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน" พลังงานความร้อน และแสงสว่าง จากดวงอาทิตย์นี้เอง ที่เอื้อให้เกิดสิ่งมีฃีวิตบนโลกของเรา
 

 

 


ดาวพุธ
อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด โคจรรอบดวงอาทิตย์1รอบ ใช้เวลา88วัน เป็นดาวเคราะห์ที่หมุนเร็วที่สุด มีขนาดหนึ่ง
ในสามของโลก
ยานอวกาสที่ส่งชึ้นไปบนดาวพุธคือยานมารีเนอร์ 10 ของสหรัฐฯ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง1300 กิโลเมตรล้อมรอบด้วยภูเขา
กลางวันจะร้อนมากและตอนกลางคืนก็หนาวมากเช่นกัน เนื่องจากแกนกลางของดาวพุธมีแกนเหล็ก จึงทำให้ดาวพุธมีสนามแม่เหล็ก










ดาวศุกร์


มีอีกชื่อหนึ่งว่าดาววีนัส เป็นดาวเคราะห์ดวงที่สองจากดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากโลก42ล้านกิโลเมตร ถือเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด


ยานอวกาศที่ขึ้นไปบนดาวศุกร์เป้นครั้งแรกคือยานมารีเนอร์ 2 ได้ส่งข้อมูลถึงอุณหภูมิของดาวศุกร์ บรรยากาศของดาวศุกร์มี
คาร์บอนไดออกไซด์และกรดซัลฟิวริกเกือบทั้งหมดซึ่งปิดกั้นแสงของดวงอาทิตย์ทำให้พื้นผิวของดาวเคราะห์มีสีแดงสลัว









โลก


โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ150 ล้านกิโลเมตร เต็มไปด้วยหินขนาดเล็ก


โลกใช้เวลาหนึ่งปีในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลาหนึ่งวันหรือ 24 ชั่วโมงในการหมุนรอบตัวเอง

















าวอังคาร








ดาวอังคารเป็นดาวดวงที่สี่จากดวงอาทิตย์ใช้เวลา 687 วันในการหมุนรอบดวงอาทิตย์ มีขนาดครึ่งหนึ่งของโลก มองเห็นได้ใน
เวลากลางคืนเพราะมีสีค่อนข้างแดง
ยานอวกาศลำแรกที่บินผ่านดาวอังคารคือมารีเนอร์ 4 ทำให้แน่ใจได้ว่าดาวอังคารเป็นหลุมคบล้ายๆ
กับหลุมบนดวงจันทร์ ยานไวกิ้งได้พบว่าดาวอังคารมีอุณหภูมิแตกต่างกันมากมีบรรยากาศที่เบาบางประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์และ
ออกซิเจนเล็กน้อยดาวอังคารมีดวงจันทร์2ดวงคือ โฟบอสและไดมอส





















ดาวพฤหัสบดี (Jupiter)


ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ยักษ์ เพราะมีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11.2 เท่า
นอกจากนี้ยังได้ชื่อว่าเป็นดาวเคราะห์ก๊าซ เพราะมีองค์ประกอบเป็นก๊าซไฮโดรเจนและฮีเลียมคล้ายในดวงอาทิตย์ ความหนาแน่น
ของดาวพฤหัสบดีจึงต่ำ (1.33 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร) เมื่อดูในกล้องโทรทรรศน์ จะเห็นเป็นดวงกลมโตกว่าดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ
พร้อมสังเกตเห็นบริวาร 4 ดวงใหญ่เรียงกันอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตรด้วย กาลิเลโอเป็นนักดาราศาสตร์คนแรกที่ใช้กล้องส่องพบบริวาร
สี่ดวงใหญ่นี้ จึงได้รับเกียรติว่าเป็นดวงจันทร์ของกาลิเลโอ































































ดาวยูเรนัส


ใช้เวลา 84 ปีในการหมุนรอบดวงอาทิตย์วิลเลี่ยม เฮอรส์เชลเป็นผู้ค้นพบ ดาวยูเรนัสมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์มีทั้งหมด11วงเ
ป็นก้อนน้ำแข็งขนาดเท่าก้อนหิน ยานอวกาศที่เคยบินผ่านดาวดวงนี้เป็นลำแรกคือ ยานวอยาเจอร์ 2 มีดวงจันทร์ทั้งหมด15 ดวง



บรรยากาศประกอบด้วยไฮโดรเจนเป็นส่วนใหญนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าลึกลงไปในกลุ่มควันมีมหาสมุทรของน้ำและแอมโมเนีย

















ดาวเนปจูน





เออร์เบนน เลเวอริเออร์เป็นผู้ค้นพบดาวดวงนี้และตั้งชื่อตามเทพเจ้าแห่งทะเลของโรมัน ดาวเนปจูนห่างจากโลกประมาณ
4500 ล้านกิโลเมตร ยานอวกาศที่ให้ข้อมูลมากที่สุดในการศึกษาดาวเคราะห์ดวงนี้คือ ยานอวกาศวอยาเจอร์ 2



บรรยากาศของดาวดวงนี้ประกอบด้วยไฮโดรเจน ฮีเลียมและมีเธน ก๊าซมีเธนเป็นก๊าซที่ทำให้ดาวดวงนี้มีสีน้ำเงิน ดาวเนปจูน
เป็นดาวที่ให้ความร้อนมากกว่าความร้อนที่มันได้รับจากดวงอาทิตย์
ดาวเนปจูนเป็นดาวที่มีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์
มีดวงจันทร์ 8 ดวง








 

                                                 3

หมายเลขบันทึก: 240084เขียนเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2009 18:23 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 22:50 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (10)

สวัสีครับหามาดูข้อมูลดี ๆ ครับ เป็นกำลังใจให้ครับ ...... งั้นผมเพิ่มให้อีกนิดนะครับ

คงไม่ว่ากันนะครับ ... เรื่อง ดาวเคราะห์แคระ ก็คือการใช้คำนิยามใหม่ของดาวเคราะห์ จากการประชุมของ IAU องค์การดาราศาสตร์ สากร โดยตั้งนิยามดาวเคราะห์ออกเป็น 2 ประเภทคือ ดาวเคราะห์ชั้นเอก (จะเรียกว่าดาวเคราะห์หลักก็ได้) และ ดาวเคราะห์แคระ นั้นก็คือ ดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็ก และมีวงโคจรไม่คงที่ (วงโคจรไม่คงที่ หมายถึง การที่ดาวเคราะห์นั้นเข้าไปทับซ้อนวงโครจรของดาวเคราะห์ดวงอื่น เช่น ดาวพลูโต) ซึ่งจากนิยามนี้ ทำให้ พลูโต ถูกจัดประเภทให้เป็นดาวเคราะห์แคระ เพราะพลูโต มีวงโครจรทับซ้อนกับดาวเนปจูนในบางช่วง (เข้าไปแทรกระหว่างชั้นนะ หมานถึง พลูโตแย่งลำดับเป็นดาวเคราะห์ลำดับที่ 8 แทนที่เนปจูน) นอกจากนั้น ยังมีการพบ ดาวเคราะห์แคระ อีกหลายดวง เช่น 2003UB313(รหัสที่ใช้ใน องค์การ NASA) ชื่อเดิมคือ ซีน่า ตอนนี้ได้ชื่อใหม่แล้วเป็นการตั้งชื่อตามชื่อเทพของกรีก คือ อีงริส ซึ่งมีบริวาล 1 ดวง คือ 2005(2003UB313)1 ชื่อเดิม คือ เกรเบรียน และตอนนี้ได้ชื่อตามหลักการตั้งชื่อ เป็น ดิสนอเมีย (เป็นลูกของเทพแห่งความขัดแย่ง "อิงริส") นอกนั้นก็มี เซเรส ที่อยู่ในกลุ่มของแทบดาวเคราะห์น้อย (ระหว่างดาวอังคาร และดาวพฤหัสบดี) และก็ มาเกะ มาเกะ ที่ค้นพบใหม่อีกดวง ... ก็เท่าที่จำได้นะครับ ประมาณนี้... คงเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์นะครับ ...

ในปีนี้ 2552 เป็นปีดาราศาสตร์สากร ช่วยกันสนับสนุนการศึกษาดาราศาสตร์ประเทศไทยให้ดียิ่ง ๆขึ้นครับ ...

จาก ... ผู้สร้างสถานะการณ์ทางการศึกษา (ผู้น้อยครับ)

มิวล์อยากบอกทุกคนว่ามิวล์สวยเหมือนดาวเคราะห์

ดเกเกเกเดานดเดกเดเดกเกเ

า่เ้เ้้ปาตอง

 

เท่ค่ะ3/2 ่ท่าบ่อ ้้้้้้

รักปี้ซ่า55555555้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้

ตัวหนังสือเล็กมองไม่เห็น

 

ขอบคุณนะที่หัยข้อความแนะนำ

เพราะว่าเป็นประโยชน์ต่อฉานมาก.......ค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท