หลักการสังเกตคำภาษาบาลีสันสกฤตในภาษาไทย (๑)


ถ้าคำใดมีตัวอักษรซ้ำกัน เป็นคำภาษาบาลีแน่นอน

ภาษาบาลี – สันสกฤต 

 

วรรค/แถว 

 

 

 

 

วรรค กะ

วรรค จะ

วรรค ฏะ

วรรค ตะ

วรรค ปะ

เศษวรรค

ย ร ล ว   ห ฬ  (อัง)

          ( ศ,ษ ) (สันสกฤต)

 ท่องว่า

วรรคกะ   ไก่      ไข่       ควาย        ฆ่า          งู

วรรคจะ   จับ      ฉัน         ชู        ฌ เฌอ    หญิง

วรรคฏะ    ฏัก     ฐาน      ฑอ         เฒ่า        ณิง

วรรคตะ    เต่า     ถูก        ทิ้ง        ธ  ธง       นาย

วรรคปะ   ปลา     ผัก       พัก          ภพ          ม้า

เศษวรรค    ยาย  เรา  เล่า  ว่า  เสือ  หาย  แฬ้ว    ํ(อัง)

ในภาษาบาลีจะมีการใช้ตัวสะกดตัวตามที่แน่นอนตามกฎเกณฑ์  คือ

ในภาษาบาลีแถวที่จะใช้เป็นตัวสะกดได้คือแถวเลขคี่  คือ  ๑, ๓ และ ๕  ดังนี้

แถวที่   สะกด     แถวที่  ๑, ๒  ตาม

แถวที่   สะกด    แถวที่  ๓, ๔  ตาม

แถวที่  ๕  สะกด    แถวที่  ๑ – ๕  ตาม

                                        *** ตัวอย่างคำ  ***

แถวที่ ๑ สะกด  อุาบาต  ทุข์  กิ() สั  มั  วั()สงสาร  เม  วัถุ

แถวที่ ๓ สะกด  อัคี  พยัฆ์  รั()กาล  มัฌิ  วั()นา  วุ()ฒิ  นิาน

แถวที่ ๕ สะกด  บัลังก์  สัข์ ค์  เกฑ์  นิมต์  นัท์  กันาท  สัผั

*** ตัวหนา = ตัวสะกด         ตัวเอียง = ตัวตาม

 

*** ข้อควรจำ  ถ้าคำใดมีตัวอักษรซ้ำกัน  เป็นคำภาษาบาลีแน่นอน    เช่น  ปัญญ  อัคคี  นิพพาน  เมตต  บัลลังก์  ฯลฯ

อ่านต่อหน้า ๒ 

เลือกอ่านหน้า หน้า ๑   หน้า ๒ 

หมายเลขบันทึก: 231087เขียนเมื่อ 21 ธันวาคม 2008 22:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:38 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (12)

ถ้าบอกนักเรียนท่อง แบบ กะ ขะ คะ ฆะ งะ, จะ ฉะ ชะ ฌะ ญะ ฯ นักเรียนจะจำได้เร็วดีรึเปล่าครับ แล้วถ้าบอกนร.เพิ่มอีกนิดว่า แถวที่ ๑ เป็น อักษรกลาง แถวที่ ๒ เป็นอักษรสูง แถวที่ ๓-๔ เป็นอักษรต่ำคู่ แถวที่ ๕ เป็นอักษรตำเดี่ยวก็น่าจะเป็นประโยชน์ต่อไปในการผันวรรณยุกต์

(แหมผมมีความรู้น้อยแต่เสนอเยอะไป กลัวแต่จะเป็นการสอนหนังสือสังฆราช อายจัง)

อาจารย์วันหลังหาเสภาสามัคคีมาบ้างนะจารย์

หายากมากเลยอะ อาจารย์

อาจารย์ผมขอโทษเพือนผมเเก้งผมอาจารย์

มาแลกเปลี่ยนและเรียนรู้   ว่างๆจะนำไปลิงค์ไว้ที่ นี่ค่ะ

  แหล่งเรียนรู้ภาษาไทยจัดทำโดย สทร. 

ในภาษาบาลีจะมีการใช้ตัวสะกดตัวตามที่แน่นอนตามกฎเกณฑ์  คือ

ในภาษาบาลีแถวที่จะใช้เป็นตัวสะกดได้คือแถวเลขคี่  คือ  ๑, ๒ และ ๓  ดังนี้

แถวที่  ๑  สะกด     แถวที่  ๑, ๒  สะกด    น่าจะใช้ว่า  แถวที่ ๑,๒ ตาม

แถวที่  ๓  สะกด    แถวที่  ๓, ๔  สะกด

แถวที่  ๔  สะกด    แถวที่  ๑ – ๕  สะกด

ขอบคุณครูภาทิพ มากนะครับ

บังเอิญลืมดูครับ

ดำเนินการแก้ไขแล้วครับ

ยินดีที่ได้รู้จักครับ

แวะมาหาความรู้

จากครูคนเก่งจ้า

(จำกันได้บ่)

ดร.ไชยวัฒน์ สุดหล่อ

ดีมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

ดร.ไชยวัฒน์ (ผู้ช่วยเลขา ICT)

เป็นเว็บที่ดีมากๆๆนะครับ

เศษวรรค ใช้ยังไงอะ

อนึ่งยากแท้หยั่งถึง


ถ้าเศษวรรคสะกดให้ใช้เศษวรรคตามครับ เช่น วัลลภ เป็นต้นครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท