รูปแบบ Indivedual Scorecard ของ ก.พ.ร. และรูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ สำนักงาน ก.พ.


รูปแบบ Indivedual Scorecard ของ ก.พ.ร. และรูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ สำนักงาน ก.พ.

รูปแบบ Indivedual Scorecard ของ ก.พ.ร.

และรูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ สำนักงาน ก.พ.

รูปแบบ Indivedual Scorecard ของ ก.พ.ร.

  1. เริ่มจากยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย

  2. ประเมินผลการดำเนินงานหรือความสำเร็จในการดำเนินงาน

  3. ประกอบด้วยเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย

  4. เป้าประสงค์และตัวขี้วัดมาจาก

- ผู้บังคับบัญชาหรือสำนัก/กอง

- งานที่ตนเองรับผิดชอบ

- งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ

5. กำหนดเป้าหมายเป็นรายปีและรายงานทุก 6,9,12 เดือน

รูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ สำนักงานก.พ.

  1. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานและประเมินสมรรถนะ (และอาจจะมีปัจจัยอื่น ๆ)

  2. ประกอบด้วยตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย

  3. ตัวชี้วัดมาจาก

- งานตามคำรับรอง หรือแผนปฏิบัติราชการหรือยุทธศาสตร์

- งานตามหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก

- งานตามที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ

4. กำหนดเป้าหมายครึ่งปีและรายงานผลทุกครึ่งปี

หมายเลขบันทึก: 430391เขียนเมื่อ 9 มีนาคม 2011 16:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 เมษายน 2016 14:43 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)
  • มารับความรู้ครับ
  • ด้วยความระลึกถึง
  • ขอบคุณมากครับ

สวัสดีค่ะ...ท่าน ผอ.บวร...Ico48...

  • ค่ะ ปัจจุบันส่วนราชการเกิดการเปลี่ยนแปลงมากยิ่งขึ้นค่ะ...เพราะรัฐต้องการทำให้เห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้นไงค่ะ เกี่ยวกับเรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงาน ต้องมีตัวชี้วัดที่ชัดเจน ขึ้นอยู่กับส่วนราชการแต่ละส่วนต้องหาตัวชี้วัดให้ชัดเจนมากขึ้นกว่าแต่ก่อนไงค่ะ
  • ขอบคุณค่ะที่แวะมาเยี่ยม...

 

  • ขอบคุณสำหรับดอกไม้กำลังใจค่ะ...ท่าน ผอ.บวร...Ico48...
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท