ดูภาพคอฟันสึก


 

เอาภาพคอฟันสึกในผู้สูงอายุมาให้ดูค่ะ เป็นฟันที่มีการสึกที่คอฟัน จากการแปรงฟัน และฟันผุต่อ จากการที่มีคอฟันสึก

(ภาพอาจยังเห็นไม่ชัดนะคะ จะพยายามหามาเปลี่ยนให้เห็นได้ชัดขึ้น)

ภาพคอฟันสึก

ภาพคอฟันสึก

ภาพฟันผุ ต่อจากคอฟันสึก

ภาพฟันผุต่อจากคอฟันที่สึก

 

หมายเลขบันทึก: 13825เขียนเมื่อ 29 มกราคม 2006 19:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:15 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)
นายรุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย

ผมคิดว่าปัญหาทางด้านทันตสาธารณสุขเป็นปัญหาที่ยิ่งใหญ่ในสังคมไทยครับ เพราะการรณรงค์การดูแลสุขภาพในช่องปาก ยังคงมีปัญหาอยู่มาก

ดูรูปแล้วคงต้องรณรงค์กันมากเลยครับ

ผมก็เป็นคนหนึ่งที่มีปัญหาเรื่องคอฟันอักเสบ(ไม่เหมือนในภาพนะ.ในภาพน่ากลัวมากครับ) วันนี้เพิ่งไปหาหมอมา แต่หมอยังไม่ถอนให้เนื่องจากยังมีอาการปวดมาก หมอบอกว่าสาเหตุมาจากหินปูนที่เกาะอยู่ ถ้าไม่ขูดหินปูนก็จะเกิดอาการอย่างนี้ขึ้นได้อีกกับฟันทุกซี่ ปวดทรมานมากเลย

  • สวัสดีค่ะ คุณ เบญจพล
  • แบบนี้หมอได้นัดไปขูดหินปูน รักษาต่อไหมคะ

<h4>สวัสดีครับ เข้ามาอ่าน เห็นภาพแล้วนึกถึง <span style="color: #008000;">ตจปัญจกกรรมฐาน เขียนไว้ในบทความ <a href="http://gotoknow.org/blog/kelvin/170376" target="_blank">บอกว่า ..ไม่ได้โป๊..</a> </span><br /><br />ท่าน ที่เคยบรรพชาอุปสมบท คงจะจำได้ว่า เวลาเข้าไปขอบรรพชากับพระอุปัชฌาย์นั้น ท่านจะให้ ท่อง &ldquo;<span style="color: #008000;">ตจปัญจกกรรมฐาน</span>&rdquo; (ตะ-จะ-ปัน-จะ-กะ-กำ-มะ-ถาน) มี ๕ อย่าง คือ เกสา (ผม) โลมา (ขน) นะขา (เล็บ) ทันตา (ฟัน) ตะโจ (หนัง)</h4>

<h4>ถ้าว่าโดย &ldquo;<span style="color: #008000;">อนุโลม</span>&rdquo; คือว่าไปตามลำดับก็เป็นดังนี้ เกสา-โลมา-นะขา-ทันตา-ตะโจ แล้วท่านก็ให้ว่าย้อนลำดับเป็น &ldquo;<span style="color: #008000;">ปฏิโลม</span>&rdquo; ดังนี้ ตะโจ-ทันตา-นะขา-โลมา-เกสา ให้ว่ากลับไปกลับมา เพื่อให้จิตเป็นสมาธิ เพราะถ้าจิตไม่เป็นสมาธิก็จะว่าสับลำดับกันไปหมด อย่างนี้ท่านเรียกว่า &ldquo;<span style="color: #008000;">ตจปัญจกรรมฐาน</span>&rdquo; ทั้ง &ldquo;<span style="color: #ff0000;">อนุโลม</span>&rdquo; และ &ldquo;<span style="color: #ff0000;">ปฏิโลม</span>&rdquo;</h4>

<h4><span style="BACKGROUND-COLOR: #ccffcc"><span style="color: #0000ff;">ตจปัญจกรรมฐาน</span> นี้ใช้เพื่อฝึกจิตพิจารณา&nbsp; กาย ของเราว่า ไม่เที่ยง ทั้ง เกสา (ผม) โลมา (ขน) นะขา (เล็บ) ทันตา (ฟัน) ตะโจ (หนัง) เป็นสิ่งไม่สะอาดต้องหมั่นขัดถู ถ้าไม่ขัดถู ก็จะมีกลิ่นเหม็น ไม่สวยงาม น่ารังเกียจ เสื่อมสลายได้ตามกาล ที่เรามักหลงไปว่า สวย ว่างาม นั้น เพราะจิตเราปรุงแต่ง เมื่อพิจารณาได้ดังนี้แล้ว จิตเราก็จะคลายความกำหนัดในกามคุณ</span></h4>

ว้าแย่จัง ช่วยลบหน่อยนะครับ มันไม่แสดง ค่าภาษา HTML

  • เก็บไว้ 1 อันก็แล้วกันนะคะ คุณกวิน จะได้มีร่องรอยของการบันทึกละค่ะ
  • และคิดอีกทางก็คือ จะได้เก็บ code html ไว้ศึกษาได้ด้วย
  • ขอบคุณค่ะ
  • หมั่นตรวจฟัน และรักษา ก่อนที่จะหน้าตาฟันจะเป็นเช่นนี้ ก็จะไม่น่ากลัวแล้วละค่ะ อ.ประจักษ์
  • ฝากอาจารย์ดูแลเรื่องฟัน ของนักเรียนด้วยนะคะ
  • ขอบคุณค่ะ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท