สุขภาพช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ (45) เฝ้าระวังสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ตอนที่ 3 ฟันก็เปลี่ยนไป๋ - เนื้อฟัน


เนื้อฟันเองเมื่ออยู่ที่บริเวณใกล้ๆ กับบริเวณที่ถูกกระตุ้นด้วยสภาวะฟันผุ มันจะการพยายามปิดรูพรุนของมันเอง เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อโรคลามไปตามรูพรุนเหล่านี้

 

นอกเหนือจากนี้แล้ว ส่วนของเนื้อฟัน เป็นส่วนที่ลึกเข้าไป คือ เนื้อฟัน

เนื้อฟันจะมีการสร้างตัวตลอดชีวิต โดยมาก บริเวณส่วนผิวๆ ใกล้ๆ กับบริเวณโพรงประสาทฟันของเนื้อฟัน จะมีความเข้มข้นของฟลูออไรด์สูงที่สุด

เพราะฉะนั้นจะเห็นได้ว่า โดยปกติแล้ว เวลามีฟันผุ มักจะไม่ทะลุโพรงประสาทง่ายๆ ถ้าไม่มีปัจจัยอื่นมากระตุ้น เช่น การเคี้ยวอาหารแข็ง หรือว่ามีเศษอาหารไปอุดติดบริเวณนั้นนานๆ หรือมีการแตกหักจากการเคี้ยวเอง

ภาพที่มองเห็นจะเป็นส่วนของ Dentinal tubule เพราะว่า เนื้อฟันมีรูพรุนอยู่

และเนื้อฟันเองเมื่ออยู่ที่บริเวณใกล้ๆ กับบริเวณที่ถูกกระตุ้นด้วยสภาวะฟันผุ มันจะการพยายามปิดรูพรุนของมันเอง เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อโรคลามไปตามรูพรุนเหล่านี้

จะเห็นได้ว่า เส้นผ่าศูนย์กลางของรูจะตีบแคบลง บริเวณที่อยู่ด้านใน คือ Dentine หรือเนื้อฟันนั่นเอง ที่มีการหนาตัวมากขึ้น

รวมเรื่อง สุขภาพช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ 

 

หมายเลขบันทึก: 247861เขียนเมื่อ 12 มีนาคม 2009 07:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 20:25 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)
  • มาเยี่ยมหมอฟันหลังข้าวตอน
  • แวะมาเสนอข่าวโตย  อิอิ

  • P
  • หายแซ๊บ บ บ ไปเลย เจ๊
  • ไปไหนมา ฮึ
  • ... อิอิ อาทิตย์หน้า หายตัวไป 1 อาทิตย์เด้อ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท