KM ภาคปฏิบัติ โดย อ.วิจารณ์ พานิช (1-200)


KM ภาคปฏิบัติ โดย อ.วิจารณ์ พานิช (1-200)

 

สนใจไหมคะ ชาวกรมอนามัย

KM ภาคปฏิบัติ โดย อ.วิจารณ์ พานิช

ประกอบด้วย

  1. ภาวะผู้นำ
  2. นำจากข้างหลัง
  3. จิตใจดี
  4. คุณเอื้อ กับ ลูกบอล
  5. คุยกับตัวเอง
  6. วัฒนธรรมการฟัง
  7. วิธีทำให้หัวปลาอร่อย
  8. วัฒนธรรมการเขียน
  9. วัฒนธรรมการอ่าน
  10. วัฒนธรรมการคุย
  11. การหมุนเวียนงาน
  12. วาทกรรม KM
  13. ทำอย่างไรคนจึงจะเปิดใจ
  14. การคิดกับการทำ
  15. บุญของผู้ให้
  16. ปัญญาปฏิบัติ
  17. บุคคลก่อนและหลัง KM
  18. KM กับทุนทางสังคม
  19. ร่วมกันสร้าง
  20. จิตวิญญาณกับการจัดการความรู้
  21. อำนาจ
  22. หน่วยจัดการความรู้ภาคประชาสังคม
  23. KM กับความเชื่อ
  24. การทำงานอย่างอิสระ
  25. KM กับความคิดเชิงวิทยาศาสตร์
  26. การจัดการความหวัง
  27. การจัดการคุณค่า
  28. 1. KM ประเทศไทยวันนี้
    2. บล็อก เครื่องมือสื่อออกมาจากใจ
  29. การออกแบบการพัฒนาแนว KM
  30. ออกแบบ KM ให้เนียนอยู่ในเนื้องาน
  31. เครือข่าย KM เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ
  32. หน่ออ่อนความดี
  33. KM Externship
  34. เครือข่าย KM ประเทศไทย
  35. ทำ KM แบบหกคะเมนตีลังกา
  36. "คุณเอื้อ" ในอุดมคติ
  37. 1. วิธีทำให้ KM เนียนอยู่ในเนื้องาน
    2. ออกแบบกิจกรรม KM
  38. ความสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
  39. People Mapping
  40. ตาแหลม มองเห็นสิ่งที่ทุกคนมองไม่เห็น
  41. ตั้งคำถามสำคัญกว่าให้คำตอบ
  42. KM กับนวัตกรรม
  43. ทำเรื่องเล็กให้เป็นเรื่องใหญ่
  44. KM กับนวัตกรรม (2)
  45. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์รวมหมู่
  46. จากความรู้ส่วนตัวสู่ความรู้ขององค์กร
  47. ...
  48. ...
  49. Creativity - based Society
  50. ทำ KM หรือเขียน บล็อกไม่ได้ดี ถ้า ....
  51. KM คือกระบวนการเชื่อมโยงคนกับเทคโนโลยี  
  52. KM กับสังคม
  53. การทำลายความรู้
  54. KM กับบูรณาการ และ empowerment
  55. KT ไม่ใช่ KM
  56. ในสังคมไทยมีวัฒนธรรมย่อยที่ทำ KM ได้ยากง่ายแตกต่างกัน
  57. ทักษะที่ต้องฝึก
  58. บุญเก่ากับบุญสร้าง
  59. เคล็ดลับคือเริ่ม แต่อย่าหยุด ที่ความสำเร็จ
  60. ไอเดีย
  61. เบื้องลึกของโจทย์ AAR ข้อที่ ๑
  62. วิธีทำงานใหญ่งานยากโดยใช้แนวคิดแบบ KM
  63. การตรวจสอบความถูกต้องของความรู้
  64. บ่างช่างยุยุค KM
  65. เทคนิคกำหนด KV จากความระแวง
  66. จัดการความรู้ จัดการคุณค่า จัดการความหมาย
  67. ความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน
  68. การบริหารการเปลี่ยนแปลงแนว KM
  69. วิธีคิดเพื่ออดีตหรือเพื่ออนาคต
  70. วิธีเข้าให้ถึงความรู้ฝังลึกเกี่ยวกับ KM
  71. คำถาม AAR ข้อที่ ๔
  72. บันทึกอย่างไรให้ความรู้ฝังลึกออกมา
  73. เคารพและให้คุณค่าต่อความรู้เชิงบริบท
  74. หลักการออกแบบ KM ในองค์กร
  75. ความรู้เชิงวิชาการ กับความรู้เชิงประสบการณ์
  76. Hot-stove Effect
  77. องค์แปดของปัญญาเชิงสังคม
  78. องค์ประกอบที่ ๑ ของปัญญาเชิงสังคม - เข้าใจภาษาเชิงอารมณ์ ที่ไม่ใช่ถ้อยคำ
  79. องค์ประกอบที่ ๒ ของปัญญาเชิงสังคม - สามารถฟังหรือรับสารจากบุคคลได้อย่างตั้งใจ
  80. องค์ประกอบที่ ๓ ของปัญญาเชิงสังคม - เข้าใจความคิด ความรู้สึก ความต้องการ ของคู่สนทนา
  81. องค์ประกอบที่ ๔ ของปัญญาเชิงสังคม - เข้าใจสังคมวัฒนธรรมของคู่สนทนา
  82. ขอเชิญชวน เล่าเรื่องที่ KM ช่วยปลดปล่อยศักยภาพของความเป็นมนุษย์
  83. องค์ประกอบที่ ๕ ของปัญญาเชิงสังคม - ปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับผู้อื่นได้อย่างคล่องแคล่ว โดยใช้ภาษาที่ไม่ใช่ถ้อยคำ
  84. องค์ประกอบที่ ๖ ของปัญญาเชิงสังคม - ทักษะในการนำเสนอตนเอง ให้ผู้อื่นรับรู้และเข้าใจในระดับที่ลึก
  85. องค์ประกอบที่ ๗ ของปัญญาเชิงสังคม - ทักษะในการชักจูงให้ผลลัพธ์ของปฏิสัมพันธ์ ออกมาตามที่เราต้องการ
  86. องค์ประกอบที่ ๘ ของปัญญาเชิงสังคม - ทักษะในการเอาใจใส่ เห็นอกเห็นใจ เข้าใจความต้องการ และช่วยเหลือผู้อื่น
  87. ความมั่นใจในตนเอง
  88. การปฏิบัติธรรม
  89. KM ด้านกิจการนักศึกษา
  90. ปัจจัยเกี่ยวกับการสร้างความรู้
  91. KM ชาวบ้านกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นานาชาติ
  92. สามเรื่องท้าทาย
  93. สร้าง (และใช้) ความรู้โดยไม่รู้ตัว
  94. นวพรแห่งซีอีโอนักประยุกต์ KM
  95. ความรู้กับความอยู่ดีมีสุข
  96. Measurement

ความรู้ KM ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ข้อ 201-400 ดูได้ที่นี่ค่ะ http://gotoknow.org/blog/kmanamai-nonta/70177 และ KM ภาคปฏิบัติ (ข้อ 401 up) โดย อ.วิจารณ์ พานิช และ ... KM ภาคปฏิบัติ โดย อ.วิจารณ์ พานิช (600 up)

 

หมายเลขบันทึก: 16279เขียนเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2006 22:38 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (9)

ขอบพระคุณค่ะ //รวบรวมไว้ดีจังเลย

ครูนอกโรงเรียนก็สนใจไม่ยิ่งหย่อนครับ ไม่เฉพาะแต่ชาวกรมอนามัย ขอแอ็ดไว้นะครับคุณหมอ

สวัสดีปีใหม่ครับ

ขอบคุณค่ะ คุณ DSS@MSU ( หนิง ) และ ครูนงเมืองคอน  ที่ชอบ ... ความรู้ใน G2K นี่มากมายจริงๆ นะคะ อ่านหนเดียวไม่รู้รอบเลยละค่ะ

ถึงพี่ๆน้องๆผู้รู้ในกรมอนามัย

กระผมผู้มีความรู้น้อย อาจารย์โป่ง

วันนี้ขอเรียนรู้จาก best practice การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เกิดขึ้น

วันหน้าผมจะขอต่อกรต่อยอดความรู้ด้วยคนนะครับ

อาจารย์โป่ง

อ.นพพร ชื่นพันธ์ (อดีตอาจารยฺพิเศษวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี และเจ้าหน้าที่สารสนเทศ)

ในทัศนะของข้าพเจ้า...

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ(Factor's) องค์กรแห่งการเรียนรู้ มีดังนี้

1. ความใฝ่รู้ของบุคคลในองค์กร

2. การส่งเสริมของผู้บริหารภายในองค์กร

3. E-Edutainment (Education + Entertainment)

4. E-Management

5. การเรียนรู้ตลอดชีวิต (ตามที่ข้าพเจ้าได้นำเสนอในงานสัมมนา)

6. การศึกษาตามอัธยาศัย

7. PERSONAL KM

8. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการประมวลผลสารสนเทศ

ขอขอบพระคุณความรู้เกี่ยวกับ KM ภาคปฏิบัติ โดย อ.วิจารณ์ พานิช

ศิษย์ได้รับความรู้จากการได้ถอดบทเรียนจากบทความทางวิชาการ อ.วิจารณ์ พานิช ครับ


ขออนุญาตแสดงทัศนะของศิษย์ / ผู้เขียน /นักศึกษา มีดังนี้

ทฤษฎีการวิจัยตามธรรมชาติ เพื่อส่งเสริม

กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ

ข้อความที่แสดงทัศนะเป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลใน

เชิงวิชาการ เพื่อแสดงทัศนะใน

การพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนและ

การพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย

เพื่อเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

โดยอ้างอิงทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ทฤษฎีการวิจัยตามธรรมชาติ

และแนวคิด Constructivism และ Constructionism เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้แก่ผู้เรียน

โดยมิได้มีเจตนา เสียดสี พาดพิง ใส่ร้าย กล่าวหา ผู้ใด

หรือเจตนาทำให้ผู้ใดเสื่อมเสียชื่อเสียง

ขอขอบคุณนักวิจัย สาขาการศึกษา นักการศึกษา

นักวิชาการ คณาจารย์ ไว้ ณ ที่นี้ด้วย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท