มาก่อนกำหนดรึปล่าวนะ?


ย้อนรอยไต้ฝุ่นเกย์รึปล่าว
14 เมษายน

มาก่อนกำหนดรึปล่าว?

  • การผันแปรของภูมิอากาศ
       ย่างเข้าสู่เทศกาลสงกรานต์   ก็มีเรื่องที่จะต้องติดตามกัน ในเรื่องของภัยธรรมชาติ ซึ่งเวลานี้ได้มี พายุเขตร้อนมาจ่ออีกลูกนึงแล้ว ซึ่งจะย้อนรอยเหมือนไต้ฝุ่นเกย์หรือลินดารึป่าว? ยังไม่มีใครบอกได้ แต่ถ้าย้อนรอยแบบที่ผ่านมา คงจะได้มีงานทำกันแน่ๆ แต่ปีนี้ พายุมาไวเหลือเกิน เนื่องด้วยปรากฏการณ์ ลานินญ่า รึป่าว ..แต่ปรากฏการณ์อีกอย่างหนึ่งที่ทำให้อากาศวิปริตแปรปรวนแบบนี้ ที่เราไม่อาจมองข้ามได้คือ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศซึ่งเปลี่ยนแปลง ลมฟ้าอากาศ วิปริตแปรปรวนไปทั่วโลก ตัวอย่าง หนาวก็หนาวจัดมีหิมะที่เวียดนาม และพายุหิมะถล่มเมืองจีนอย่างต่อเนื่อง  ฤดูร้อน กลับฝนตกอย่างต่อเนื่องตั้งแต่มีนาเป็นต้นมา มีฝนตกเกือบทั่วทุกภาค 
  • การเปลี่ยนแปลงที่ไวเกินคาดอาจจะเกิดขึ้นได้อย่างไม่มีปี่มีขลุ่ย ได้เสมอ  เราเตรียมพร้อมหรือยังที่จะรับสภาพนี้?
  • ติดตามดูสภาพอากาศได้ที่นี่ครับ
    รวมเว็บภาพถ่ายดาวเทียม ทุกๆ 30 นาที – 1 ชั่วโมง บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคตะวันตกในซีกโลกเหนือ (North West Pacific)
    1. ภาพถ่ายดาวเทียมแบบ INFRARED บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคตะวันตก
    1.1 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณ West Pacific/South China Sea ของ MTSAT
    http://205.85.40.22/sat/gms_nwtrop/ir/nwtrop_ir.jpg
    1.2 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณ West Pacific/South China Sea ของ NOAA (โนอา)
    http://www.goes.noaa.gov/sohemi/SHGMSIRW.JPG
    1.3 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณ อ่าวเบงกอล อ่าวไทย ทะเลจีนใต้ จนถึง ฝั่งตะวันออกของฟิลิปปินส์
    http://205.85.40.22/sat/gms_a/goesa.jpg
    1.4 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณ ทะเลตะวันออกของฟิลิปปินส์ จนสิ้นสุดที่ ลองจิจูดที่ 180.0 องศาตะวันออก
    http://205.85.40.22/sat/gms_b/goesb.jpg
    1.5 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกทั้งหมด
    http://205.85.40.22/sat/gms_full/ir/gmsfull_ir.jpg
    1.6 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณ มหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ อ่าวเบงกอล และมหาสมุทรแปซิฟิคใต้
    http://205.85.40.22/jtwc/jtgio_ir2.jpg
    2. ภาพถ่ายดาวเทียมแบบ VISIBLE (ภาพเห็นจริง) บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคตะวันตก (สามารถดูได้ในเฉพาะเวลากลางวันของมหาสมุทรแปซิฟิคตะวันตก )
    2.1 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณ West Pacific/South China Sea ของ MTSAT
    http://205.85.40.22/sat/gms_nwtrop/vis/nwtrop_vis.jpg
    2.2 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณ West Pacific/South China Sea ของ NOAA (โนอา)
    http://www.goes.noaa.gov/sohemi/SHGMSVSW.JPG
    3. ภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว แบบ INFRARED บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคตะวันตก
    3.1 ภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว บริเวณอ่าวไทย ทะเลจีนใต้ จนถึง ทะเลตะวันออกของฟิลิปปินส์
    http://www.goes.noaa.gov/sohemi/sohemiloops/shirgmsw.html
    3.2 ภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว บริเวณเกาะกวม (Guam) มหาสมุทรแปซิฟิค
    http://www.goes.noaa.gov/guam/guamloops/guamir.html
    3.3 ภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว บริเวณอ่าวไทย ทะเลจีนใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิค
    http://www.ssd.noaa.gov/mtsat/wpac/loop-ir4.html
    3.4 ภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิค ทั้งหมด
    http://cimss.ssec.wisc.edu/tropic/real-time/westpac/movies/gmsir/gmsirjava.html

    Link การพยากรณ์ คาดหมาย ภาพถ่ายดาวเทียม เส้นทางเดินพายุ ทุกๆ 6 ชั่วโมง
    http://metocph.nmci.navy.mil/jtwc.php(1-MinuteMean/ประเทศสหรัฐฯ) ***ต้นฉบับ
    http://www.wunderground.com/(1-MinuteMean/ประเทศสหรัฐฯ)
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/tropical/(1-MinuteMean/ประเทศสหรัฐฯ)
    http://tsr.mssl.ucl.ac.uk/(1-MinuteMean/ประเทศอังกฤษ)
    http://www.kma.go.kr/(10-Minute Mean/ประเทศเกาหลี)
    http://www.jma.go.jp(10-Minute Mean/ประเทศญี่ปุ่น)
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/(10-MinuteMean/ประเทศญี่ปุ่น)

    อื่นๆ
    ความรู้เกี่ยวกับ สัญลักษณ์ของระดับลมที่เกิดขึ้นทั้งบนบกและทะเล (WIND ANALYSYS มาตราโบฟอร์ด) หมายถึงอะไร ???
    http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/8/8d/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2_%E0%B9%82%E0%B8%9A%E0%B8%9F%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%94.GIF


หมายเลขบันทึก: 176912เขียนเมื่อ 14 เมษายน 2008 21:15 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 23:35 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท