มัทนา
มัทนา (พฤกษาพงษ์) เกษตระทัต

generalization และ sample size ในงานวิจัยเชิงคุณภาพ (1)


I love my professors!

นำอีเมลที่อ.ที่ปรึกษาของผู้เขียนส่งมาให้วันนี้มาแบ่งกันอื่นค่ะ

ที่คณะกำลังมีการประกวด เขียนสรุปให้สั้นแต่จับใจที่สุด ว่าเวลาไปนำเสนองานวิจัยเชิงคุณภาพให้คนที่ไม่พื้นฐานทางนี้เราจะตอบคำถามเรื่อง generalization และ sample size ได้อย่างไรบ้าง

กรรมการที่จะตัดสินมีกัน 5 ท่าน มีทั้งนักวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

งานนี้สนุกแน่ : ) ไว้ผู้เขียนจะนำคำตอบของผู้เขียนมาโพสแน่นอนค่ะ

---------------------------------------------------------------------------

Hi Everyone,

In light of the difficulties that we all seem to have in explaining "sample
size" AND "generalizability", I am offering a prize to the best descriptions
received by noon next Wednesday. Descriptions will be judged by Ross Bryant,
Ros Harrison, Ed Putnins, Jolanta Aleksejuniene and myself.


The judges will make no effort to remove their bias from the judgement, nor
will they use a measured score. All decisions will be made by "gut" feelings
and defensible only by human(e) values. If challenged (and I expect
my graduate students to challenge a professor!) the judges will explain
their bias as they help the winner consume or imbibe the prize.


I expect everyone to try-out.


Seriously,

Michael

หมายเลขบันทึก: 186261เขียนเมื่อ 5 มิถุนายน 2008 04:20 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 00:58 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (6)

ศัพท์ใหม่: 

imbibe

[VI, VT] ดื่ม, See also: กลืน, Syn. drink, swallow

[VI, VT] ดูดซึม, See also: ซึมซับ, Syn. absorb

imbibe

  1. archaic : soak, steep
  2. a: to receive into the mind and retain <imbibe moral principles> b: to assimilate or take into solution
  3. a: drink b: to take in or up

ใช้ศัพท์ได้สมกับที่ไมเคิลเป็นคนไอริชจริงๆ : )

  • จะคอยติดตามคำตอบที่ได้รับรางวัลนะครับ
  • ได้ข้อคิด...วันหลังจะใช้วิธีนี้ ในการให้นักศึกษา Construct องค์ความรู้ใด ๆ ได้อีกทางหนึ่ง ขอบคุณมากครับ และ ขอบคุณ Professors ของ หมอมัท ด้วยนะครับ

อืมม์ น่าสนใจมากเลยครับ

ในวิชาสถิติ อาจารย์ก็เคยให้นักเรียนเขียนอธิบาย percentile, quartile, interquartile, box plots แบบเป็นภาษาง่ายๆ เหมือนกัน ผมว่าปัญหาของคนทำงานวิชาการอย่างหนึ่งคือการอธิบายง่ายๆ ไม่เป็น ก็ทำให้ความรู้วนอยู่แต่ในวงการของตัวเอง ไม่สามารถขยายไปไหนได้มาก

คิดไปคิดมาก็ไม่เห็นหนทางว่าจะมีใครมาช่วยอธิบายครับ ก็คงต้องนักวิชาการนั่นล่ะ ที่จะต้องช่วยกันพูดให้ง่าย ให้กระชับ ให้คนที่ไม่มีพื้นฐานความรู้สามารถเข้าใจได้

เอาใจช่วยและจะรอฟังข่าวดีครับ

เห็นด้วยค่ะ อ.ปรึกษาของอ.มัทนี่น่ารักจริงๆ อิอิ อ่านแล้วรู้เลยค่ะ ว่าเป็นคอวิจัยเชิงคุณภาพ เอ หรือจะมิกซ์เมทอด น้า

สู้เค้าค่ะ อาจารย์มัท รอติดตามอ่านต่อนะคะ (อยากรู้ด้วยว่าเค้าจะอธิบายถึงที่มาของการให้รางวัลยังไงด้วยค่ะ สงสัยจะต้องมีลีลา หรืออะไรดีๆแน่ๆเลยค่ะ)

สวัสดีค่ะคุณศิริกุล

อ.ของมัททำทั้งงานวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณค่ะ แล้วแต่ความเหมาะสมของคำถามวิจัยนั้นๆค่ะ : )

นี่เค้าไม่ยอมบอกว่ารางวัลคืออะไรด้วยค่ะ

มัทนั่งเขียนอยู่เมื่อคืนแต่ยังไม่เสร็จเลย

เขียนให้สั้นเขียนยากกว่ามากๆ ให้จับใจยิ่งต้องคิดๆลองผิดลองถูกนานๆ : )

ข้าน้อยขอคารวะอาจารย์ที่ปรึกษาของอ.มัท ด้วยคน

โอ๊ะ โอว น่าลุ้นว่ารางวัลจะเป็นอะไรอีก รู้สึกว่าจะเร้าใจทุกขั้นตอนเลยนะคะ รอติดตามผลนะคะ

ใช่แล้วค่ะ เห้นด้วยอย่างยิ่ง ยิ่งสั้นยิ่งยากค่ะ แต่อ.มัท คนเก่งของเรา ทำได้อยู่แล้วค่ะ สู้เค้าค่ะ ขอส่งกำลังใจไปช่วยจากเพิร์ธนะคะ (เอ แต่สงสัยป่านนี้ อ.มัท เขียนเสร็จส่งไปแล้วมั้งคะเนี่ย หวังว่าไม่ช้าเกินไปนะคะ)

ขอบคุณที่เล่าเรื่องดีๆ มีประโยชน์ให้ฟังนะคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท