7.Monitor students' development regularly, not just at tests...


Lamplaimat Pattana School & โรงเรียนนอกกะลา จ.บุรัรัมย์

During a training session, I told many teachers to carry a halflitre bottle of water and asked them to tell me whether it was heavy.

The response was varied and these teachers gave different reasons to support their replies.

 That was when I told them the validity of an assessment depended on various factors and all of them could have errors.

 I would like to emphasise that teachers and educational institutes should pursue authentic assessments monitoring students' developments over time, not just at the time of taking tests.

 The authentic assessments can be made by observing students' participation in classroom and other activities, chatting with the students, checking their assignments, seeing how they have behaved in real life and examining their portfolios.

 In doing so, teachers will understand their students better and know more about their abilities.

 To children, the authentic assessments are, of course, better than conventional academic tests in the long run.

 These tests are clearly designed without taking the different aptitudes and abilities of individuals into account. Such differences, in fact, have complemented one another in the real world. If all people have the same abilities, many great things could have gone missing.

 At Lamplaimat Pattana School, there is no academic test because we have a policy to increase children's physical, intellectual, emotional and spiritual quotients at the same time. The conventional tests could have distracted students and teachers' attention from this focus.

 In addition, we have decided to do without the academic tests because such evaluation tools more often than not encourage students to compete.

 At Lamplaimat Pattana School, we always think that children should learn to coexist mutually and cooperate. The competitive environment may adversely affect their growth.

 Today, it is widely known that Lamplaimat Pattana School's students are confident, friendly, helpful and happy about themselves.

 This explains why more than 20 schools have now followed the Lamplaimat Pattana model.

 In fact, the 1999 National Education Act calls for the authentic assessment. However, it has rarely been in place at educational institutes, given that the process of authentic assessment is a much more demanding job than scoring an answer sheet in conventional tests.

 However, given the huge benefits of the authentic assessments, relevant authorities have included the process in the new curriculum that will be applicable at all schools from this academic year onward.

 I hope recent efforts will be able to persuade all schools to adopt the authentic assessments. To get started, teachers must first identify learning objectives that are relevant to the curriculum and children's personal development. Then, the teachers can use Rubric to design assignments.

 Rubric is a scoring tool for subjective assessments. It is a set of criteria and standards linked to learning objectives that is used to assess a student's performance on papers, projects, essays and other assignments.

 Last but not least, teachers should create class activities that give their students not just academic knowledge but also stimulus for their personal growth.

 I expect to see all educational institutes, including universities, adjust their entrance exams in the same line.

 Without the change in their entrance exams, teachers and children will be reluctant to welcome the authentic assessment despite its huge benefits.

Wichian Chaiyabang

 Headmaster of Lamplaimat Pattana School

 www.lpmp.org

 http://lamplaimatpattanaschool.blogspot.com/

 [email protected]

 

ที่มา..

http://www.nationmultimedia.com/home/2010/06/07/national/Monitor-students-development-regularly-not-just-at-30130995.html

 

ครูนอกกะลา

http://krunongkala.blogspot.com/

 

 

หมายเลขบันทึก: 373130เขียนเมื่อ 8 กรกฎาคม 2010 21:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 27 เมษายน 2012 15:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (52)

สวัสดีค่ะคุณราชิต

   บอกตรงๆว่าภาษาอังกฤษ ส่งกลับอาจารย์ตั้งแต่เรียนจบแล้วค่ะ แฮ่ๆ

สวัสดีครับคุณราชิต

เเวะมาอ่านข่าวสารดีๆ ก่อนเข้านอนครับ

 

เข้ามาอ่านทักทายยามดึก

ชื่นชมกับแนวคิดของโรงเรียนนอกกะลาแห่งนี้

ขอบให้เป้าหมายสูงสุดของที่นี้เป็นจริงด้วยนะ...

lสวัสดีค่ะ

พยายามจะมาทักทาย แต่เน็ตล่มบ่อย ๆ ลิงค์เข้ามาไม่ได้ค่ะ  ครูป้อมโชคดีที่ได้เป็นครูที่นี่ หัวใจอยู่ที่นี่ค่ะ

Lamplaimat Pattana School's students are confident, friendly, helpful and happy about themselves.

เป็นโรงเรียนในดวงใจพี่จริงๆ ค่ะ

 Without the change in their entrance exams, teachers and children will be reluctant to welcome the authentic assessment despite its huge benefits

พี่เห็นด้วยทุกประเด็นที่ครูวิเชียร ไชยบัง พูด แต่ที่แก้ยากคงเป็นเรื่องสุดท้ายนี่ล่ะค่ะ

ยอดเยี่ยมมากครับ

แต่ต้องอาศัยเวลาแปลนานหน่อยครับ

ขอบคุณครับ

น้องครูป้อม....

ขอเวลาแปลนานหน่อย  ความรู้ส่งคืนโรงเรียนไปหมดแล้ว...

hahahahahaพูดเล่น   เมื่อคืนเข้า  GTK  ยากและ GATEAWAY  TIMEOUT  ตลอด

เลยยอมแพ้....

อย่าลืมเขาจะปรับปรุงแม่ข่ายเย็นนี้  17.30 - 19.30 น.  ตามที่น้องมะปรางแจ้งนะคะ

มาชม

วาวดีจัง...ชื่นชม ๆ

ตอบ

P

คุณยาย

"อยากน้อยก็ได้เข้ามาอ่าน อาจจะได้รับความรู้กลับไปเพียงน้อยนิดผมก็ประทับใจและขอบคุณทุกความคิดเ็ห็นครับ.."

ขอบคุณมากนะครับ...

ตอบ

P

พีธากร พิพัฒวรางกุล

"ภาพที่นำมาฝากครูป้อมขอขอบคุณมากครับ น่ารักจัง.."

ขอบคุณนะครับที่ติดตาม...

ตอบ เมธานี

"ความงอกงามและความรักระหว่างเด็กน้อยนักเรียน จะเห็นและสัมผัสได้จริง ก็ต่อเมื่อเราได้เห็นสภาพจริงของเขา.."

ขอบคุณครับ...

คุยกับกรรมการสถานศึกษาแล้วว่าจะพาเขาไปศึกษาดูงาน

คุณราชิต ช่วยฝากหมายเลขโทรศัพท์ให้ผมด้วยทางเมล์ [email protected]

สรุปจากการอ่านทำให้ทราบโรงเรียนส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนและประเมินผลการเรียนตามสภาพจริง

การจัดบริบทส่งเสริมให้เด็กเจริญงอกงาม ที่เกิดจากครูให้ความรัก

ตอบ

P

ครูคิม

"เมื่อวานช่วงเย็นๆ เว็บG2Kมีปัญหาเข้าระบบล้มบ่อยๆ ครั้งจนเกือบจะไม่เผยแผ่บทความแล้ว หลังจากที่ลงได้ก็รีบนำบทความดีๆ ของครูใหญ่มาให้ชาวG2Kได้อ่านรับรู้ร่วมกันครับ จะช้าหรือจะเร็วเราก็ยังแลกเปลี่ยนความรู้แก่กันเสมอครับพี่ครูคิม ครูเพื่อสังคม.."

ขอบคุณมากนะครับ ฝากดูแลสุขภาพนะครับ...

  • สวัสดีค่ะ 
  • แวะมาชื่นชมแนวคิดดี ๆ ค่ะ

สวัสดีค่ะแวะมาชื่นชมกับเด็กนะคะที่มีผู้ใหญ่ใจดีชาวต่างชาติมาร่วมงานแต่งกายเข้ากับเด็กๆ ......เค้าคงชอบชุดนี้มากนะคะน้องราชิต

สวัสดีครับ

ผมก็อยากเห็นโรงเรียนแบบนี้ได้ขยายไปทั่วทั้งจังหวัดบุรีรัม

รวมทั้งประเทศด้วย อ้อลืมบอกว่าผมก็เป็นคนบุรีรัมย์ครับ อยู่ที่อ.นาโพธิ์ ครับ อิอิ...

ยินดีที่เห็นคนบ้านเดียวกันครับ

ขอบคุณครับ

ขอบคุณท่านมากนะคะ สุแปลไม่หมดหรอกคะ แต่อ่านแบบคร่าวๆๆ ต้องไปเปิดดิก พอจะประมาณ เดาแบบย่อๆๆ  ขอบคุณมากนะคะ แล้วสุจะกลับมาเปิดดิก มันมีในคอมคะ เผอิญว่า วันนี้ดึกแล้ว อ่านไม่จบหมดคะ ขอบพระคุณคะที่คิดถึง

ท่าน ผอ,พรชัย สรุปแล้วคะ เก่งจังเลยนะคะ ขอบคุณท่านราชิต สุพรคะ

ตอบ

P

nui

"ถึงประเด็นท้ายสุดจะแก้ยาก แต่เราก็ต้องทำครับ ถ้าไม่ทำคงไม่ประจักษ์ ดีกว่าไม่ทำไรเลย ครูใหญ่ท่านก็งานเยอะครับพี่นุ้ย.."

ขอบคุณมากนะครับที่มาเยี่ยมติดตามอ่านครับ...

ตอบ

P

วิทยา ตั่นยืนยง

"มวลวิกฤติ ได้เกิดขึ้นแล้ว แต่เราต้องรออีกจำนวน โอกาส และเวลา ที่เหมาะก็คงได้ดีในระดับหนึ่งครับ.."

ขอบคุณมากนะครับ...

ขอบคุณนะคะที่ทำให้ได้มีโอกาสทบทวนภาษาอังกฤษที่มีอยู่น้อยนิดในการเข้ามาเยี่ยมชมโรงเรียนnokkala

อุไรวรรณ(ครูมะนาว)

ขอบคุณข้อมูลดีๆ นะค่ะครูป้อม

เคยได้ยินเรื่องราวของโรงเรียนแห่งนี้มานานแล้ว ถ้ามีโอกาสจะพาคณะครูไปเยี่ยมดูงานที่โรงเรียนนอกกะลาแห่งนี้สักครั้ง

ครูสอนภาษาไทย..ได้รู้แนวประเมินที่ดีๆ เพิ่มมากยิ่งขึ้น

โรงเรียนที่ไม่มีการสอบ

เด็กๆ คงมีความสุขมากขึ้นถ้าโรงเรียนไม่มีการสอบ

การศึกษารูปแบบปัจจุบันเกิดขึ้นพร้อม ๆ กับยุคของการปฏิวัติอุตสาหกรรม โรงงานได้เปลี่ยนวิถีการผลิตโดยใช้เครื่องจักรขนาดใหญ่ให้ผลผลิตมีคุณภาพเดียวกันได้คราวละมาก ๆ แล้วคนส่วนใหญ่ก็ถูกผลักเข้าสู่ระบบโรงงาน ส่วนเด็ก ๆ ถูกผลักไปสู่โรงเรียนซึ่งมีกรอบความคิดคล้ายกับระบบโรงงาน คือมองผู้เรียนเป็นวัตถุดิบที่จะเข้าสู่โรงงาน เด็กๆ จะถูกคัดเลือกด้วยเกณฑ์เดียวกัน แล้วผ่านกระบวนการในหลักสูตรเดียวกัน เพื่อหวังให้ทุกคนจบออกมามีคุณภาพเหมือนๆ กันในปริมาณมากๆ เด็กๆ จึงถูกสอนความรู้ที่มีผู้รู้เอาไว้แล้วจากหนังสือ เป็นคำตอบที่มีคนกำหนดไว้ก่อนล่วงหน้าแล้วว่าอะไรถูกหรือผิด สุดท้ายจึงวัดกันที่ใครรู้สิ่งเหล่านั้นมากกว่าคนอื่นเป็นผู้ชนะ และ สิ่งที่จะมาวัดสิ่งที่เด็กๆ รู้ได้อย่างง่ายและรวดเร็วที่สุดก็คือการสอบ เพราะมันเป็นปรนัยที่สุด

ผ่านจากยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมมาเป็นยุคดิจิตอล ยุคข้อมูลข่าวสาร กรอบความคิดของการศึกษาไม่ได้เปลี่ยน แต่ข้อมูลที่มากขึ้น ๆ อย่างมหาศาลได้สร้างปัญหา เพราะไม่มีใครที่จะสามารถรู้ได้ทุกเรื่อง การวัดว่าใครรู้มากกว่าคือผู้ชนะ เริ่มใช้การไม่ได้ กลับกลายเป็นว่าคนสองคนรู้เหมือนกันอีกคนหนึ่งก็ไม่มีความหมาย ความรู้ความสามารถที่แตกต่างกลับทำให้ระบบนิเวศทางสังคมของมนุษย์สมบูรณ์มากขึ้น

โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา เปิดทำการเรียนการสอนมาแล้วเจ็ดปี เราไม่ใช้วิธีการวัดผลโดยการสอบมาตั้งแต่แรก เรามีเป้าหมายที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีความฉลาดทั้งสี่ด้านได้แก่ Physical Quotient, Intellectual Quotient, Emotional Quotient และ Spiritual Quotient นอกจากเป้าหมายทั้งสี่อย่างนี้เรายังต้องการคนที่มีคุณลักษณะที่เป็นนักเรียนรู้ อยู่ร่วมกันแบบร่วมมือไม่ใช่แข่งขัน ดังนั้นทั้งวิธีการบ่มเพาะและวิธีการประเมินที่เราใช้จึงต้องเอื้อต่อการงอกงามของเด็กแต่ละคนตามศักยภาพ

เรามีระบบการวัดผลและการประเมินผลเพื่อให้รู้ว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าเพียงใด จุดมุ่งหมายหลักของการประเมินผลจึงเป็นไปเพื่อพัฒนาพัฒนาผู้เรียน ด้วยวิธีการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง ที่เกิดขึ้นทุกขณะอย่างต่อเนื่อง (Authentic Assessment) โดยใช้เครื่องมือที่หลากหลาย เช่น การเฝ้าสังเกต การสัมภาษณ์พูดคุย การตรวจดูจากชิ้นงาน การตรวจสอบจากกระบวนการทำงาน การปฏิบัติในวิถีชีวิตจริง แฟ้มงาน และการสะท้อนงาน วิธีการประเมินเหล่านี้กลับทำให้ครูได้พบข้อมูลที่ละเอียดลึกซึ้งและรอบด้านที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนมากกว่าการสอบ เพราะการสอบนั้นจะได้ข้อมูลมาแบบหยาบๆ ทั้งยังไม่คำนึงถึงความแตกต่างและศักยภาพของแต่ละคน การสอบไม่ได้เคารพความเป็นตัวตนของแต่ละคน

แม้ว่าการประเมินตามสภาพจริงจะได้กำหนดใน พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 ก็ตาม แต่นี้ไม่ก็ใช่เรื่องง่ายสำหรับครู จึงยังไม่มีการปฏิบัติอย่างเป็นจริงเป็นจังในโรงเรียนโดยทั่วไป เพราะครูส่วนใหญ่เคยชินกับวิธีที่ง่ายอยู่แล้วคือการสอบ ล่าสุดเมื่อมีการประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 โดยให้เริ่มใช้ในทุกโรงเรียนทั่วประเทศในปีการศึกษา 2553 หลักสูตรใหม่ได้กำหนดแนวทางในการออกแบบการสอนให้เป็นแบบหน่วยการเรียนบูรณาการ และ ให้มีการประเมินการบรรลุผลของนักเรียนจากชิ้นงานหรือภาระงานที่เด็กทำ นั้นก็คือการประเมินตามสภาพจริงนั้นเอง คราวนี้เราคงเห็นบทบาทของการทดสอบในโรงเรียนต่างๆ น้อยลงไปโดยปริยาย

รูปแบบการประเมินตามสภาพจริงจะต้องสอดรับกับการออกแบบการสอนด้วย โดยมีขั้นตอนที่สำคัญคือ 1) ครูต้องกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจนก่อนสอนว่าจะให้ผู้เรียนเข้าใจอะไร หรืองอกงามด้านใดบ้างทั้งนี้ต้องเชื่อมโยงกับมาตรฐานหรือตัวชี้วัดตามสูตรแกนกลางด้วย 2) กำหนดชิ้นงานพร้อมกับเกณฑ์ Rubric ที่จะชี้ให้เห็นว่าผู้เรียนจะบรรลุเป้าหมาย 3) ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน

อย่างไรก็ตามการประเมินผลตามสภาพจริงจะไม่ถูกใช้ในโรงเรียนต่างๆ อย่างจริงจัง ถ้าหากโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัยทั้งหลาย ยังใช้วิธีการสอบเพื่อคัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนเช่นเดิม

ผมเคยทดลองให้ครูผู้เข้าอบรมหลายๆ คนยกขวดน้ำขนาดครึ่งลิตร แล้วจึงถามว่า “คิดว่าขวดน้ำ หนักหรือเบา” ทุกคนกลับตอบคำถามและให้เหตุผลประกอบไม่เหมือนกัน โปรดระวังเสมอว่าการวัดผลและประเมินผลมักมี error ทั้งจากเครื่องมือวัด และ ตัวผู้วัดเอง

สวัสดีคะ

แวะมาดูแล้วคะ แต่ได้ดูแค่คร้าวๆจะแวะมาดูใหม่นะคะ

ขอบคุณคะ

ตอบ

P

krugui Chutima

"จะแปลช้าหรือเร็ว อย่างน้อยพี่ก็ได้เข้ามารับความรู้กลับไปครับ ครูป้อมปฏิบัติตามพี่มะปางเตือนแล้วครับ..".

ขอบคุณมากนะครับที่ติดตามเสมอมาครับ...

ตอบ

P

umi

"ช่วงนี้แถวหาดใหญ่คงอากาศเย็นสบายดีมีความสุขนะครับ อ.ยูมิ.."

ขอบคุณครับ...ที่มาชื่นชมครับ..

  • สวัสดีค่ะ
  • คืนนี้อย่าลืมเชียร์บอลนะค่ะ
  • ขอบคุณค่ะ

ตอบ

P

พรชัย

"ครูป้อมแจ้งให้ทราบทาง E-mail แล้วนะครับ เป็นการประเมินเด็กโดยเลี่ยงการสอบ แต่เป็นการประเมินอย่างต่อเนื่อง(Authentic Assessment) และพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า มีประสทธิภาพมากกว่าการสอบ เพราะการสอบได้การประเมินที่ค่อนข้างจะหยาบๆ ครับ ผอ.พรชัย .."

ขอบคุณมากนะครับ ถ้ามาปลายเดือนสิงหาคงมีโอกาสได้พบกันครับ...

สวัสดีค่ะครูป้อม

     มาชวนไปเยี่ยมบันทึกที่พี่น้องGTKได้เจอกันค่ะที่นี่นะคะ...http://gotoknow.org/blog/0815444794/373325

                                                             มาตายี

ตอบ

P

ธรรมทิพย์

"เป็นแนวการคิดของ วิเชียร ไชยบัง(ครูใหญ่) โรงเรียนนอกกะลา เขียนบทความลงคอลัมน์ของ nation ครับ.."

ขอบคุณมากนะครับที่มาเยี่ยมชม...

ตอบ

P

rinda

"เห็นบ่อยมากครับที่ผู้ใหญ่ใจดีที่เคยมาโรงเรียนฯ ใส่ชุดเช่นเด็กนักเรียน เป็นชุดผ้าขาวม้า ไม่มีใหม่กว่า ไม่มีเก่ากว่า ทุกคนใส่เสื้อใหม่หมดครับ.."

ขอบคุณมากนะครับที่เข้ามาติดตามอ่านเสมอมาครับ...

ขอบคุณบันทึกที่ดีนี้ค่ะ คงได้มีโอาสมาเยี่ยมชน คิดไว้เช่นนั้นค่ะ

ครูยุ

ตอบ

P

เทพ

"ตอนนี้เราได้เริ่มเป็นโรงเรียนต้นแบบแล้วครับ มีโรงเรียนทำตามแนวมางเรากว่า 200 โรงเรียนแล้วครับ ครูใหญ่บอกว่าต้องการให้ได้ 1000 โรงเีรียนถือว่า..จะกระทบกระทรวงได้ ไม่มากก็น้อยครับ.. อ๋อ!! ครูป้อมทำงานที่ จ.บุรีรัมย์ ครับ แต่เป็นคน จ.นครพนม ครับ.."

ขอบคุณมากนะครับที่ติดตามอ่าน...

 

เยี่ยมมากเลยครับ ครูใหญ่เขียนเองเลยใช่ไหมครับ เอาใจช่วย ขอให้ขยายเครือข่ายไปได้มากๆๆครับ

สวัสดีค่ะอ.ราชิต

เป็นโรงเรียนที่น่าเอาอย่างนะค่ะ เสริมสร้างและพัฒนาสิ่งดีๆแก่เด็กเป็นอย่างมาก เช่นให้เขามั่นใจและมีความสุข และหลายๆอย่างที่น่าประทับใจค่ะ

ขอบคุณบันทึกดีๆนี้ค่ะ

สวัสดีคะครูราชิต

ขอบคุณสำหรับรูปและข้อความดีๆนะคะ

วันหลังหนูจะเอารูปสถานที่ท่องเที่ยวที่บ้านมาฝากด้วยคะ

ขอบคุณคะ

ตอบ

P

สุ-มหาวิทยาลัยชีวิต ที่ไม่มีวันปิดทำการ

"ในความคิดเห็นที่ 22 ครูใหญ่ท่านแปลให้พวกเราอ่านแล้วครับ ท่านขอบคุณทุกกำลังใจที่ส่งมอบให้กับความรู้ ความงอกงามที่เราๆ ท่านๆ ได้รับกลับไปทุกคนนะครับ.."

ขอบคุณมากนะครับพี่สุ ดูแลสุขภาพนะครับ...

ตอบ

P

ฮัฟเส๊าะ ม่วงงาม

"ความรู้ของเราสามารถหามาเพิ่มเติมได้ครับ ที่ทำให้หายไปยากกว่าเสียอีก ยังไงก็มีการแปลในความคิดเห็นที่ 22 นะครับ.."

ขอบคุณมากครับ...

ตอบ ครูมะนาว

"ถ้ามีโอกาสก็พามานะครับ ครูป้อมจะรอที่โรงเรียนนอกกะลา ถ้าการประเมินเด็กอย่างต่อเนื่องนี้ได้ผลจริง ก็ขอให้นำไปประยุกต์ใช้ทุกวิชานะครับ.."

ขอบคุณนะครับสำหรับการติดตาม...

ตอบ ความคิดเห็นที่ 22

"ครูใหญ่ ช่วยแปลให้อ่านนะครับ.."

สวัสดีครับคุณราชิต

แวะเข้ามาเยี่ยมเยียน ต้องยอมรับตรง ๆ ว่าภาษาEnglish ส่งกลับไปหาอาจารย์หมดแล้ว พยามแปลแต่ไม่ค่อยได้ความ เมื่อได้อ่านความเห็นที่ 22 ซึ่งได้แปลให้อ่านแล้ว เป็นความคิดที่ยอดเยี่ยมมาก น่าจะมีการขยายเครือข่ายให้มากขึ้น อันส่งผลให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข ประเมินผลตามสภาพจริง ตามความสามารถ ตามสมรรถนะ ตามความถนัดและศักยภาพของผู้เรียนไม่สร้างความเครียดให้กับผู้เรียน

ขอบคุณบันทึกแนวคิดดีๆนี้ครับผม

ตอบ

P

วิมลวัลย์ ซื่อตรง

"คร่าวหน้าดูอย่างละเอียดนะครับ จะได้นำความรู้ที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ต่ออีกครั้ง.."

ขอบคุณนะครับ...

ตอบ

P

บุษรา

"ครูป้อมเชียร์บอลโลกได้เฉพาะคู่เล่น 6 โมงเย็นหรือ 3 ทุ่ม จะพอดูครับ ถ้าตี 1 คงลุกไม่ไหวแล้วครับ ยังไงก็ข้อให้นำความรู้ที่ได้จาบบทความครูใหญ่นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์นะครับ.."

ขอบคุณนะครับ...

ตอบ

P

เกด เกศนี บุณยวัฒนางกุล

"เช่นกันกับรูปหมีน้อยนะครับ น่ารักมากเลย.."

ขอบคุณนะครับ...

ตอบ

P

มาตายี

"แวะไปเยี่ยมมาแล้วครับ น้องพึ่งรู้นะครับว่าพี่มาตายีเป็นมือกีตาร์ขั้นเทพด้วยอีกคนนิครับ.."

ขอบคุณนะครับ...

ชื่นชมครับ..

ขอให้เครือข่ายเติบโต..มากๆ นะครับ

 

ตอบ

P

ครูยุ

"ถึงจะเป็นโรงเรียนที่อยู่ต่างจังหวัดที่ไกลจากความเจริญ แต่อย่างน้อยเราก็ได้สร้างความงอกงามจากแหล่งชุมชนของเด็กให้เขามีความสุขได้ รร.รักเมืองไทน ที่เยอรมันเป็นไงบ้างล่ะครับตอนนี้.."

ขอบคุณมากนะครับ...

ตอบ

P

ขจิต ฝอยทอง

"ครูใหญ่เขียนเองครับ ลงหนังสือพิมพ์เนชั่นครับ แต่ในเว็บบุคคลในเนชั่นเขียนลงให้อีกทีครับ การขยายเครือข่ายเราก็ได้กำลังใจจากหลายส่วนมาเสริมความงอกงามที่เกิดให้เสมอทุกวันครับ.."

ขอบคุณนะครับ...

ตอบ

P

ถาวร

"การเรียนรู้ผ่านจินตนาการ เป็นการเรียนรู้อย่างมีความสุข ให้เตรียมความพร้อมทางจิตใจก่อนที่เรียนรู้และเขาจะเรียนรู้อย่างมีความสุขครับ.."

ขอบคุณนะครับ...

ตอบ

P

วิมลวัลย์ ซื่อตรง

"เช่นกันครับ ที่แว่ะกลับมาเยี่ยมบล๊อกครูป้อม ขอให้ได้นำความรู้จากบทความนี้ไปประยึกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์นะครับ.."

ขอบคุณนะครับ...

ตอบ

P

นาย ชวน บัวชื่น

"เป็นการประเมินที่ละเอียดครับ เพราะการประเมินอย่างต่อเนื่องจะทำให้ครูผู้สอนจะเห็นสภาพจริงของนักเรียนมากกว่าการสอบครับ.."

ขอบคุณนะครับ...

ตอบ

P

แผ่นดิน

"การเติบโตเรามุ้งเน้นเพื่อพัฒนาคนให้เป็นคน(ที่สมบูรณ์).."

ขอบคุณนะครับ...

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท