การบูรณาการ 4 สาระเป็นการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล....หรือไม่


การบูรณาการ 4 สาระเป็นการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล....หรือไม่

*****

Qwr8

*****

คำตอบ.....

1. ไม่ถือว่าเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล  เพราะไม่สามารถระบุเนื้อหาที่ผู้เรียนได้เรียนอย่างชัดเจนได้

2. โรงเรียนจะต้องจัดการเรียนการสอนเนื้อหาสาระที่เป็นสากล ดังนี้

แนวทางที่ 1 บูรณาการเนื้อหาสาระที่เป็นสากลไว้ในวิชาพื้นฐาน (ทฤษฎีความรู้ หรือ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยมีเงื่อนไขให้จัดเป็นหน่วยการเรียนรู้ )

แนวทางที่ 2  จัดเนื้อหาสาระสากล  เป็นรายวิชาเพิ่มเติม ตลอดหลักสูตร  

 

Qwr9

*****

ระดับชั้น

เนื้อหาสาระสากล

จัดแบบบูรณาการ

จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม

ประถมศึกษา

TOK

หน่วยการเรียนรู้

20 ชั่วโมง

80 ชั่วโมง

 

Extended Essay

หน่วยการเรียนรู้

20 ชั่วโมง

80 ชั่วโมง

 

CAS

หน่วยการเรียนรู้

20 ชั่วโมง

80 ชั่วโมง

 

Global Education

หน่วยการเรียนรู้

20 ชั่วโมง

80 ชั่วโมง

*****

หมายเลขบันทึก: 353363เขียนเมื่อ 22 เมษายน 2010 23:01 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 22:48 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

วิธีการจัดการเรียนการสอน

  • ครูใช้รูปแบบการสอนจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สนทนาโต้ตอบ (Discuss) และอภิปรายซักถาม (Debate) โดยไม่มีการตัดสินถูก (Right) หรือ ผิด (Wrong) ในข้อคิดเห็น
  • แต่ครูผู้สอนจะต้องมุ่งพัฒนาส่งเสริม  ฝึกฝนวิธีการให้ความคิดบนพื้นฐานของความรู้และทฤษฎีความรู้ต่างๆ
  • ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น  ให้ข้อมูลขัดแย้ง หรือเห็นด้วยอย่างมีคุณภาพ (Quality of justification and a balance approach to the knowledge claim in question)
  • ดังนั้น  ในการจัดการเรียนการสอน  ครูผู้สอนจะต้องจัดการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถและมีทักษะในการนำเสนอแนวคิด องค์ความรู้ โดยบอกประเด็นสำคัญ 3 ประเด็น เกี่ยวกับหัวข้อ (Topic) ที่ตนเองเลือก ได้แก่
  • 1.สามารถบอกช่องทางการรับรู้ ความรู้ ได้รับความรู้มาได้อย่างไร (Sense Perseption) หรือรู้โดยเหตุผล (Reason) รับรู้โดยอารมณ์ (Emotion) หรือรับรู้จากสื่อภาษา สัญลักษณ์การให้สมญานาม (Language /Symbois/nomenclatures) 
  • 2.สามารถบอกสาขาความรู้ที่ได้รับ(Area of Knowledge) เช่น เป็นความรู้ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศษสตร์ มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และศิลปกรรม
  • 3.สามารถบอกความหมายขององค์ประกอบต่างๆของความรู้ที่ได้รับในเรื่องต่อไปนี้
  •   3.1ธรรมชาติการรับรู้ (Nature of Knowledge)
  •   3.2ภูมิปัญญาท้องถิ่น(Knowledge of Communities)
  •   3.3ภูมิปัญญาชาวบ้าน( Knowers' Senses )
  •   3.4ความรู้เกี่ยวกับสิทธิและการเรียกร้องสิทธิต่างๆ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท