เค้าโครง Backward Design


thai Backward Design

เค้าโครงการออกแบบการเรียนรู้  (Backward  Design)

๑.  ชื่อหน่วย      เสภาขุนช้างขุนแผน

             ชั้นมัธยมศึกษาปีที่     วิชาภาษาไทยพื้นฐาน   เวลาเรียน  ๑๒  ชั่วโมง

             ผู้สอน  นายชุมพล   หลวงจอก   กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

 

๒.  ความคิดรวบยอด

                   ๑)  การขับเสภาพัฒนามาจากการเล่านิทาน

                   ๒)  การขับเสภามีลีลาหลากหลาย สัมพันธ์กับเนื้อหา และอารมณ์ความรู้สึกในตอนนั้นๆ

                   ๓)  การวิเคราะห์  วิจารณ์  และประเมินค่า วรรณกรรมและวรรณคดี  ต้องกระทำอย่างมีหลักเกณฑ์และมีเหตุผล

                   ๔)  ธรรมชาติของภาษาเป็นสิ่งที่ปรากฏอยู่ในทุกภาษา  การศึกษาทำความเข้าใจธรรมชาติของภาษาช่วยให้สามารถใช้ภาได้อย่างเหมาะสม

                   ๕)  การใช้ราชาศัพท์ คือการใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคล

                   ๖)  การวิเคราะห์วิจารณ์  สิ่งที่ดู  และฟังต้องกระทำด้วยความรอบคอบมีเหตุมีผล

                   ๗)  วรรณกรรมและวรรณคดีเป็นมรดกทางปัญญาของคนในชาติจึงควรศึกษาด้วยความเข้าใจ

                   ๘)  การโน้มน้าวใจ  เป็นการสื่อสารเพื่อให้ผู้อื่นคล้อยตาม  จึงจำเป็นต้องมีในการสื่อสารทุกระดับ

 

๓.  ความเข้าใจที่คงทน

๑)  การขับเสภาในลีลาน้ำเสียงแบบต่างๆ

๒)  การวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินค่า  วรรณกรรมและวรรณคดี อย่างถูกต้อง และมีเหตุผล

                   ๓)  ธรรมชาติของภาษาคือภาษามีลักษณะร่วมกันอยู่    ประการ

                   ๔)  การใช้ราชาศัพท์อย่างถูกต้อง

                   ๕)  หลักและวิธีการในการใช้ภาษาเพื่อโน้มน้าวใจ

 

๔.  มาตรฐานการเรียนรู้

            ท๑.๑    ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา  และสร้างวิสัยทัศน์ในการดำเนินชีวิต

                         และนิสัยรักการอ่าน

            ท๒.๑    ใช้กระบวนการเขียน  เขียนสื่อสาร  เขียนเรียงความ  ย่อความ  และเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ  เขียน

                        รายงานข้อมูลสารสนเทศ  และรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ

             ท๓.๑   สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ  และพูดแสดงความรู้  ความคิด  ความรู้สึกในโอกาสต่างๆอย่าง

                        มีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ท๔.๑    เข้าใจธรรมชาติของภาษา  และหลักภาษาไทย  การเปลี่ยนแปลงของภาษา  และของภาษา  ภูมิปัญญาทาง  ภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

ท๕.๑    เข้าใจและแสดงความคิดเห็น  วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า  และนำมาประยุกต์ใช้

ในชีวิตจริง

 

๕.  ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา

                   ๑)  ทักษะการอ่านออกเสียงและการขับเสภา

                   ๒)  ทักษะการวิเคราะห์  วิจารณ์  และประเมินค่า

                   ๓)  ทักษะการใช้ภาษาเพื่อการโน้มน้าวใจ

                   ๔)  ทักษะการวิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู

                   ๕)  ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของภาษา

                   ๖)  ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคำราชาศัพท์

                   ๗)  ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น

 

๖.  ทักษะคร่อมวิชา

                   ๑)  การทำงานร่วมกับผู้อื่น

                   ๒)  ทักษะการสืบค้นจากสื่ออิเลคทรอนิกส์

 

๗.  จิตพิสัย

                   ๑)  มารยาทในการเขียน

                   ๒)  มารยาทในการอ่าน

 

๘.  ลักษณะอันพึงประสงค์

                   ๑)  มีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


ผังการประเมิน

 

เป้าหมายการเรียนรู้

ตัวเลือกจาก

คำตอบถูก

(Selected  responses)

ตอบสั้นๆ

(Short  answer)

อัตนัย

(Essay)

ผลผลิต/การปฏิบัติ

ที่เกิดในโรงเรียน

(School  product/performance)

การประเมินในสถานการณ์จริง

(Contextual  performance)

การประเมินต่อเนื่อง

(on  going  tools)

ความเข้าใจที่คงทน/ลุ่มลึก

๑. การขับเสภาในลีลาน้ำเสียงแบบต่างๆ

 

๒. การวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินค่า  วรรณกรรมและวรรณคดี อย่างถูกต้อง และมีเหตุผล

 

 

 

๓. ธรรมชาติของภาษาคือภาษามีลักษณะร่วมกันอยู่    ประการ

 

๔. การใช้ราชาศัพท์อย่างถูกต้อง

 

๕. หลักและวิธีการในการใช้ภาษาเพื่อโน้มน้าวใจ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-ขับเสภาเป็นกลุ่ม  และ

รายบุคคล

 

-จัดป้ายนิเทศ , เขียนรายงานกลุ่ม, จัดทำหนังสือทำมือ, เขียนรายงานนำเสนอโดยใช้โปรแกรม Power  point

 

-ป้ายนิเทศความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของภาษา

 

-สมุดรวบรวมราชาศัพท์

 

 

-เขียนบทความโน้มน้าวใจ

 

 

 

 

 

 

เป้าหมายการเรียนรู้

ตัวเลือกจาก

คำตอบถูก

(Selected  responses)

ตอบสั้นๆ

(Short  answer)

อัตนัย

(Essay)

ผลผลิต/การปฏิบัติ

ที่เกิดในโรงเรียน

(School  product/performance)

การประเมินในสถานการณ์จริง

(Contextual  performance)

การประเมินต่อเนื่อง

(on  going  tools)

ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา

๑.ทักษะการอ่านออกเสียงและการขับเสภา

 

๒.ทักษะการวิเคราะห์ วิจารณ์

และประเมินค่า

 

 

 

 

๓.ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-แบบทดสอบท้ายเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา

 

 

 

-แบบทดสอบ เรื่องการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น

 

 

 

 

 

 

-อธิบายความเป็นมาของการขับเสภา

-ตอบคำถามเกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา

-อธิบายสรุปหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น

 

 

 

 

 

-เปรียบเทียบการขับเสภาทำนองต่างๆ

-แปลความ  ตีความ เรื่องขุนช้างขุนแผนและเรียบเรียงโดยใช้ภาษาของตนเอง

 

-เขียนวิจารณ์บทประพันธ์ที่

กำหนดหรือที่นักเรียนหามาเอง

 

 

 

 

 

-ฝึกขับเสภาแบบต่างๆ

 

 

-พูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าของเรื่องขุนช้างขุนแผน หน้าชั้นเรียน

 

 

 

-บันทึกการสืบค้นตัวอย่างการวิจารณ์วรรณคดี

-จัดป้ายนิเทศ , เขียนรายงานกลุ่ม, จัดทำหนังสือทำมือ, เขียนรายงานนำเสนอโดยใช้โปรแกรม Power  point

 

 

 

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 201602เขียนเมื่อ 17 สิงหาคม 2008 06:48 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 21:51 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (5)

Backward Design เยี่ยมมากๆ ขอนำไปขยายผลให้เพื่อนครูได้นำไปพัฒนา

เรียน คุณครูชุมพล

ขอชื่นชมคุณครูปู ที่สามารถจัดทำได้อย่างดีเยี่ยมจะเป็นประโยชน์สำหรับคุณครู

ทุกท่าน แต่ตัวผมคงต้องไปปรึกษาท่านเป็นการส่วนตัว เพราะคิดถึงและระลึกถึงท่าน

เสมอมา ถ้ามีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ขอความกรุณาโทรฯกลับ 081 0721955

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท