อนุทินส่วนตัว ๖ มี.ค. ๕๑


นักศึกษาปริญญาเอกด้าน KM ที่ MSU
            บันทึกเดือนที่ ๖  http://gotoknow.org/blog/sirisuhk/169290   อ่านแล้วจะเห็นภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้ระดับปริญญาเอกที่เป็นระบบ และเอาใจใส่

โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก
             เป็นการประชุม ทำเรื่องใหญ่ให้เป็นเรื่องใหญ่     เอาความสำเร็จยิ่งใหญ่มาขยายผล    
             ต่างประเทศ (EU) ชมว่าเป็นโครงการที่มีนวัตกรรม    EU กำลังทำตาม เน้นที่การทำให้เกิด mobility ของนักวิจัย
             ในเวลา ๑๐ ปี  ผลิต PhD ได้แล้ว 997 คน
             เริ่มมีการระดมทุนจากมหาวิทยาลัยเอง
**ความท้าทายในการจัด communication  ให้ public เข้าใจคุณค่า
**ต้องมองว่าวันนี้คุยกันเรื่อง บัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอก เพื่อผลิตนักวิชาการ
             ความต้องการอาจารย์มหาวิทยาลัย ปีละ 1,800 คน     ผลิตได้แค่ 1,000 คน
             โครงการ คปก. เป็นที่ยอมรับว่าดีมาก ดีอย่างไม่น่าเชื่อ    แต่ไม่น่าเชื่อว่า ไม่ได้รับงบประมาณ     แสดงว่ามีปัญหาในระดับการจัดสรรทรัพยากรของชาติ    การเมืองเรื่องอำนาจ การแย่งชิงงบประมาณระหว่างหน่วยงานของชาติ
              ศ. ดร. นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย  ผอ. คปก. ตั้งประเด็นใหญ่     ที่ผมเรียกว่า new paradigm ของการผลิตนักวิชาการระดับปริญญาเอก ของประเทศ
              ๑๒ ปีที่แล้ว (ปี ๒๕๓๙) เราไม่เชื่อกันว่า ประเทศไทยจะสามารถผลิตบัณฑิตปริญญาเอกที่มีคุณภาพสูงได้     บัดนี้เราพิสูจน์แล้ว ว่าเราทำได้    โดยต้องมีการจัดการที่ดี    โดยใช้เงินเพียง ¼ ของวิธีส่งไปศึกษาต่างประเทศ

ยงยุทธ
        ภาวะคุกคาม   กระแสผลิต ป เอก คุณภาพต่ำ
        ความไม่สมดุลของสาขาวิชาในการผลิต ป เอก    
        การแบ่งทรัพยากรภายใน สกว. เอง
        โอกาส             การร่วมกับหน่วยงานอื่น 
        แนะนำ           สมาคม/ชมรม ศิษย์เก่า คปก.

จีรเดช
            ด้านการออกแบบ
            การสร้าง value ด้าน commercial    **ต้องการวิชาการอีกแบบหนึ่ง     ที่มีฐานวิชาการเชิงทฤษฎีและ methodology สำหรับสร้างวิชาการจากการปฏิบัติ     วิชาการจาก action / apply side
            การมีและเข้าถึงข้อมูล 
**การสร้าง absorptive capacity ในสาขาที่ต้องการ แต่วิชาการอ่อนแอ

สมบัติ จันทรวงศ์
           ความไม่สมดุลในสาขา     ส่วนหนึ่งเกิดจากความไม่เข้าใจสังคมศาสตร์-มนุษยศาสตร์     บทบาทของอาจารย์ นักศึกษา ต่างกัน    ความรับผิดชอบอยู่ที่ นศ. มากกว่า     ไม่ใช่ของอาจารย์ 
            สกว. ต้องเข้าใจการเมืองไทย    สร้างความสัมพันธ์กับนักการเมือง 
**ความสำเร็จของ คปก. อยู่ที่ management platform     ที่ไม่ตามใจอาจารย์  แต่สร้างแรงดึงดูดต่ออาจารย์ 
**ต้องสร้างนวัตกรรมของการจัดการโครงการ ป เอก คุณภาพสูง ในสาขาสังคม-มนุษย์

วันชัย ดีเอกนามกูล
มาในฐานะผู้แทน สกอ.

กำจัด
            ทางสังคมศาสตร์ นศ. เป็นผู้รับผิดชอบงานวิจัย ไม่ใช่ อจ.    น่าจะแยก คปก. ออกเป็น ๒ ส่วน
            ประเทศไทยมีสภาพต่างคนต่างทำ
            ก วิทย์ สมัยยงยุทธ ออก พรบ. Basic law
            งานวิจัย ป เอก ต้องอย่าหวังแก้ปัญหาเป็นเป้าหลัก    ต้องหวังลับมีดเป็นเป้าหลัก
            สกอ. ต้องจัดภาพใหญ่    คปก. เป็นเพียงส่วนหนึ่ง

อรัญ
           คปก. มุ่งสร้างกำลังคน    แต่ได้การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของระบบใหญ่    จะเอา คปก. มาทำอะไร    จะใช้กระตุ้นหน่วยที่ไปร่วม ด้วยเงิน งปม. ที่ใหญ่พอ     ต้องกำหนดยุทธศาสตร์ในการทำหน้าที่ขับเคลื่อนการ ปป ระบบ

ศรีสิน
          อยากเห็น คปก. เป็นผู้นำทางคุณภาพ    คปก. ช่วยสร้างศักยภาพของมหา  มีส่วนพัฒนาคนของมหา ด้วยคุณภาพระดับ คปก. 

ปริญญา
         ขอให้เอาใจใส่ มรภ.  มทร.

โสภิศ วงศ์คำ มข.
          การให้ทุน นศ. ปท เพื่อนบ้าน
          การเชื่อมโยงวิชาการกับอุตสาหกรรม
**นวัตกรรมด้านคุณภาพ ของการผลิตวิชาการ 
- ทำงานประจำ เรื่องในสังคม เป็นวิชาการ
- การจัดการ คปก สังคม-มนุษย์   

นักสิทธ์
            ใช้ปัญญาของเราให้เป็น ปย ต่อ ปท เรา

ปรีดา
           แตกต่างวิทย์ กับสังคม-มนุษย์
           ยอมรับ approved national journals
           PhD คือการสร้าง ค ใหม่เล็กๆ พิสูจน์โดยการตีพิมพ์   จบ เมื่อ นศ. นั้นรู้ดีกว่า advisor ในเรื่องเล็กๆ ที่ตนทำวิจัย
           การประเมินก่อนจบ คือประเด็น       
           เรายังไม่เข้าใจ multidisciplinary technology ซึ่งครอบคลุมเข้ามาที่สาขาสังคม-มนุษย์ 

ปิยะวัติ
          เนื้องาน คปก ไม่มีข้อสงสัย    วิธีจัดการไม่มีปัญหา     มีปัญหาเชิง strategic ว่าจะเน้นทิศทางไหน  ในท่ามกลางทุนอื่นๆ ที่เกิดขึ้นใหม่    ร่วมมือโดยไม่แข่งขัน
            โครงสร้างการจัดการ  (๑) ภายใน คปก. เอง เช่นแยก สังคม-มนุษย์ ออกไป    (๒) คปก. – สกว. ที่ผ่านมา คปก. อยู่ใต้ สกว.    ปี ๒๕๔๙ สงป. เพิ่ม งปม คปก เป็น ๒ เท่า โดยไม่เพิ่มยอดรวมของ สกว.     ทำให้ต้องมีการแก้ไขภายใน    ทางเลือกหนึ่งคือ institution framework ให้ คปก. อิสระจาก สกว.

ประธาน (สุจินต์)
           ต้องสร้าง platform ใหม่

สมหวัง
           คุณภาพมาตรฐานสากล เป็นคุณค่ายิ่งใหญ่     ไม่จำเป็นต้องเอาจำนวน 
           Mapping, networking, co-funding
           Academic sin
           เสนอให้ ให้ทุนต่อหลักสูตร

ธีระพันธุ์ เหลืองทองคำ
           ทุนดุษฎีพิพรรธน์ จุฬา เลียน คปก.    ระดมความคิดจากคนเคยได้ทุน คปก.
 
ยงยุทธ
          โครงสร้างใหม่ กึ่งอิสระจาก สกว.
          โครงสร้างแนวนอน แบบ IRPUS
           ความเชื่อมโยงภายนอก กับ “ลูกค้า” และกับ “ผู้ให้ทุน” เช่น กต. ให้ทุน นศ. ตปท.
           เสนอให้กลับไปประชุม ปี ๒๕๓๙    ให้เกิด inter-agency structure หลวมๆ

วิชัย
         มองจากมุม foot soldier   คปก ถึงจุดอิ่มตัวในเรื่อง excellence    และขยาย exc ไปหน่วยงานอื่นด้วย   
          ความอิ่มตัว ทำให้เกิดความหงุดหงิด     เพราะ absorptive capacity มากกว่าจำนวนทุน
          ต้อง look beyond คปก.

จีรเดช
             วารสารวิชาการ

กำจัด
            สกอ. เอาข้อมูลไปใช้
            ไม่ควรไปตั้งองค์กรขึ้นมาใหม่

ชัยยุทธ
           คปก. ควรระดมทุนจากหลายทาง  เพื่อให้มีความมั่นคง
           ขนาดควรพอดี (optimum)
           ควร institutionalize หน่วยงาน    มี synergy ระหว่าง คปก. กับ สกว. เชื่อมโยงประเด็น    ยังอยู่ใน สกว. 
           ควรหนุน infrastructure
           ควรมีเวลาคิดศาสตร์ใหม่ๆ ใน ปท

อมเรศ
           คปก ได้สร้าง brand   มีผู้เอาไปใช้มาก แม้ใน ตปท.
           จะพอใจกับ ๒๕๐ ทุนหรือไม่ เพิ่มคุณภาพ    หรือไปทำใหม่ๆ     คิดว่า ๒๕๐ ทุนน้อยไป    ต้องขายกับรัฐให้ได้    โดยไม่กระทบ สกว.
           ตั้งเป้า คปก. ผลิตบัณฑิตส่วนใหญ่ ให้เอกชน     จะทำให้ ปทท เปลี่ยนไปมาก

วุฒิพงศ์
           งปม. ๒๕๕๒   เพิ่ม ๒๐๐ ล้าน   ได้เพิ่ม ๑๐๐ ทุน จะ optimum ระหว่างกำลังผลิตกับ นศ. ที่ต้องการเรียน    และคงคุณภาพได้  

จันทร์เพ็ญ  สภาพัฒน์
           ดูจากเว็บไซต์ ๙๐ คน ยังไม่มีงานทำ
           บัณฑิตที่จบได้ทำงานตรงกับที่เรียนมาหรือไม่    ตรงความต้องการของภาคอุตสาหกรรมหรือไม่

นักสิทธ์
            ข้อมูลในเว็บไซต์ ไม่ update

ปรีดา
           ต้องคิดไปข้างหน้า ว่าอุต อะไรจะรอดจากการแข่งกับจีน   
           ยานยนตร์ อย่าคิด ออกแบบ  ต้องเน้นพัฒนา manufacturing technology  
**วิธีคิดแบบเมืองขึ้น  กับการคิดเป็นตัวของตัวเองอย่างฉลาด

สุจินต์ สรุป
           ได้การบ้านเชิงนโยบาย
            คปก อยู่กับ สกว สร้าง synergy    เสนอเข้าบอร์ดใหญ่
            คปก ขับเคลื่อนระบบ     ต่อไปนวัตกรรมคืออะไร


สสส.
คณะกรรมการบริหารแผน คณะที่ ๓  แผนสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน

ประชุมครั้งที่แล้ว  ๑/๒๕๕๑  ๒๘ ม.ค. ๕๑
     • โครงการภาคอีสาน ระยะที่ ๒  รายงานผลประเมิน ปี ๒๕๕๐ และแผน ปี ๒๕๕๑ (อภิสิทธิ์ - นงลักษณ์)  ปีสุดท้าย    ต่อไปไม่มีทุนแบบนี้อีกแล้ว     ในปีนี้จะเน้นความเป็นตัวของตัวเองของศูนย์เรียนรู้  ซึ่งต่อไปจะรับการสนับสนุนทรัพยากรจากท้องถิ่น
     • จังหวัดสงขลา  (นายชาคริต โภชะเรือง)  การดำเนินการปีที่ ๑ สร้างการทำงานแบบเชื่อมร้อยและ empower เครือข่ายน่าประทับใจมาก   ใช้ทุนสนับสนุนจากหลากหลายแหล่ง    อนุมัติ ปีที่ ๒ – ๓
     • แผนส่งเสริมการให้เพื่อสังคม    มีมติให้คิดวิธีทำงานใหม่ ภาคีใหม่

ชุมชนเป็นสุขภาคเหนือตอนบน
         นเรศ, ยศพัทธ์ บุญเรืองวิรัตน์   สมาคมส่งเสริมศักยภาพองค์กร ชช ภาคเหนือ
ประภาพร ศรีมหาพรหม  สสส.
         คณะทำงาน ๑๑ คน  เชื่อม งปม อบต ได้ ๑๕ คข
         ทางเหนือมีประชากรหลากหลายชาติพันธุ์  หลากวัฒนธรรม  หลากประวัติศาสตร์ ชช   
เชื่อม พท ให้ ลปรร กัน
         พท พัฒนากลไกด้วยตนเองเพื่อตั้งรับโครงการที่ลงไป ไม่ให้ถูกรุม
         เชิงประเด็น บาง พท เคลื่อนไปสู่ประเด็นอื่นๆ ไปเอง   เป็นการปรับตัววิธีคิดเรื่องสุขภาวะ
สร้างการทำงานเชิงรุก  ไม่ใช่รอเชิงรับ   
         **พท ภาคเหนือทำงานยากกว่ามาก    ตัว ชช เป็น พท เชิงรับ   

ทองดี
            ชร  มฮส ต่างกันอย่างไร

สีลาภรณ์
           สุขภาวะใน พท ต้องการอะไร จากใคร

นเรศ
          โจทย์ ทำให้คนหลุดจากการครอบงำ   
          ใช้การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
           ย่อยการ ปป สังคมไทย/โลกที่ไปกระทบเขา    **เริ่มด้วยสิ่งใกล้ตัว  แล้วเชื่อมโยงออกไป


ชัช
           ความเข้มข้นเรื่องวัฒนธรรม
           นิยาม  ภาษา ของสุขภาวะ
           นัก จค ๑๐๐ – ๒๐๐ คน กลไกเหล่านี้ทำงานอย่างไร

รุ่งนภา  นักวิชาการ สธ. ชร.
          เชียงราย   ๑๐ ปีที่แล้วถึงทางตัน  ว่าทำงานนี้ชาวบ้านสุขหรือไม่    ไปเที่ยวต่อเทคนิค AIC, Future Search  ไม่ได้ผล
          กลับมาทบทวน ว่าต้องเปลี่ยนวิธีคิด  กระบวนการ รร    คิดเกาะกลุ่มเล็กๆ   รร จากการปฏิบัติ  ทำมา ๔ ปี   พัฒนานัก จค
         **มีลักษณะทฤษฎีสูง
ผลสำเร็จที่ภาคภูมิใจ
           ห้วยตอง ถูกรุม  ไปช่วยสรุปบทเรียนชีวิต
           ชช ตาค่า  ต ตับเต่า  อ เทิง  เดิมเป็น พท สีแดง    คุยทุกข์   กำหนดเป้า ๘ ดี    มาคุยกันทุกๆ ๑ ด
          **เริ่มจากทุกข์  ไม่เริ่มจากฝัน   และการดำเนินการกระจายมาก ไม่โฟกัส ไม่เข้มข้นพอ

สุนัย
           ระบบประเมิน   พัฒนาตัวชี้วัด    กำหนดระดับ    ประเมินแล้วสื่อสารออกมาให้รับรู้ทั่วไป    ประเมินเป็นรายตำบล    จะเป็นแรงกดดัน

สีลาภรณ์
          ทำงานสุขภาวะ คู่ชกคือใคร     คู่ชกคือวิธีคิด   ไม่ทำงานด้วยกัน ไม่รวมกลุ่ม
           ตั้งคำถามเพื่อสรุป ค น้อยไป
           ชช มองปัญหาสุขภาวะที่ต้องแก้ คืออะไรบ้าง
           จะดูวิธีคิดที่พฤติกรรมอะไรบ้าง
           เครื่องมือที่ใช้  ข้อมูลมีพลังมาก

อำพล
          ไม่ได้เห็น จินตนาการไม่ออก
           เชียงราย มีถึงสมัชชาสุขภาพ  ไม่เห็นความเชื่อมโยง

นเรศ
          ได้เล่า มีความสุข
           ข้อจำกัด ที่การตั้งคำถาม   และการสื่อ
           เชิญไปดู

ทองดี
         ภาคเหนือ  ดอย  เดินทางใช้เวลามาก
         รายงานออกมาแนวเดียวกันหมด

ชัช
         มีช่องว่าง    เพราะเราไม่ได้ไปดู
         ทีมประเมินควรมา dialogue
         ทีมนี้เน้น process มาก แบบสงขลา

คำเดื่อง
         ควรมีร่างตัวชี้วัดสุขภาวะ ตั้งแต่ต้นก่อนทำโครงการ

สีลาภรณ์
         ให้แต่เงินไม่พอ   ต้องมีการเสริมศักยภาพแก่ทีมงาน    เช่น มหกรรมเรื่องเล่า  หาคนเข้าไปฟังและ dialogue ด้วย 
         “ภาค”  “จังหวัด” ไม่เป็นเช่นนั้นจริงๆ     เป็นเพียงที่อยู่ของโครงการ
           สสส. ควรวางหน่วยขับเคลื่อนระดับ จว ไม่ใช่หน่วยรับทุน

ชุมชนเป็นสุขภาคใต้
มานะ ช่วยชู

สุรางครัตน์ สร้อยสนธิ์  สสส.
     • ปีที่ ๑  ๒๕๕๐ เชิงลึก   ตำบลต้นแบบ
     • ปีที่ ๒  ๒๕๕๑ เครือข่าย   ให้น้ำหนักกับการเรียนรู้และขับเคลื่อนนโยบายมากขึ้น
     • ปีที่ ๓  ๒๕๕๒ บูรณาการในพื้นที่อย่างยั่งยืน
       เกิดการ รร ข้าม คข    ขยายไปสู่ชุมชนใกล้เคียง     เชื่อมโยงกับกิจกรรมของโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากแหล่งอื่น
       คุณค่าของโครงการ คือ ต่อไป เงิน SML ลง    ชาวบ้านจะใช้เงิน SML ให้เกิดคุณค่าต่อท้องถิ่นได้เก่ง

สีลาภรณ์
       งานพี่เลี้ยงช่วยชาวบ้านมาก   สื่อเข้าไปสื่อออกมา ช่วยสร้างความตื่นตัวมาก   พี่เลี้ยงช่วยต่อกับสื่อ  กับวิชาการ   กับหมออนามัย  

อบต.   ขยายผ่านการขยายพี่เลี้ยง   
       **พี่เลี้ยงต้องเป็นคนอิสระหรือไม่   เป็นลูกจ้าง อบต. ได้ไหม
       **โครงการนี้สร้างพี่เลี้ยงได้กี่คน  ๑๐ กว่าคน

กฤษดา
        ยุทธศาสตร์เชิงสื่อ  ของ สสส. ให้หนุนขบวนของชาวบ้านได้ 
 
สีลาภรณ์
        สื่อแบบ empowerment process แก่ชาวบ้าน   แก่เยาวชน
        สรส. เป็นการฝึกพี่เลี้ยง     การฝึกอบรมพี่เลี้ยง

อำพล
         วันนี้ทีม สช  ไปบ้านจำรุง     ให้เขาทำทีวีได้เอง นำเสนอเอง    แก่ทีวี PPBS
         ยุทธศาสตร์เมืองไทยหัวใจมนุษย์
         ไม่ควรเรียกพี่เลี้ยง ควรเรียกคุณอำนวย เพื่อนร่วม รร   เพื่อนสนับสนุน  
 
ชัช
         ถ้าสื่อกว้างเกิน ภายในไม่พร้อมจะมีปัญหา     เมื่อสื่อออกไป มีการดูงานไหลบ่า จะรับไม่ไหว

สุนัย
         เริ่มเห็นปัจจัยความสำเร็จ  สู่นิยาม healthy community, h city ตัวชี้วัด  จัดเกรด    โดยจัดร่วมกับภาคี    ตรงไหนได้ เอ ก็สื่อได้  และ ลป กับ บี ซี

มานะ
         ใช้ “ผู้ช่วยชุมชน”
          เชื่อมโยงกับหน่วย train ของ กปอพช (ชัชวาลย์)
          สื่อ   ให้ ชช ได้ผลิตสื่อได้เอง    ซีดี สร้างการ รร ได้มาก 

ส่งเสริมการให้เพื่อสังคม
            โอนไปอยู่สำนัก ๔   การสร้างการเรียนรู้และสุขภาวะองค์กร ทั้งเรื่อง CSR และ การให้และจิตอาสา 

AAR ของผม
             วันนี้เปลี่ยนสไตล์การประชุม    ให้ฝ่ายจัดการของ สสส. สรุปภาพรวม    และเสนอแนวทางดำเนินการต่อ    แล้วจึงเชิญหัวหน้าโครงการมาเสวนาหาทางทำงานที่มีคุณค่า     เพื่อชักจูงให้หัวหน้าโครงการเปลี่ยนกระบวนทัศน์จากทำโครงการกิจกรรม  มาเป็นเชื่อมร้อยพื้นที่     คณะกรรมการบริหารแผนให้คำแนะนำต่อฝ่ายจัดการของ สสส. เป็นหลัก    ไม่ใช่ทำหน้าที่ interact กับหัวหน้าโครงการเป็นหลัก
              สรุปว่า ฝ่ายจัดการของ สสส. ต้องพัฒนาทักษะในการจัดการโครงการ  

หมายเลขบันทึก: 169521เขียนเมื่อ 7 มีนาคม 2008 11:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 20:25 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท