KM (แนวปฏิบัติ) วัละคำ : ๖๖๑. KM ยาเสพติดชนเผ่า จังหวัดเชียงราย


 

          เขียนโดย นพ. ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์   อ่านได้ที่ http://sph.thaissf.org/index.php?module=webboard&pg=show&Category=webboard_sph&No=19

          อ่านแล้วจะเห็นว่า ใน KM ที่ถูกต้อง มีการเรียนรู้เชิงจิตวิญญาณ เชิงคุณค่า อยู่ด้วย

วิจารณ์ พานิช
๑ มี.ค. ๕๒

 

หมายเลขบันทึก: 246186เขียนเมื่อ 4 มีนาคม 2009 10:07 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 05:27 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

สวัสดีครับ อ.วิจารณ์ ที่เคารพ

ได้เข้าไปอ่านบันทึกของ อ.ประเสริฐ แล้ว เห็นตามที่อาจารย์ได้เขียนในบันทึกว่า KM ต้องมีทั้งมิติการเรียนรู้เชิงจิตวิญญาณ และเชิงคุณค่า อยู่ร่วมกัน

ในการทำงานกับกลุ่มชาติพันธุ์ มีรูปแบบ มีกระบวนการที่ต้องอาศัย tacit k.  และต้องจำเพาะเจาะจงกับบริบทของกลุ่มชาติพันธุ์นั้นๆด้วย

KM ในกลุ่มคนทำงานบนดอย หากทำให้ดีๆ เราก็จะได้ นวัตกรรมการเรียนรู้ นวัตกรรมการทำงานชุมชนที่น่าสนใจ และช่วยพัฒนาได้อย่างเข้าใจเขามากขึ้น

ผลผลึกของ KM ที่เกิดขึ้นจึงไม่ใช่ ความรู้ที่เเข็งๆแต่เพียงอย่างเดียว แต่ประกอบด้วยความเป็นมนุษย์ และอารมณ์ ความรู้สึกประกอบกัน นี่คือพลังของความรู้ที่มีชีวิตครับ

ขอบคุณ อ.วิจารณ์ และ อ.ประเสริฐ ผู้ที่เป็นครูเป็นแบบอย่างชี้ทางดี เสมอมาครับ

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท