แกะรอย UKM13 ที่ กระบี่ (๒)


ตามรอย UKM13 ที่กระบี่ (๒)

ประสบการณ์ จาก กูรู หรือ กูไม่รู้

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล เล่าเร้าพลัง การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

      ประโยชน์จากงานวิจัย คือ ผู้ที่จะใช้ต้องมี ความรู้ ต้องมีการ ปรับ ปรุง นำไปพัฒนา ต่อ ยอด

      นักวิจัย ต้องเป็น facilitator

      หากต้องการให้วิจัยไปสู่การปฏิบัติ ต้องนำการปฏิบัติ สู่งานวิจัย หรือ R2R คือ Ruetein to Research จริงๆ คือ การพัฒนา ต้องนำงานประจำเป็นสมบัติที่มีค่า ทำงานประจำให้ดีกว่าเดิมเป็น CQI หรือ Continuous Quality Inprovement ทำให้งานประจำมีค่า ไม่น่าเบื่อ กลายเป็น Somebody ทำให้ทุกคนทำอะไรที่ สร้างสรรค์ เกิด นวัตกรรม

      จากงานประจำ เพื่อการพัฒนา เพื่อการรายงาน เพื่อเป็นข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์ เกิดผลงานวิจัย ซึ่งต้องมีการฝึก

      R2R เป็นการเปลี่ยนกระบวนทัศน์

      ต้องมีการพัฒนา SOP หรือ มาตรฐานการทำงาน ซึ่งหากระดับองค์กร ผู้นำ หรือ ผู้บริหารต้องเข้ามาเกี่ยวข้อง

      R2R เริ่มที่ คณะแพทยาศาสตร์ศิริราชพยาบาล จากหลายๆมุมมอง โดยงานประจำสามารถยกระดับงานประจำได้ ราวปี ๒๕๓๖ โดยท่านอาจารย์หมอวิจารณ์ พานิข และ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศ ร่วมกระตุ้น เริ่ม เมื่อ ๔ ปีที่แล้ว

      เคล็ดวิชาการทำ R2R ต้องทำให้ สุข และ สนุก ไม่ต้องทำใหม่ ทำให้ไม่ยาก ค่อยๆทำให้ยาก

      รศ.พญ.ปารมี ที่ มอ ทำ Work Improvement

โดยเริ่มที่เขียนโครงการพัฒนางาน และ สร้างแรงเสริม แรงจูงใจ อย่างต่อเนื่อง

      เคล็ดลับ คือ ผู้บริหาร ต้องใช้ผลจาก R2R ไปใช้ ด้วยการ ชื่นชม รับรู้ ฟัง รวมทั้งการไปท้าทาย เพื่อให้ เกิดการพัฒนา ไปช้สงหน้าอีกก้าวหนึ่งเรียกว่า จัดการโดยการท้าทาย เป็นการบริหารงานวิจัยอีกอย่างหนึ่ง และ เป็น HRD และ นำไปสู่ LO ต้องมีการสร้างเวที “Show and Share” ที่ มข ได้จัดไปแล้ว

      R2R ต้องนำไปสู่เป้าหมาย หรือ Vision ขององค์กร เป็น Positivre Change คือ Get dialy life to research

      สกว ใช้ การประเมินเพื่อการพัฒนามาตลอดระยะเวลาอันยาวนาน คำถามที่ต้องตอบ คือ งานวิจัยที่ทำ ไปถึงชาวบ้าน หรือ ไม่

KM platform หรือ โรงเรียนชาวนาที่สุพรรณบุรี ทำนาโดยปลอดสารพิษ ไม่ใช้ยาฆ่าแมลง

มีการวิจัย โดยการปฏิบัติ

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อยกระดับ

ชาวนาเรียนรู้จากแมลงสองร้อยกว่าชนิด เรียนรู้ หาก แมลงดี มากกว่าแมลงร้าย แทยจะไม่ต้องสารเคมีใดๆเลย นักเรียนที่นี่อายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป นักเรียน หรือ ชาวนา จะบอกผู้เชี่ยวชาญ ว่าอยากจะเรียนรู้เรื่องอะไร

      อีกกรณี ของเรื่องราวที่น่าเรียนรู้ คือ แผนวิจัยแม่บทชุมชน ที่ชุมขนไม้เรียง โดย นายประยง

      ประเด็นที่น่าจะพิจารณา คือ จากการประโยชน์จากงานวิจัย หรือ จากงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์

 

JJ2008 ฅ ฅน ธรรมดา

หมายเลขบันทึก: 198003เขียนเมื่อ 1 สิงหาคม 2008 09:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 19:22 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (14)

สวัสดีค่ะอาจารย์

  • ขอตามมาดู "แกะรอยUKM13 ที่กระบี่ .... ด้วยคนค่ะ
  • ขอบคุณค่ะ

สวัสดีค่ะ ดีใจค่ะ และขอบคุณที่ส่งข่าวหวังว่าทุกคนคงสบายดีและมีความสุขในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นะคะ เป็นกำลังใจค่ะ ...ความรู้สามารถนำไปพัฒนาและต่อยอด ที่สำคัญ คือ...ต้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเติมเต็มตลอดจนมีความสุขที่ได้เห็นเพราะงานวิจัยจากประสบการณ์และเป็นที่ประจักษ์ ย่อมต่อยอดตลอดและสามารถได้พัฒนาได้ ...เห็นด้วยอย่างยิ่งกับท่านกูรู...ยิ่งใหญ่จริง..Show and Share...

เรียน ท่านไก่ กัญญา ทีมงาน ร.พ สรี ไปไหน หมด นี่

ยินดีครับท่านพี่อิ๋ว

เรียนอาจารย์ที่เคารพ

เรียน ท่าน ไก่ กัญญา

  • อย่างนี้ เรียกว่า ดังแล้ว แยกวง นิ (ล้อเล่น ครับ)"
  • การสร้างเครือข่าย เป็นเรื่องดี
  • การมี "คุณอำนวย" เป็นเรื่องที่ "ต้อง"

สวัสดีค่ะอาจารย์

ขอแวะมาตามรอย UKM13 และชมภาพบรรยากาศค่ะ

พักผ่อนบ้างนะคะอาจารย์

เรียน ท่านกนกพร

  • การทำงาน คือ การพักผ่อน ครับ
  • ขอบพระคุณครับ

อยากเห็นทะเลกระบี่ค่ะอาจารย์ JJ

มัวแต่ไปทางแม่น้ำโขง เลยไม่ได้ไปกระบี่ค่ะ

เรียนท่านพี่แก้ว

  • พวกเราก็ไม่เห็นครับ เห็นแต่ห้องเหลี่ยมๆครับ
  • เมื่อวานเลยอาศัย Taxi ไปดูในเมืองครับ

เรียนท่านพี่ใบบุญ ก็ ย่อย ย่อ ต่อ ไปตามภาษา ครับ

ขอบคุณอาจารย์ครับ

ได้ทั้ง ความรู้ และ บรรยากาศ

เรียน ท่านจตุพร เฉียบจริงๆ ครับ

  • ความรู้ดี บรรยากาศดี ชีวีมีสุข ครับ
  • หาก
  • บรรยากาศเสีย
  • ความรู้ อาจ หด ถด หายได้ครับ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท