มาตรการเชิงบวก หรือ เชิงลบ ของจุดเน้นของการพัฒนา หลักสูตร


 มาตรการเชิงบวก หรือ เชิงลบในการกำกับดูแล

 นำมาฝาก เสริมสร้าง

 ประเมินเพื่อพัฒนา นำพาให้สร้างสรรค์

 ทำอย่างไรนักการศึกษา จะใช้กระบวนการ เสริมแรงเพื่อพัฒนา หรือ ใช้วินัยลงโทษ กำกับผู้ไม่ทำตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ

 มาลองศึกษา แนวทางการบริหาร "หลักสูตร" ระดับอุดมศึกษา ครับ

แนวทางการบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.. ๒๕๔๘

 

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๘

      ๑. อาจารยประจํา หมายถึง บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา ที่มี หน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัย และ ปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลาตามภาระงานที่รับผิดชอบในหลักสูตรที่เปิดสอน

       ทั้งนี้ อาจารยประจําในแตละหลักสูตรจะเป็นอาจารยประจําเกินกว่า ๑ หลักสูตร ในเวลาเดียวกันไม่ไดและ ต้องทําหน้าที่เป็นอาจารยประจําตามที่ระบุไวในหลักสูตรหนึ่งหลักสูตรใดในขณะหนึ่ง ๆเท่านั้น

๒. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ใหมีภาระหน้าที่ในการบริหารหลักสูตรและการเรียน การสอน การพัฒนาหลักสูตร การติดตามประเมินผลหลักสูตร และ หน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง

๓. การประกันคุณภาพของหลักสูตร ใหทุกหลักสูตรกําหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตรใหชัดเจน ซึ่งอย่างน้อยประกอบด้วยประเด็นหลัก ๔ ประเด็น คือ

.๑ การบริหารหลักสูตร

๓.๒ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

.๓ การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา

.๔ ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต

 คำถาม คือ หากไม่ทำตามนี้

 ใครต้องรับผิดชอบ

 ใครจะลงโทษใคร

 เราควรใช้ มาตรการเชิงบวก จูงใจ สร้างความเข้าใจ หรือ ลงโทษ ทางวินัยกันดี ครับ

JJ2008 ฅ ฅน ธรรมดา

หมายเลขบันทึก: 206585เขียนเมื่อ 7 กันยายน 2008 12:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 19:31 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

เรียน ท่านอาจารย์จิตเจริญ

คงต้องรับผิดชอบร่วมกันทั้งองค์การครับ จะมาก จะน้อยต่างกันหรือไม่ อย่างไร ผลกระทบที่สำคัญสุด คือ ตกกับผู้เรียนโดยตรง

 

เรียนท่านกัมปนาท ก็ แบ่งกันตามลำดับครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท