แนวทางขับเคลื่อนการปฏิรูปอุดมศึกษารอบ ๒



          วันที่ ๑๐ เม.ย. ๕๒  คุณศุภชัย พงศ์ภคเธียร ที่ปรึกษา รมช. ศึกษาธิการ ชวนคนกลุ่มเล็กๆ มาคุยกันอย่างไม่เป็นทางการในลักษณะ think tank   ประกอบด้วย ท่านเลขาสุเมธ แย้มนุ่น ของ สกอ., รศ. ดร. วรากรณ์ สามโกเศศ, ดร. กฤษณพงศ์ กีรติกร, ดร. สีลาภรณ์ บัวสาย, คุณศุภชัย และผม   ต่อไปนี้เป็นบันทึกง่ายๆ ที่ผมใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คบันทึก 


ศุภชัย เสนอใช้ยุทธศาสตร์ COP และ R&D เป้าหมายที่คุณภาพ   ทีม ๖ คนนี้เป็น Think Tank

 
กฤษณพงศ์


น่าจะเสริมพลังเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา   ที่มหาวิทยาลัยในเครือข่ายจับมือกันทำงาน ยกระดับคุณภาพ หาแหล่งทุน deliver ผลงานคุณภาพ   เวลานี้มี ๙ คข.  
ควรเลือกประเด็นสำคัญจากแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี มาดำเนินการ เช่น
• เศรษฐกิจชุมชน 
• Sci ed
• พัฒนาผู้บริหาร ม. ใหม่  มรภ.  มทร.
สกอ. สร้างกลไกให้ ลปรร. ระหว่าง คข.   **ทีม M&L – Monitor & Learning


วรากรณ์


ปัญหา
    • Commercialization เปิดหลักสูตรมาก
    • ม. เกิดใหม่เร็วมาก   กำกับยาก
    • คุณภาพ อจ   เกิดจาก commercialization
    • ความคาดหวังของ นศ ต่ำลง
    • นายกสภา สภามหาฯ ไม่เอาใจใส่    ผู้บริหารไม่มีประสบการณ์   
หวังผลจาก 
    • สมศ.   
    • กกอ. 
    • สภาฯ  ระบบกำกับดูแล
ปลุกจิตวิญญาณ    หยุดกระแส commercialization  

สีลาภรณ์

มีกลุ่มขับเคลื่อนการพัฒนาอุดมศึกษาอยู่แล้ว ได้แก่
    • กกอ.  อนุวิจัยระบบ
    • สพฐ. อนุวิจัยระบบ   ทำงาน KM ของครู    ที่ต้องทำเพิ่ม (๑) ระบบการวัด performance ของเด็ก  (๒) สื่อดีๆ ให้เด็ก  (๓) ระบบจูงใจ หนุนครู  (๔) การจัดการขนาดเล็ก
    • สกศ. งานวิจัยกระจัดกระจาย
    • สมศ. ตั้งสถาบันวิจัย
    • สกว. กระบวนการเรียนรู้ของเด็ก   LLEN
    • สสส. เครือข่าย

ต้องการ  (๑) ความรู้  (๒) เครือข่าย  (๓) เงิน
อศ. ระบบถูก protect จากการตอบคำถามภายนอก
รถไม่วิ่งออกจากสถานี   โดน load มากมาย  
KM ครู   LLEN   คข. สกอ.

  
ยุทธศาสตร์


    ๑. เปิด พท (space) ให้ stakeholder ข้างนอก (แหล่งจ้างงาน กลุ่มศิลปินพื้นบ้าน, ฯลฯ) เข้ามากระแทกระบบ เกิด social space  
    ๒. ทำให้ประเด็นเล็กลง จนมีการตรวจสอบจาก พท. ได้   แยกพวงออก   เชิง area (LLEN), เชิงประเด็น  
    ๓. ใช้ KM เป็นเวที ลปรร.   ทำให้ครูอยู่ในวัฒนธรรมของการเรียนรู้
LLEN เป็นเครื่องมือกระแทก มหาฯ ให้เปลี่ยน

กฤษณพงศ์


       วิจัย กศ. พื้นฐาน (อายุ ๑๕) เด็กจบแล้วไปไหน   ต้องไปทำงาน/อาชีพ
       เข้า อศ. ทางข้าง
       วัดสัมฤทธิผล กศ. ที่มีงานทำ  ไม่ใช่ที่ O-NET, A-Net    กศ. จึงจะไม่ใช่ฐานานุภาพ
       Governance   
       Community of Logical Space, Virtual Space/Community, Physical Proximity 
       มหาฯ เป็นสมองใน พท. เป็นไปได้      

 

          ผมเสนอให้ทาง สกอ. รวบรวมประเด็นเสนอเป็นแผนยุทธศาสตร์   สำหรับกลั่นกรองโดย กกอ. เสนอให้ รมช. ศึกษาฯ หาทรัพยากรมาสนับสนุน   โดยเป้าหมายคือการวางรากฐานระยะยาวเชิงระบบของอุดมศึกษา    และทำให้ระบบอุดมศึกษาเป็น Learning Systems และส่งผลกระทบต่อการศึกษาระดับพื้นฐานด้วย   

วิจารณ์ พานิช
๒๔ เม.ย. ๕๒


        

 

หมายเลขบันทึก: 257630เขียนเมื่อ 27 เมษายน 2009 09:54 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 มิถุนายน 2012 15:00 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท