Community Family and Occupational Medicine (CFOM)


Community Family and Occupational Medicine (CFOM)

 

Community Medicine ใช้หลักระบาดวิทยา Epidemiology

ในการป้องกันควบคุมโรค และฝึกให้นิสิตแพทย์ เป็น Care Giver 

Decision Maker, Communicator, Community Leader และ Manager

ระบาดวิทยา (Epidemiology) และอาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Medicine)

แพทยสภา จัดให้อยู่ในกลุ่มวิชาเวชศาสตร์ป้องกัน

การฝึกอบรมเวชปฏิบัติครอบครัว

ในประเทศไทยได้เรื่มเปลี่ยนชื่อ เวชปฎิบัติทัั่วไป 

เป็น Family Medicine พ.ศ. 2544

แต่ General Practice ในต่างประเทศจะแตกต่างออกไป

http://www.tmc.or.th/train07.php

Contents

1) แพทยสภากำหนดไว้เกี่ยวกับ ระบาดวิทยาและอาชีวเวชศาสตร์

Epidemiology 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3

Health Services, Health Promotion  1.2.1

Occupational Health 1.2.2

ระบาดวิทยา

ภาคผนวกที่ 1 ความรู้ความสามารถทางวิชาชีพและทักษะทางคลินิก

ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู้ความสามารถในการแก้ไขปัญหาทางสุขภาพทั่วๆ ไปของผู้ป่วยและประชาชนได้เหมาะสม หมวดความรู้ความสามารถทางวิชาชีพและทักษะทางคลินิกนี้ แบ่งออกเป็น 3 หมวดดังนี้คือ

หมวดที่ 1. ภาวะปกติและหลักการดูแลทั่วไป ( Normal conditions and general principles of care)
หมวดที่ 2. ภาวะผิดปกติจำแนกตามระบบอวัยวะ ( Individual organ systems or types of disorders)

หมวดที่ 3. ทักษะการตรวจโดยใช้เครื่องมือพื้นฐาน การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการทำหัตถการ ( Technical and Procedural skills)

หมวดที่ 1. ภาวะปกติและหลักการดูแลทั่วไป 
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู้ความสามารถในการแก้ไขปัญหาทางสุขภาพทั่วๆ ไปของผู้ป่วยและประชาชนได้เหมาะสม กล่าวคือ

1.1. สามารถรวบรวมข้อมูล และประเมินปัญหาทางสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และ ชุมชนในความรับผิดชอบตามวิธีการทางระบาดวิทยา

1.1.1. Statistical concepts of measurement in medical practice
• central tendency
• variability, probability and distribution
• scales of measurement
• disease frequency
• case fatality, survival rate
• relative risk, odds ratio, standardized mortality rate
• risk differences, attributable risk
• sensitivity, specificity, accuracy
• positive and negative predictive values
• decision analysis

1.1.2.Appraisal and interpretation of medical literature : 
• study design
- clinical trials, community intervention trials
- cohort, case-control, cross-sectional, case series, community surveys
- subject eligibility and sampling
- randomization, self-selection, systematic assignment
- outcome assessment
- validity
- advantages and disadvantages of different designs
- sample size
• statistical inference
- hypothesis generation, hypothesis testing, and test statistics
- statistical significance and type I error
- statistical power and type II error
- confidence interval

1.1.3 Epidemiology of health and diseases
• patterns of disease occurrence
- age, race, gender, and socioeconomic status
- international, national, and regional variations
- sporadic seasonal, secular, and birth cohort patterns
- disease surveillance
- epidemic, endemic, and pandemic patterns
- outbreak investigation and control
- leading causes of death and disability 
• natural history and prognosis
- modes of disease transmission
- incubation periods
- methods of rationale for early detection
- disease manifestations
- evaluation of treatment efficacy
- determinants of disease progression
• risk factors for disease occurrence
- hereditary/genetic traits 
- age, race, gender, and socioeconomic status
- life-style/behavioral factors
- occupational exposures
- environmental characteristics
- dietary/nutritional patterns
- nosocomial / iatrogenic exposures
- prenatal exposures
- abnormal metabolic or physiologic states

1.2 สามารถส่งเสริมสุขภาพส่วนบุคคลและชุมชนเกี่ยวกับการสุขศึกษา การสุขาภิบาล การส่งเสริมโภชนาการ การอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การควบคุมโรคในท้องถิ่น การตรวจสุขภาพ และการตรวจหาโรคในระยะเริ่มแรก

1.2.1 Health services organization and delivery
• general aspects of health care system structure
- community preventive medicine service programs
- health education
- home health care
- infectious disease control
- consultative services
- immunization, school and occupational health program
- catastrophic illness and access to health care
• evaluation of outcomes of disease prevention
• health promotion interventions
- nutrition
- mother and child health
- contraceptive control
- oral health
- fitness and exercise

1.2.2 Community dimension of medical practice
• general aspects related to community organization
- health status assessment of population
- health surveys
- disease-reporting systems
• general public health issues
• environmental and occupational health
- environmental control
- air and water quality
- industrial and occupational health

กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์ แห่งประเทศไทย (ก ส พ ท) 

และคณาจารย์โรงเรียนแพทย์ 16 แห่ง 

ได้ประชุมเมื่อ 4 กย. 2552 กทม. ผลการประชุม คือ

เกณฑ์มาตรฐาน สิ่่งที่ นิสิตแพทย์ ต้องรู้ (Must Know) 

ในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต

ด้าน Knowledge, Experience, Competency

Knowledge

1. Hazard recognition in workplace

2. Evaluation risk and control in hazards

3. Clinical feature and investigation of common occupational disease

4. Principle of occupational safety

5. Emergency treatment of injury or work health hazards

6. Principle of health promotion education and behavioral modification

7.  Principle of health and environment surveillance

8. Principles of assessing fitness for work

9. Occupational Health in health care worker

10. Principle of toxicology

11. Physical chemical and biological hazards arising from industrial activities

12. Elicit patient concern about exposure 

and establish a therapeutic alliance incorporating risk communication

Experience

1. Surveillance of worker occupational injury and disease

2. Teamwork 

Competency

1. Diagnosis work related in health and differential diagnosis of work related environment related disease

2. Take a history and physical examination proficiently

3. Recognize exposures to certain hazards

4. Use computer for storage and analysis of data

Community Medicine
Family Medicine
Occupational Medicine
(CFOM)
 

เวชศาสตร์ชุมชน (Community Medicine)
ใช้หลักวิชาด้านสาธารณสุข สังคมศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์
เศรษฐศาสตร สุขศึกษา กฏหมาย และอีกหลายหลักวิชา
และใช้ ระบาดวิทยา Epidemiology ในการป้องกันควบคุมโรค

คณะแพทย์ ม.นเรศวร และรพ.พุทธชินราช
จัดการเรียนการสอน เพื่อให้นิสิตแพทย์มีความสามารถ
ด้าน Care Giver, Decision Maker, Communicator,
Community Leader และ Manager
คือ 5 star doctor
http://www.who.int/hrh/en/HRDJ_1_1_02.pdf
และเพิ่ม Life long learner และ Humanistic health care
รวมเป็น 7 Outcomes ในหลักสูตรที่ปรับเพิ่มใหม่ ปี พ.ศ.2549

นิสิตแพทย์ ม.นเรศวร และ รพ.พุทธชินราช
เรียนชั้นปีที่ 4-6 ที่ รพ.พุทธชินราช
รุ่นที่ 1 และ 2 ของนิสิตแพทย์ มีจำนวน รุ่นละ 30 คน
ตั้งแต่ รุ่นที่ 3 ถึงปัจจุบัน มีจำนวนรุ่นละ 60 คน

นิสิตแพทย์ เรียนจบจาก รพ.พุทธชินราช ไปแล้ว 10 รุ่น
ที่เรียนอยู่ชั้นปี 4 ปี พ.ศ.2553 นี้ มีจำนวน 60 คน เป็นรุ่นที่ 13

วิชาระบาดวิทยา (Epidemiology)
และวิชาอาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Medicine)
แพทยสภาจัดให้อยู่ในกลุ่มวิชา "เวชศาสตร์ป้องกัน"
(Preventive Medicine)
http://gotoknow.org/blog/nopadol/330624

-------------------------------------------------------------------------------------

เวชศาสตร์ครอบครัว (Family Medicine)

การฝึกอบรมเวชศาสตร์ครอบครัวในประเทศไทย
เปลี่ยนจากเวชปฎิบัติทั่วไป General Practice เป็น Family Medicine พ.ศ. 2544

เวชปฏิบัติทั่วไป (General Practice) ในต่างประเทศ
จะแตกต่างจากเวชปฏิบัติทั่วไปของไทย
แต่จะไปทิศทางเดียวกันกับเวชศาสตร์ครอบครัว (Family Medicine)
ซึงก็คือ Primary Care
http://somed1.tripod.com/gp/

Primary Care’s Key Attributes
(Starfield: 1998)
First contact
Longitudinality (Patient focused over-time)
Comprehensiveness
Coordination (Information and Care)
http://somed1.tripod.com/gp/phc1.htm

แพทยสภากำหนดไว้เกี่ยวกับ ระบาดวิทยาและอาชีวเวชศาสตร์

Epidemiology 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3
Health Services, Health Promotion  1.2.1
Occupational Health 1.2.1, 1.2.2

คัดมาเพียงบางส่วนจาก
เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม โดยแพทยสภา พ.ศ.2545
http://www.tmc.or.th/train07.php

ระบาดวิทยา
ภาคผนวกที่ 1 ความรู้ความสามารถทางวิชาชีพและทักษะทางคลินิก
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู้ความสามารถในการแก้ไขปัญหาทางสุขภาพทั่วๆ ไปของผู้ป่วยและประชาชนได้เหมาะสม หมวดความรู้ความสามารถทางวิชาชีพและทักษะทางคลินิกนี้ แบ่งออกเป็น 3 หมวดดังนี้คือ

หมวดที่ 1. ภาวะปกติและหลักการดูแลทั่วไป ( Normal conditions and general principles of care)
หมวดที่ 2. ภาวะผิดปกติจำแนกตามระบบอวัยวะ ( Individual organ systems or types of disorders)หมวดที่ 3. ทักษะการตรวจโดยใช้เครื่องมือพื้นฐาน การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการทำหัตถการ ( Technical and Procedural skills)

 
หมวดที่ 1. ภาวะปกติและหลักการดูแลทั่วไป 
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู้ความสามารถในการแก้ไขปัญหาทางสุขภาพทั่วๆ ไปของผู้ป่วยและประชาชนได้เหมาะสม กล่าวคือ

1.1. สามารถรวบรวมข้อมูล และประเมินปัญหาทางสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และ ชุมชนในความรับผิดชอบตามวิธีการทางระบาดวิทยา
1.1.1. Statistical concepts of measurement in medical practice

• central tendency

• variability, probability and distribution

• scales of measurement

• disease frequency

• case fatality, survival rate

• relative risk, odds ratio, standardized mortality rate

• risk differences, attributable risk

• sensitivity, specificity, accuracy

• positive and negative predictive values

• decision analysis

1.1.2.Appraisal and interpretation of medical literature : 

• study design
- clinical trials, community intervention trials
- cohort, case-control, cross-sectional, case series, community surveys
- subject eligibility and sampling
- randomization, self-selection, systematic assignment
- outcome assessment
- validity
- advantages and disadvantages of different designs
- sample size

• statistical inference
- hypothesis generation, hypothesis testing, and test statistics
- statistical significance and type I error
- statistical power and type II error
- confidence interval

1.1.3 Epidemiology of health and diseases

• patterns of disease occurrence
- age, race, gender, and socioeconomic status
- international, national, and regional variations
- sporadic seasonal, secular, and birth cohort patterns
- disease surveillance
- epidemic, endemic, and pandemic patterns
- outbreak investigation and control
- leading causes of death and disability 

• natural history and prognosis
- modes of disease transmission
- incubation periods
- methods of rationale for early detection
- disease manifestations
- evaluation of treatment efficacy
- determinants of disease progression

• risk factors for disease occurrence
- hereditary/genetic traits 
- age, race, gender, and socioeconomic status
- life-style/behavioral factors
- occupational exposures
- environmental characteristics
- dietary/nutritional patterns
- nosocomial / iatrogenic exposures
- prenatal exposures
- abnormal metabolic or physiologic states

1.2 สามารถส่งเสริมสุขภาพส่วนบุคคลและชุมชนเกี่ยวกับการสุขศึกษา การสุขาภิบาล การส่งเสริมโภชนาการ การอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การควบคุมโรคในท้องถิ่น การตรวจสุขภาพ และการตรวจหาโรคในระยะเริ่มแรก 

1.2.1 Health services organization and delivery

• general aspects of health care system structure
- community preventive medicine service programs
- health education
- home health care
- infectious disease control
- consultative services
- immunization, school and occupational health program
- catastrophic illness and access to health care

• evaluation of outcomes of disease prevention

• health promotion interventions
- nutrition
- mother and child health
- contraceptive control
- oral health
- fitness and exercise

1.2.2 Community dimension of medical practice

• general aspects related to community organization
- health status assessment of population
- health surveys
- disease-reporting systems

• general public health issues

• environmental and occupational health
- environmental control
- air and water quality
- industrial and occupational health

 Linkto: Epidemiology & Statistics
http://gotoknow.org/blog/epistat
http://gotoknow.org/blog/epistat/199748

------------------------------------------------------------------------------------- 

อาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Medicine)

กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์ แห่งประเทศไทย (ก ส พ ท)
Consortium of Thai medical schools
และคณาจารย์โรงเรียนแพทย์ 16 แห่ง
ได้ประชุมเมื่อ 4 กย. 2552 กทม.

เสนอเกณฑ์มาตรฐาน สิ่่งที่นิสิตแพทย์ต้องรู้ (Must Know)
และสิ่งที่นิสิตแพทย์ควรรู้ (Should Know)
ด้านอาชีวเวชศาสตร ในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต

สิ่่งที่นิสิตแพทย์ต้องรู้ (Medical student must know)

 Knowledge

1. Hazard recognition in workplace
2. Evaluation risk and control in hazards
3. Clinical feature and investigation of common occupational disease
4. Principle of occupational safety
5. Emergency treatment of injury or work health hazards
6. Principle of health promotion education and behavioral modification
7.  Principle of health and environment surveillance
8. Principles of assessing fitness for work
9. Occupational Health in health care worker
10. Principle of toxicology
11. Physical chemical and biological hazards arising from industrial activities
12. Elicit patient concern about exposure and establish a therapeutic alliance incorporating risk communication

Experience

1. Surveillance of worker occupational injury and disease
2. Teamwork

Competency  

1. Diagnosis work related in health and differential diagnosis of work related environment
related disease
2. Take a history and physical examination proficiently
3. Recognize exposures to certain hazards
4. Use computer for storage and analysis of data

สิ่งที่นิสิตแพทย์ควรรู้ (Medical student should know)

Knowledge
* Biological monitoring
* Sources of information in occupational health harzard
* Ethical guidelines for communications with doctors, managers, and other
* Workers; compensation system
* The role of medical, Professional,fitness
* Major health risks relevant to working populations
* The workplace health promotion process

Experience

* Surveillance of workers at risk of occupational injury and disease
* Team work

Competency

* Advise on provision of first aid facilities
* Perform a risk assessment
* Elicit patients; concern about exposures and establish a therappeutic aliance incorporating risk communication
* Detect, insofar as possible, pre-clinical or clinical effect arising from chemical exposure and appropriate preventive measure
* Organize appropriate investigation of disease clusters in the workforce
* Identify the potential relationship between patient symptoms and occupational envionmental exposure

-------------------------------------------------------------------------------------  

ประเทศไทยได้ประกาศเพิ่มโรคจาการทำงานจากเดิม 32 โรค เพิ่มขึ้นเป็น 80 โรค

โรคจาการประกอบอาชีพ หรือ โรคจากการทำงาน (Occupational Disiese)
เช่น โรคปอดฝุ่นฝ้าย โรคปอดจากฝุ่นหินทราย โรคหูเสื่อมจากเสียงดัง โรคพิษตะกั่ว
เกิดจากสิ่งคุกคามสุขภาพในการทำงาน เป็น Cause --> Effect โดยตรง
มี Dose respond เช่น สัมผัสเสียงที่มีความดังมากกว่าจึงเกิดโรคได้มากกว่า
สัมผัสเสียงดังเป็นเวลานานกว่าจึงเกิดโรคได้มากกว่า

โรคเกี่ยวเนื่องจากงาน (Work Related disease)
เกิดจากหลายสาเหตุประกอบกัน Multiple Cause 
และงานก็เป็นสาเหตุหนึ่งด้วย สาเหตอื่นเอาจเป็นที่ตัวคนงาน
เช่น มีญาติป่วยเป็นความดันโลหิตสูง
และคนงานก็มีโรคความดันโลหิตสูงด้วย ประกอบกับงานมีมาก 
และความเร่งรีบทำงาน จึงทำให้โรคเป็นมากขึ้น
หรือเกิดโรคแทรกซ้อน เช่น เส้นเลือดในสมองแตกขึ้นได้

สิ่งที่คาดว่าเป็นสาเหตุ Cause มี Association กับผลที่เกิดขึ้น
แต่จะบอกว่า สิ่งนั้นเป็นสาเหตุได้หรือไม่?

When does association imply causation?
From association to causation (Sir Austin Bradfard Hill: 1965)
Strength, Consistency, Specificity, Temporality, Biological gradient,
Plausibility, Coherence, Experimental evidence, Analogy

http://gotoknow.org/blog/epistat/203606

------------------------------------------------------------------------------------- 

โรคจากการประกอบอาชีพ (Occupational disease)
โรคที่เกี่ยวเนื่องกับการทำงาน (Work related disease)

หลักในการตรวจทางห้องปฏิบัติการในคน
ระบาดวิทยาที่สนับสนุนว่าปัจจัยเหล่านี้ทำให้เกิดโรค

 


เกณฑ์ที่ช่วยในการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน

1. จะต้องมีข้อสนับสนุนดังกล่าวทั้งหมดโดยจะต้องมี่การพิจารณา
1.1 เกิดโรคขี้นจริง
1.2 โรคอาจเกิดจากสารเคมีที่ผู้ป่วยสัมผัส 
1.3 มีข้อมูลบ่งถึงการสัมผัส เช่น มีประวัติการทำงาน การเก็บ
     ตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อม จากตัวผู้ป่วย
1.4 การสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพมีระยะนานพอที่จะก่อโรค
     ดูข้อมูลทางระบาดวิทยา การเก็บตัวอย่างพิเศษอื่นๆ
1.5 ได้วินิจฉัยแยกสาเหตุชองโรคที่เกิดนอกเหนือจากการทำงานแล้ว
1.6 คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ที่สนับสนุนและคัดค้าน เช่น การใช้ 
     เครื่องป้องกันตนแล้ว
1.7 นำปัจจัยทั้งหมดมาพิจารณา
2. บางกรณีที่โรคมีลักษณะเฉพาะถ้ามีประวัติสัมผัสให้การวินิจฉัยได้เลย

source: ศูนย์การแพทย์ด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี  กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

ผศ.(พิเศษ)นพ.นภดล  สุชาติ
แพทย์อบรมอาชีวเวชศาสตร์ 2 เดือน (พ.ศ.2538)
M.P.H. (พ.ศ.2540)
อว.เวชศาสตร์ครอบครัว (พ.ศ.2544)
อว.เวชศาสตร์ป้องกันแขนงระบาดวิทยา (พ.ศ.2549)
หัวหน้ากลุ่มงานเวชกรรมสังคม
รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก

http://somed1.tripod.com

http://stat32.tripod.com/cv.htm

หมายเลขบันทึก: 366285เขียนเมื่อ 13 มิถุนายน 2010 14:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 สิงหาคม 2014 10:50 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

 

นิสิตปี 5 ที่ศูนย์แพทย์ สอบวิชา CFOM-2 ส่วนอาชีวเวชศาสตร 30 คน
จะนำเสนอการ walkthrough survey
ภาคเกษตร ต.หัวดง ก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ (สวนมะลิ หมูหลุม น้ำส้มควันไม้)
นพ.ธีรศักด์ (นครสวรรรค์), นพ.กฤช (อุตรดิตถ์), หมอจุ๊ง วุฒิชัย ([รพ.บางระกำ)
และ สำรวจภาคอุตสาหกรรม โรงงานสถานประกอบการ 2 แห่ง

และตัวแทนของภาคบริการคือ 
รพ.ชุมชน คือ บางระกำ วังทอง วัดโบสถ์
บางหน่วยงาน เช่น ศูนยจ่ายกลาง โรงซักฟอก โรงอาหาร
สิ่งคุกคามสุขภาพก็ มีหลายอย่าง ไม่แพ้ภาคอุตสาหกรรม

รวม นิสิตนำเสนอ 6 กลุ่ม
พญ.วิลาวัณย์ จึงประเสริฐ สอนนิสิต ในบ่ายวันศุกรที่ 16 กค.53 นี้ครับ

วิชา CFOM-2 ในส่วนชนบท 4 หน่วยกิต และอาชีวเวชศาสตร 2 หน่วยกิต
(รวม CFOM2 = 6 หน่วยกิต)

 

 

ท่าทางการทำงาน ทำงานกลางแจ้ง แสงแดดจัด

สวนมะลิ เก็บดอกขาย และร้อยพวงมาลัยขาย

 

การเลี้ยงหมูหลุม ส่วนผสมของดินแกลบ และวัสดุทำให้หมูได้ขุดดินเล่น
ขาหมูไม่เป็นแผลจากการลื่นล้มบนพื้นปูน ไม่มีกลิ่นแรง
และขายเป็นปุ๋ยได้ ปีที่แล้วขายไป 10 ตัน

 

น้ำส้มควันไม้ จากการกลั่นไม้ ใช้ไล่แมลง

 

 ทึ่งในความสามารถของอาจารย์ที่รอบรู้ทั้ง CFOM เลยคะ ขอเรียนถาม ว่าอาจารย์มีวิธีทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยอย่างไรจึงสอบผ่าน (โดยเฉพาะ บอร์ด อ.ว. เวชศาสตร์ป้องกันระบาดวิทยา ซึ่งเข้าใจว่ายากทีเดียวคะ)
...

ขออนุญาตแสดงความเห็นส่วนตัวว่า
โดยตัวของ Family Medicine  เป็นวิชาพื้นฐาน  ที่มีแน่นแล้วดีแน่ แต่ลำพังตัวมัน..ปัจจุบันนี้ ไม่พอ
ควรปรับให้ผู้ที่จบ วว.

1. ได้ปริญญาโท ด้านระบาดวิทยาด้วย
ส่วนนี้อย่างน้อย ทำให้เขาสามารถต่อยอดสอบ อ.ว.เวชศาสตร์ป้องกันระบาดวิทยา เมื่อทำงานครบ 5 ปีได้อย่างราบรื่น  หรือใครจะต่อเอกก็ง่ายขึ้น
 (ทุกวันนี้ เนื้อหาระบาดวิทยามีสอนเยอะคะ แต่  trainee ก็เรียนไปลืมไป เพราะขาด motivation)

2. มีสาขาต่อยอด เช่น  Palliative Medicine,  Geriatric Medicine

เห็นความพยายาม สร้าง tract และ promotion มากมาย คำถามคือเราเพิ่ม Value ให้เขาหรือเปล่า ?
....

ขอบคุณอาจารย์อีกครั้งคะ

เห็นด้วยกับท่านอาจารย์ครับ ช่วงเตรียมการสอนนิสิตแพทย์ ม.นเรศวรปี 2537 เนื่องจากเริมมีปี 1 จึงยังไม่มีนิสิตแพทย์ ปี 4, 5, 6 ที่ รพ.พุทธชินราช คณบดีคณะแพทย์จุฬามาช่วยเป็นคณบดีคณะแพทย์ ม.นเรศวร มีท่านอาจารย์ทางระบาดวิทยา คณะแพทย์จุฬามาช่วยสอนนิสิตแพทย์ปี 1 และปี 2 วิชาเวชศาสตร์ขุมชนด้วย ทาง ม.นเรศวร (ท่านอดีตปลัด นพ.ไพจิตร ปวะบุตร) ขอให้ทีมจากกองระบาดวิทยา (ปัจจุบันคือสำนักระบาด สป.) มาช่วยสอนนิสิตแพทย์ปี 3 วิชาระบาดวิทยา ในหลักสูตรแพทย์ปี 2537  จึงได้ไปเรียนหลักสูตรระบาด FETP เบื้องต้น 2 เดือน June Course ที่สอนเป็นภาษาอังกฤษ ที่กองระบาดเป็นแกนหลักจัดสอน เป็นพื้นฐานก่อนไปเรียน ICHD ซึ่งเป็นการเรียน ป.โท M.P.H. ด้วย เมื่อกลับมาที่ รพ.พุทธชินร่าชเตรียมสอน นิสิตปี 4 เป็นนิสิตรุ่นแรก ของ รพ.พุทธชินราช  (นิสิต รุ่นนี้และรุ่นต่อๆมา เป็นแพทย์เฉพาะทาง Fammed อายุรกรรม ศัลยกรรม กุมาร ดมยา ระบาด ...) ม.นเรศวร มีคณบดีคณะแพทย์จากเชียงใหม่ มาเป็นคณบดี จึงได้ขอร้องท่านอาจารย์ ให้ช่วยสอนนิสิตแพทย์ ปี 4 ปี 5 ด้วย เพราะ ม.นเรศวร ช่วงนั้น ส่งนิสิตปี 4 (ทั้งหมด 30 คน) มาที่ รพ.พุทธชินราช ที่เดียว จึงเป็นการเรียนการสอนที่ทีมจาก คลินิกและปรีคลินิกได้จัดการได้ว่า ปีใหนควรสอนจะอะไรก่อน หลังจากที่ต้องจัดการสอนตามแบบที่แพทยสภากำหนด ซึ่งตรงกับข้อสอบระบาดแต่เนื้อหาน้อยกว่าบ้าง ข้อสอบระบาดวิทยาค่อนข้างยาก ต้องอ่านจากตำราหลายเล่ม ตำรารุ่นแรกๆ เช่น ระบาดวิทยา ศ.นพ.ไพบูลย์ โล่ห์สุนทร นพ.ชยันธร, นพ.ธีระพร, ตำราวิจัยคลินิกของรามา, ของ Epidemiology Leon Gordis ไปสมัครสอบระบาดเมื่อ ปี 2549 ครับ เมื่อ ปี 2555 มีเอกสาร ในการอบรม ของ รพ.พระมงกุฏ และ ตำราระบาดของอาจารย์ นพ.สีลม น่่าอ่านมากครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท