สีน้ำเงิน สีเหลือง สีแดง ใครแรงกว่ากัน (นักการเมืองไม่ควรพลาด)


สีน้ำเงิน สีเหลือง สีแดง ใครแรงกว่ากัน

 

ไม่ว่าจะสีไหนๆก็อันตรายทั้งนั้นน่ะครับ

 

สำหรับนักการเมืองบางท่านแล้ว ผมเชื่อว่าข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากเพราะท่านจะได้ไม่ต้องทนทรมานกับการทำงาน หรือว่าจะได้ไม่ต้องเสียเวลาล้างท้องครับ

 

 

 สำหรับเกษตรกร  มันจะติดอยู่ที่ข้างขวดยาน่ะครับ สังเกตุดู  ใช้สารเคมีด้วยความระมัดระวังน่ะครับ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม

โดย

ศูนย์วิจัยและพัฒนาไม้ผลเขตร้อน สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน ร่วมกับ คณะเกษตร กำแพงแสน

จัดโครงการฝึกอบรม หลักสูตร

เทคนิคการผลิตมะนาวนอกฤดู ประจำปี 2553 รุ่นที่ 2 วันที่ 17 มีนาคม 2553 (เวลา 8:30น. – 17:00 น.) และเทคนิคการผลิตใบและผลมะกรูดเชิงการค้า รุ่นที่ 1 วันที่ 18 มีนาคม 2553 (เวลา 8:30น. – 16:30 น.)

หลักสูตรมะนาว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับความรู้พื้นฐานของเทคนิคการผลิตมะนาวนอกฤดู การจัดการดินและการใช้ปุ๋ยมะนาว การขยายพันธุ์มะนาว ฯลฯ

หลักสูตรมะกรูด ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปลูกและดูแลรักษามะกรูด เทคนิคการผลิตใบมะกรูดอย่างมีคุณภาพ และให้ได้ปริมาณมากที่สุด การผลิตผลมะกรูด การบริหารจัดการศัตรูพืชตระกูลส้ม:มะกรูด มะนาว

ผู้สนใจขอทราบรายละเอียดและสมัครเข้ารับการอบรมได้ที่ ศูนย์วิจัยและพัฒนาไม้ผลเขตร้อน สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม 73140 ติดต่ออาจารย์รัฐกานต์ 089-254-1552 หรือโทร. (034) 281090 หรือ โทรสาร (034) 281091

1. คุณสมบัติผู้เข้ารับการฝึกอบรม เกษตรกร ข้าราชการ และผู้สนใจทั่วไป

2. ค่าใช้จ่ายในการสมัคร ค่าลงทะเบียนหลักสูตรละ 600 บาท แต่ถ้าลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนวันที่ 10 มีนาคม 2553 ลดเหลือหลักสูตรละ 500 บาท(รวมอาหารว่าง อาหารกลางวันและเอกสารประกอบการอบรม)

การจัดส่งค่าลงทะเบียนล่วงหน้า

ธนาณัติในนาม นางมณฑา วงศ์มณีโรจน์ (ปณ. กำแพงแสน) ที่อยู่ ศูนย์วิจัยและพัฒนาไม้ผลเขตร้อน สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน ม.เกษตรศาสตร์ อ. กำแพงแสน จ. นครปฐม 73140 หรือ

โอนเงินเข้าบัญชีในนาม ศูนย์วิจัยและพัฒนาไม้ผลเขตร้อน ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาย่อย ม.เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน ประเภท ออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 769 – 227500 - 5 หลังจากโอนเงินกรุณาส่งหลักฐานการโอนแนบมาพร้อมกับใบสมัครส่งมาทางไปรษณีย์ตามที่อยู่ข้างบน หรือทางโทรสาร (034) 281091 และท่านจะได้รับใบเสร็จรับเงินในวันฝึกอบรม

3. หัวข้อในการฝึกอบรมมะนาว (ร่าง)

8.00 – 9.00 น ลงทะเบียนและรับประทานอาหารว่าง

9.00 – 10.30 น. การจัดการดินและการใช้ปุ๋ยมะนาว( ผศ.อรรถศิษฐ์ วงศ์มณีโรจน์)

10.30 – 12.00 น. การขยายพันธุ์มะนาว (อ.สามารถ เศรษฐวิทยา)

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 16.30 น. การปลูกมะนาวและการผลิตมะนาวนอกฤดู(รศ.ดร.รวี เสรฐภักดี)

4 หัวข้อในการฝึกอบรมมะกรูด (ร่าง)

8.00 – 9.00 น ลงทะเบียนและรับประทานอาหารว่าง

9.00 – 12.00 น เทคนิคการผลิตใบและผลมะกรูดเชิงการค้า(รศ.ดร.รวี เสรฐภักดี)

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 16.30 น. การบริหารจัดการศัตรูพืช:มะกรูด มะนาว และ ชมแปลงปลูก

ใบสมัคร

โครงการฝึกอบรม “เทคนิคการผลิตมะนาวนอกฤดู ประจำปี 2553 รุ่นที่ 2”

และ “เทคนิคการผลิตใบและผลมะกรูดเชิงการค้า ประจำปี 2553 รุ่นที่ 1”

ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาไม้ผลเขตร้อน สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน นครปฐม

1.ชื่อ (นาง/นางสาว/นาย)…………………………นามสกุล……………………………อายุ………ปี

2.วุฒิการศึกษา……………………………………….…………………………………………………….

3.อาชีพ…………………………………………………………………………………………………….

4.สถานที่ทำงาน……………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………….โทรศัพท์……………………………โทรสาร……………………..…

5.ที่อยู่ที่บ้าน………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………

……………………………….โทรศัพท์……………………………โทรสาร……………………..…

6.ที่อยู่ที่สะดวกในการติดต่อ สถานที่ทำงาน บ้าน

7.หลักสูตรที่จะเข้ารับการฝึกอบรม  เทคนิคการผลิตมะนาวนอกฤดู ประจำปี 2553 รุ่นที่ 2

 เทคนิคการผลิตใบและผลมะกรูดเชิงการค้า ประจำปี 2553 รุ่นที่ 1

8.การลงทะเบียน ลงทะเบียนล่วงหน้า มะนาว 500 บาท (ภายในวันที่ 10 มี.ค. 2553)

ลงทะเบียนล่วงหน้า มะกรูด 500 บาท (ภายในวันที่ 10 มี.ค. 2553)

ลงทะเบียนมะนาววันฝึกอบรม ค่าลงทะเบียน 600 บาท

ลงทะเบียนมะกรูดวันฝึกอบรม ค่าลงทะเบียน 600 บาท

9. ที่พัก  ต้องการที่พัก  ไม่ต้องการ

8.ประสบการณ์ในการปลูกมะนาว  มี  ไม่มี

9.การใช้ประโยชน์หลังจากการฝึกอบรม….……………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………….

…………./………../………..

หมายเลขบันทึก: 329997เขียนเมื่อ 22 มกราคม 2010 10:23 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 22:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ไม่สงวนสิทธิ์ใดๆจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (18)

ขอเถียงครับ

สีกา แรง และอันตรายที่สุด

เอาแล้วพี่หมอ ออกฤทธิ์อีกแล้ว สงสัยเคย ฮิๆๆๆๆ

มาหาผมทีไรวิชาการ เนี่ยไม่เคยเลย ไม่แม่ม่าย ก็ สาวๆ ไม่ชอบเสียด้วยเรื่องพวกนี้

พี่ชายบรรยากาศในห้องดูแปลงมัย ! น้องคิดมากมัย

Photo Sharing and Video Hosting at Photobucket    แดง สีเหลือง สีน้ำเงิน ใครแรงกว่ากัน..   อือม.. น่าคิด.. 

แต่สีรุ้งแสนสวยเรียงแบบนี้..  สวยที่สุดค่ะ     ม่วง  คราม  น้ำเงิน  เขียว  เหลือง  แสด  แดง   อิ อิ             

 

สวัสดีค่ะ

  • น้องซิลเวียเพิ่งเรียนความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมีในห้องปฏิบัติการมาเหมือนกันค่ะ...
  • โดยให้สังเกตสีและสัญลักษณ์ต่างๆจากข้างขวดสารเคมีเช่น..

  • ตัวอย่างสีสี่สีที่บรรจุอยู่ในรูปขนมเปียกปูน  (Diamond Shape) อันนี้เรียกว่า ดัชนี NFPA
  • อันเป็นข้อกำหนดของ National Fire Protection Association (NFPA)ทีบ่งบอกว่าสารเคมีมีคุณสมบัติเป็นอย่างไร โดยการกำหนดเป็นระดับตัวเลข 0-4 ไว้ค่ะ
  • สีน้ำเงินบอกว่ามีอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สีแดงบ่งบอกถึงความไวไฟ สีเหลืองบ่งบอกถึงการเกิดปฏิกิริยา ส่วนสีขาวจะบอกถึงข้อมูลพิเศษเฉพาะของสารนั้นๆ
  • บันทึกนี้ทำให้น้องซิลเวียได้ทบทวนเนื้อหาบางส่วนที่เรียนมาพอดีเลย อิอิ
  • ขอบคุณค่ะ..

ขอบคุณ คุณนินานันท์ และ น้องซิลเวีย ที่แวะมาให้ความรู้ครับ

P
สวัสดีค่ะคุณสามารถ
เห็นหัวบันทึก ทีแรกก็กล้าๆ กลัวๆ ..... จะเข้ามาดีมั้ยน๊า....
จริงๆ แล้วทุกสีล้วนแต่งแต้มสีสัน ให้โลกสวยงามนะ 
ยิ่งเป็นสีรุ้ง  ยิ่งสวย และแรงที่สุด....เพราะทั้ง 7 สี รวมกันแล้วมัน คือความสามัคคี เสมอภาค เท่าเทียม ไมมีสีไหนมากกว่ากัน...ฮา...
ระลึกถึงค่ะ.. ขอบคุณที่เอามะนาวไปฝากค่ะ
วันนี้เอาเห็ดมาแลกเปลี่ยน...
ระลึกถึงค่ะ
 
  • สวัสดีค่ะ
  • แวะมาใฝ่หาความรู้เรื่องสีต่าง ๆ  รู้ตัวเองแล้วว่ายังต้องเรียนรู้เพิ่มเติมอีกมากมายทีเดียว (บางครั้งก็เข้าใจ บางครั้งชักไม่แน่ใจก็มีค่ะ....)
  • ขอบคุณในทุก ๆ บันทึกที่ได้เรียบเรียงมาเป็นอย่างดี ไม่เคยสร้างความผิดหวังแก่ท่านผู้อ่านเลยจริง ๆ
  • ขอบคุณนะค่ะ

มารับความรู้เรื่องสีแสดงโทษสารเคมี..ขออยู่ไกลๆพวก "มีสี " อันตรายค่ะ..

ขอบคุณครับคุณนงนาท มันอันตรายอย่างที่ท่านว่าจริงๆครับ 5555

 

อันตรายน่ะ ต้องคอยตรวจดูให้ดี

ผมคิดว่าไปต่อไม่ไหวแล้ว ขอฉลากสีเหลือง1ขวด

 

อย่ารีบร้อนไปเลยครับขอเวลาอีกนิดหนึง        

 

ใครจะทำอะไรก็ช่างฉันไม่สนใจใคร

 

จะเป็นอย่างไรไม่สน มันส์สสส อย่างเดียว

  • สวัสดีค่ะ คุณสามารถ
  • "นึกถึงคุณบุษราอยู่เสมอน่ะครับ และขอเป็นกำลังใจให้คุณบุษราในการทำงานครับ ความตั้งใจบริการประชาชนให้ได้รับประโยชน์จากหน่วยงานของตนเองเป็นสิ่งที่น่ายกย่องเป็นอย่างยิ่งครับ ขอให้กุศลส่งถึงคุณพ่อให้หายเร็วๆน่ะครับ"
  • มีเวลาเมื่อไหร่ก็แวะมาถามข่าวคราวอย่างไม่ขาดสาย....ขอยกให้เป็นกำลังใจแสนดีที่หนึ่งเลยเพื่อน....
  • ขอบคุณค่ะ 

สวัสดีค่ะ     

นีนานันท์คิดว่า ส่วนมากวัตถุที่เป็นพิษเป็นอันตราย คนจะสนใจและเข้าใจจากรูปหัวกระโหลกมากกว่าดูสีค่ะ   เป็นกำลังใจให้นะคะ       

ทุกสี่มีผลประโยชน์เป็นตัวตั้ง ปัญหาต่างๆๆจึงแก้ไขไม่ได้ ผมว่าตอนนี้สีแดงแรงมากครับ แรงไปจนถึง 26 กพ. จากนั้นจะเป็นอย่างไรก็ไม่ทราบ แต่น่ากลัวมาก

ขอบคุณ คุณบุษรา เพื่อนกันก็ต้องเป็นแบบนี้แหละครับ

ขอบคุณ คุณนินานันท์ ครับที่แวะมาเยื่ยมกันบ่อยๆ สังเกตุตรงภาพกระโหลกก็เป็นจุดสังเกตุที่ดีจุดหนึ่งเลยครับ

ก็ไม่อยากให้เป็นอย่างที่ ท่านเผ่าพันธุ์เดียวกัน บอกเลยครับ ไม่อยากเห็นอะไรที่จะได้เห็น ไม่อยากเห็นอะไรที่อาจจะไม่ได้เห็น และอาจจะเห็นอะไรที่ไม่เคยได้เห็น

 แดง เหลือง น้ำเงิน ก็งามทั้งนั้นค่ะ เพียงแต่คนไปกำหนดให้มีอันตราย

ตอนนี้สงสารสีเหลีองค่ะเคยเป็นสีเสื้อที่มีราคาสูงขายดีจนไม่พอขาย

ตอนนี้เป็นสีที่ถูกเก็บ พับแขวนไว้เฉยๆ 

ก็อยากให้สีแดงถูกเก็บพับแขวน บ้าง 

ในเวลานี้ สีชมพู ดีที่สุดค่ะ     

    

      สงสัย กินแกลบแบบไหน  ตัวไม่โต  

       

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท