อนุทิน 173833


Wasawat Deemarn
เขียนเมื่อ

เขียน … ที่บ้าน

“…

โครงการพัฒนาครูในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล รุ่น ๒ (บัณฑิตพันธ์ุใหม่)

บันทึกการประชุมออนไลน์ e-PLC ครั้งที่ ๑ (ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ ครั้งที่ ๑)

วันอาทิตย์ที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๖

ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่า …

ครูท่านที่ ๑ สอนนาฏศิลป์ เลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ซึ่งเด็กเกินไปสำหรับการประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัลในระดับก้าวหน้า เช่น การมีห้องเรียนออนไลน์ เป็นต้น

ครูท่านที่ ๒ สอนวิชาคอมพิวเตอร์ และการงานพื้นฐานอาชีพ เลือกสอนวิชาเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ มีการประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัลที่หลายหลาย เรียกว่า ตอบโจทย์โครงการไปแล้ว แต่ให้ข้อเสนอแนว่า การเขียนแผนฯ มี ๔ รอบ ใน ๒ เดือน ให้อาจารย์ลองเลือกใส่สื่อดิจิทัลจากเบื้องต้น สู่ ระดับก้าวหน้า คล้ายขั้นบันไดความรู้

…”

๘ สิงหาคม ๒๕๖๖

ห้าทุ่ม สิบสามนาที



ความเห็น (2)

I watched a video of children (age 5 to 12) in remote areas of AUS learning and rehearsing a (drama+sing+dance) play (to perform at end of term). They do all this via an internet ‘meeting’ app and it seems to have work out quite well for them.

I would suggest an online forum (ห้องสนทนา) for ‘students’ to comment on what they learn and do as a way to learn, apply and modify their learning. Other teachers and other schools (students) if allowed to join the forum may help our learning/teaching.

;-) BTW. design for phone may be necessary.

ความเท่าเทียมทางการศึกษาของประเทศไทย ยังไปไม่ถึง AUS

พื้นที่ห่างไกลของประเทศไทย คือ การที่ขาดแคลนเส้นทางคมนาคม การขาดแคลนไฟฟ้า น้ำประปา การขาดแคลนเทคโนโลยี+คลื่นสัญญาณ

อยากให้ทุกโรงเรียนได้ใช้ แต่ก็มีคำตอบอย่างเดียวกัน คือ “ไม่มี” จะใช้

ขอแค่ให้มี “ครู” อย่างเพียงพอในพื้นที่ห่างไกล ก็นับว่า เป็นบุญกุศลมหาศาล แล้วครับ ท่าน sr ;)…

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท