โครงการดูแลผู้ป่วยเด็กระยะสุดท้าย รพ. ศรีนครินทร์


Srinagarind Pediatric Palliative Care Program

แรกเริ่มเป็นการพัฒนางานวิจัยสู่การพัฒนาระบบการดูแล ปัจจุบันทำ

งานแบบสหสาขาวิชาชีพที่เป็นรูปธรรม ประกอบด้วย กุมารแพทย์

(Oncologists)  พยาบาล สังคมสงเคราะห์ เภสัชกร pain team

อาสาสมัคร ได้แก่ นักศึกษาพยาบาล นักศึกษาแพทย์ที่มาร่วมจัด

กิจกรรมต่างๆ ให้เด็กและครอบครัว

 

ประธานโครงการ คือ รศ. พญ. ศรีเวียง ไพโรจน์กุล

 อาจารย์ศรีเวียง พยายามหาแหล่งทุน ดึง resource ต่างๆ เข้ามาช่วย

เหลือ พัฒนาศักยภาพของบุคลากร จัดอบรม ศึกษาดูงานต่างๆ เป็น

ต้น

การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ของ รพ. ศรีนครินทร์

       การพัฒนาโครงการ การริเริ่มโครงการ การดำเนินการ การหาแหล่งสนับสนุน

          การพัฒนาบุคลากร การฝึกอบรมความรู้ความชำนาญ

          การจัดทำ Guide line 

 การทำงานแบบทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

          การดูแลด้านร่างกาย (Symptom management)

          การดูแลด้านจิตสังคม (Psychosocial support : play therapy, emotional

         support, economic support, schooling)

          การดูแลด้านจิตวิญญาณ (Spiritual care)

การช่วยหรือประคับประคองครอบครัว (parental support)

          พัฒนาศักยภาพการดูแลด้านร่างกาย

          Communication skill, self-help group/support group

          Psychosocial support

          Bereavement counselingการพัฒนา Networking  

        

        IMPACT <ul>

  •    ต่อผู้ป่วยและญาติ
  •    ต่อบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน พัฒนาสู่ความเชี่ยวชาญในงาน
  •    ต่อหน่วยงาน/องค์กร ปัจจุบันเป็นที่ศึกษาดูงานในและนอกคณะ 
  • </ul><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"> ดิฉันได้รับมอบหมายให้เป็น nurse co-ordinator ของโครงการฯ  ซึ่งเป็นบทบาทสำคัญอีกบทบาทของ APN ที่ต้องทำงานประสานกับทีมสหสาขาวิชาชีพ ใน population based ที่ดูแล</p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal"></p><p style="margin: 0cm 0cm 0pt" class="MsoNormal">แนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของโครงการ</p><p>แพทย์เจ้าของไข้พิจารณา ทบทวนประวัติผู้ป่วย ซักประวัติร่วมกับทีมและพยาบาล co -  ordinator- ประเมินความเข้าใจของครอบครัวถึงสภาวะของเด็ก- พูดคุยถึงการพยากรณ์โรค- คุยทางเลือกในการรักษาแต่ละแบบ- ให้ครอบครัวและเด็กตัดสินใจเลือกแนวทางรักษา- ประเมินอาการทางกาย เช่น ปวด หอบ เหนื่อย เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย - ประเมินทางด้านจิตสังคมของผู้ป่วยและครอบครัว- กรณีผู้ป่วยอยู่ในช่วงท้ายของชีวิต จะมี Bereavement team จะมีบทบาท- ทีมจะวางแผนในการดูแลผู้ป่วยโดย เข้า conference พยาบาล Co-ordinator จะ  ติดต่อสาธารณสุขใกล้บ้าน-  ติดตามเยี่ยมบ้านเยี่ยมบ้านผู้ป่วย-  สรุป case เพื่อจำหน่ายออกจากโครงการ กรณีเสียชีวิตหรือย้ายไปนอกเขตอีสาน-  ติดตามครอบครัวหลังการสูญเสียโดยส่งจดหมาย หรือโทรศัพท์และส่งการ์ด     แสดงความเสียใจ </p><p> ย้ายบล็อก 2 ตค. 50  มีคนอ่าน = 16</p><p> </p>

    หมายเลขบันทึก: 133835เขียนเมื่อ 1 ตุลาคม 2007 23:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 มิถุนายน 2012 16:13 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


    ความเห็น (4)
    ขออนุญาติรวม blog เข้า plannet นะครับ

    สวัสดีค่ะพี่เกศวันนี้มาดูแลน้องภาคย์ภูมิที่ห้องBMTจึงได้โอกาสคุยกับพี่เกศหนูพึ่งกลับมาจากลาคลอดได้ 2เดือนยุ่งกับการเลี้ยงลูกทำให้โครงการไม่ขยับไปไหนเลย หนูอยากปรึกษาเรื่องโครงการFammily meeting คิดว่าจะทำเกี่ยวกับประเด็นการนัดพบญาติผู้ป่วยเด็กโรคเรื้อรังและวิกฤตในCCUโดยเปิดประเด็นไปที่ความต้องการของญาติก่อนจะดีหรือเปล่าคะ

    30
    กาหลง สวัสดีค่ะน้องกาหลง รีบทำเลยนะคะ  family meeting เป็นการ support ญาติที่ดี เพิ่มคุณภาพชีวิต กำลังใจ เพิ่มช่องทางการสื่อสาร ลดปัญหาข้อขัดแย้ง วางเป้าประสงค์การดูแลร่วมกัน และทำให้การทำงานรารื่นมากขึ้น ให้กำลังใจ และลงมือทำได้เลย ยินดีให้คำปรึกษาค่ะ ตอนนี้พี่เกดอยู่บราซิล ไปเยี่ยมน้องภาคภูมิ 1 ครั้งก่อนมาค่ะ จะกลับเมืองไทย 19 เมย. สุขสันต์วันสงกรานต์นะคะน้องหลง ด้วยรักค่ะ
    พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
    ClassStart
    ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
    ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
    ClassStart Books
    โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท