ความคิดสร้างสรรค์กับการแก้ปัญหา (เพิ่มเติม)


ความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็น ลักษณะ ของความคิด ที่เน้นทางปฏิวัตินิยม มากกว่าการ อนุรักษ์นิยม ของสังคมปัจจุบัน
ในด้านบุคลิกภาพ   ผู้มีความคิดสร้างสรรค์ คือผู้ที่
                  มีความคิดคล่องแคล่ว ในการสนองความคิดได้หลายแง่มุม ผลิต คำตอบ และคำถาม ได้หลายๆอย่าง
                  มีความ สามารถ ในการปรับสภาพความคิดได้เสมอๆ เช่น นำประสบการณ์ หรือวิธีการ แก้ปัญหา เก่าๆ มาดัดแปลง เปลี่ยนแปลง ให้มีผลกับปัญหาใหม่ๆ
                 ไม่ยึดลักษณะ ความคิดที่เคยชิน และ จำเจเป็นนิสัย มองปัญหา และ การแก้ไขในแนวใหม่ๆ ผลิตข้อเสนอ หรือคำตอบ ที่สัมพันธ์ต่อกัน แต่ไม่เป็นอย่าง ธรรมดา ดังเคยกระทำ มาก่อน หรือใน สภาพการณ์ปัจจุบัน
 
               
                       
ในด้านรูปแบบ หรือกระบวนการของความคิด
                                      เป็นความสามารถนอกเหนือจากความฉลาด 
                                  หรือความคิดเชิงเหตุผล มีระบบความคิดที่เป็น
                                  เอกลักษณ์ส่วนบุคคล

                                      เป็นลักษณะความคิดสะท้อนกลับ หลังจากที่
                                  ผ่านการไตร่ตรอง และ เมื่อมีสภาพของจิตใจไร้
                                  ความกังวล หรือ ความกดดันใดๆ
                                       เป็นลักษณะของความคิด ฉับพลัน ลึกลับที่
                                  ยาก จะอธิบาย ให้ชัดเจนแจ่มชัดได้
(Flecher,
                                 1934) 
                    ขบวนการของ ความคิดยอมรับประสบการณ์
                    และความรู้เดิมเข้าผสมผสาน กัน และแปรเปลี่ยนสภาพ
                    ไปสู่ ประสบ การณ์ และความรู้ใหม่ เช่น การใช้อุปมา
                    อุปมัยในประสบการณ์ ของสิ่งหนึ่ง ไปพ้องกับสิ่งอื่น
                    ดังที่
Newton ค้นพบการอธิบาย เรื่อง แรง โน้มถ่วง
                    ของโลก จากปรากฏการณ์ ตกหล่นของ ผลแอปเปิล
                    หรือการกำหนดรูปทรงอาคารของโบสถ์
Ranchamp

                    จากกระดองปูของ
Le Corbusier เป็นต้น
               
            
ในด้านสภาพแวดล้อมและอิทธิพลทางสังคมวัฒนธรรม
การสร้างสรรค์เป็นขบวนการเปลี่ยนแปลง
ของการ ปรับปรุง วิวัฒนาการ ในการจัดการคุณภาพ
และ การดำรงชีพของชีวิตมนุษย์
(Ghiselin, 1952)
ทฤษฎีการวิวัฒนาการมนุษย์ของ
Darwin เกิดขึ้นโดย
แรงกระตุ้นในการสร้างสรรค์ของมนุษย์โดยแท้
เป็นลักษณะขบวนการที่เกิดขึ้นเพื่อควบคุมกลไกของชีวิต
ให้มีรูปแบบที่เหมาะสม และดำเนินไป ในสภาวะที่คงที่
สม่ำเสมอ
(Dobzhansky, 1957) อำนาจการสร้างสรรค์
ของมนุษย์ ไม่ดำเนินคล้อยตามสภาพแวดล้อมเสมอไป
เหมือนเช่นสัตว์ ที่ระบบทางชีววิทยาถูกกำหนดโดยธรรมชาติ
หากแต่ มนุษย์ สามารถสร้าง ระบบ ของกฎเกณฑ์ใน
การดำรงชีพโดยตนเองได้ด้วย
นี่คือลักษณะของความคิดสร้างสรรค์ที่มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์
               
                
ในกรณีอิทธิพลด้านสังคมวัฒนธรรม ก็เช่นเดียวกัน ความคิดสร้างสรรค์จะดำเนินไปสู่ความขัดแย้งและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น ความพยายามค้นหาจุดบก พร่อง และเปลี่ยนแปลง ความเชื่อดั้งเดิม ความไม่พอใจ ในค่า นิยมเก่า โดยมุ่งหาทัศนคติ ใน แนวใหม่ของ สังคมและวัฒนธรรม ความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็น ลักษณะ ของความคิด ที่เน้นทางปฏิวัตินิยม มากกว่าการ อนุรักษ์นิยม ของสังคมปัจจุบัน
               
              
ในด้านที่เกี่ยวกับผลงานการสร้างสรรค์ คือการมีคุณค่า ที่เป็นเอกลักษณ์ ของความแปลกใหม่เป็นสำคัญ ผู้มี ความคิดสร้าง สรรค์ สามารถ ผลิตผลงาน ที่สะท้อน ความคิดของงานศิลปะ หรือรูปแบบของพฤติกรรมที่ใหม่ สำหรับตนเองและคนทั่วไป ความแปลกใหม่ ของผลงาน ต้องมีความเหมาะสม สัมพันธ์กับเงื่อนไข และสถาน การณ์ ที่เกี่ยวข้อง กับกระบวนการปฏิบัติ ในขณะนั้นด้วย ไม่เพียงแต่เป็นสิ่งเร้าอารมณ์ และความรู้สึกใหม่ๆ ของ ผู้สัมผัสเพียงเท่านั้น

          
ที่มา...http://pioneer.chula.ac.th/~yougyudh/creativity/ creativity.html
หมายเลขบันทึก: 143323เขียนเมื่อ 31 ตุลาคม 2007 18:08 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 มิถุนายน 2012 20:19 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ขอบคุณค่ะ ได้ความรู้อีกเยอะเลย

มีความคิดคล่องแคล่ว ในการสนองความคิดได้หลายแง่มุม ผลิต คำตอบ และคำถาม ได้หลายๆอย่าง

มีความ สามารถ ในการปรับสภาพความคิดได้เสมอๆ เช่น นำประสบการณ์ หรือวิธีการ แก้ปัญหา เก่าๆ มาดัดแปลง เปลี่ยนแปลง ให้มีผลกับปัญหาใหม่ๆ

ไม่ยึดลักษณะ ความคิดที่เคยชิน และ จำเจเป็นนิสัย มองปัญหา และ การแก้ไขในแนวใหม่ๆ ผลิตข้อเสนอ หรือคำตอบ ที่สัมพันธ์ต่อกัน แต่ไม่เป็นอย่าง ธรรมดา ดังเคยกระทำ มาก่อน หรือใน สภาพการณ์ปัจจุบัน

ในด้านรูปแบบ หรือกระบวนการของความคิด

เป็นความสามารถนอกเหนือจากความฉลาด

หรือความคิดเชิงเหตุผล มีระบบความคิดที่เป็น

เอกลักษณ์ส่วนบุคคล

เป็นลักษณะความคิดสะท้อนกลับ หลังจากที่

ผ่านการไตร่ตรอง และ เมื่อมีสภาพของจิตใจไร้

ความกังวล หรือ ความกดดันใดๆ

เป็นลักษณะของความคิด ฉับพลัน ลึกลับที่

ยาก จะอธิบาย ให้ชัดเจนแจ่มชัดได้ (Flecher,

1934)

ขบวนการของ ความคิดยอมรับประสบการณ์

และความรู้เดิมเข้าผสมผสาน กัน และแปรเปลี่ยนสภาพ

ไปสู่ ประสบ การณ์ และความรู้ใหม่ เช่น การใช้อุปมา

อุปมัยในประสบการณ์ ของสิ่งหนึ่ง ไปพ้องกับสิ่งอื่น

ดังที่ Newton ค้นพบการอธิบาย เรื่อง แรง โน้มถ่วง

ของโลก จากปรากฏการณ์ ตกหล่นของ ผลแอปเปิล

หรือการกำหนดรูปทรงอาคารของโบสถ์ Ranchamp

จากกระดองปูของ Le Corbusier เป็นต้น

ในด้านสภาพแวดล้อมและอิทธิพลทางสังคมวัฒนธรรม

การสร้างสรรค์เป็นขบวนการเปลี่ยนแปลง

ของการ ปรับปรุง วิวัฒนาการ ในการจัดการคุณภาพ

และ การดำรงชีพของชีวิตมนุษย์ (Ghiselin, 1952)

ทฤษฎีการวิวัฒนาการมนุษย์ของ Darwin เกิดขึ้นโดย

แรงกระตุ้นในการสร้างสรรค์ของมนุษย์โดยแท้

เป็นลักษณะขบวนการที่เกิดขึ้นเพื่อควบคุมกลไกของชีวิต

ให้มีรูปแบบที่เหมาะสม และดำเนินไป ในสภาวะที่คงที่

สม่ำเสมอ (Dobzhansky, 1957) อำนาจการสร้างสรรค์

ของมนุษย์ ไม่ดำเนินคล้อยตามสภาพแวดล้อมเสมอไป

เหมือนเช่นสัตว์ ที่ระบบทางชีววิทยาถูกกำหนดโดยธรรมชาติ

หากแต่ มนุษย์ สามารถสร้าง ระบบ ของกฎเกณฑ์ใน

การดำรงชีพโดยตนเองได้ด้วย

นี่คือลักษณะของความคิดสร้างสรรค์ที่มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์

ในกรณีอิทธิพลด้านสังคมวัฒนธรรม ก็เช่นเดียวกัน ความคิดสร้างสรรค์จะดำเนินไปสู่ความขัดแย้งและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น ความพยายามค้นหาจุดบก พร่อง และเปลี่ยนแปลง ความเชื่อดั้งเดิม ความไม่พอใจ ในค่า นิยมเก่า โดยมุ่งหาทัศนคติ ใน แนวใหม่ของ สังคมและวัฒนธรรม ความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็น ลักษณะ ของความคิด ที่เน้นทางปฏิวัตินิยม มากกว่าการ อนุรักษ์นิยม ของสังคมปัจจุบัน

ในด้านที่เกี่ยวกับผลงานการสร้างสรรค์ คือการมีคุณค่า ที่เป็นเอกลักษณ์ ของความแปลกใหม่เป็นสำคัญ ผู้มี ความคิดสร้าง สรรค์ สามารถ ผลิตผลงาน ที่สะท้อน ความคิดของงานศิลปะ หรือรูปแบบของพฤติกรรมที่ใหม่ สำหรับตนเองและคนทั่วไป ความแปลกใหม่ ของผลงาน ต้องมีความเหมาะสม สัมพันธ์กับเงื่อนไข และสถาน การณ์ ที่เกี่ยวข้อง กับกระบวนการปฏิบัติ ในขณะนั้นด้วย ไม่เพียงแต่เป็นสิ่งเร้าอารมณ์ และความรู้สึกใหม่ๆ ของ ผู้สัมผัสเพียงเท่านั้น

ที่มา...http://pioneer.chula.ac.th/~yougyudh/creativity/ 02154150

03.

5010106416

116

47816

2

2

1

0

616

1652648

6526

1416

161564

47

416

416

451658

6

46

52

65216

416

416

+26

16

216

126526

666

า่ยนารนยามยบ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท