การใช้ประโยชน์จากรังสีในงานอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม


รังสีมีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมอย่างไรบ้าง

รังสีมีประโยชน์ทางการแพทย์  แบ่งได้เป็น 3 สาขา คือ รังสีวินิจฉัย    รังสีรักษา  และเวชศาสตร์นิวเคลียร์     อยากทราบว่ารังสีมีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมอย่างไรบ้างค่ะ

หมายเลขบันทึก: 146171เขียนเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2007 16:30 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 02:34 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (73)
นางสาวปิยะดา ทอนสูงเนิน รหัสนิสิต 49660663

ประโยชน์ของรังสีในงานอุตสาหกรรม

1.ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา

 

2'ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา

 

3.ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์

4.วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ

5.วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน

 

6.วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน

 

7.ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ

 

8.วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม

 

9.ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์

 

10.ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ

 

11.ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ

 

12.ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85

 

13.ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography

 

14.ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน

 

15.ใช้ทำสีเรืองแสง

 

16.ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า

 

17.การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)

 

18.การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ

ประโยชน์ของรังสีในเกษตรกรรม

1.การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบชนิดใดลงไป

2.เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

3.การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย

 

4.การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน

 

5.การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล

 

6.การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ

 

7.การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร

 

8.การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค

 

9.การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

ข้อมูลจากhttp://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm  วันอาทิตย์ ที่11 พ.ย. 2550


นางสาวอมรรัตน์ สมควรกิจดำรง รหัสนิสิต 49661561
ประโยชน์ของรังสีทางด้านอุตสาหกรรม

1. อุตสาหกรรมด้านพลังงาน

                1.1) อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการผลิตเรือสินค้า เรือเดินสมุทร เรือตัดน้ำแข็ง เรือดำน้ำที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์ 1.2) อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2. อุตสาหกรรมการฉายรังสี เป็นการใช้รังสีพลังงานสูงฉายรังสีที่วัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร ตัวอย่างเช่น2.1) การฉายรังสีอาหาร ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 มีกัมมันตภาพรังสีตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรที่สำคัญคือ เครื่องเทศ สมุนไพร ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ กระเทียม แหนม ถั่วเขียว และมะขามหวาน 2.2) อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ รังสีแกมมาจากไอโซโทปโคบอลต์-60 ได้นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ 2.3) อุตสาหกรรมพอลิเมอร์ รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนสามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกพอลิเมอร์ต่างๆ เช่น - การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่ถูกอัดด้วยสารมอนอเมอร์ จะทำให้กลายเป็นสารพอลิเมอร์ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับทำพื้นปาร์เกต์หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง - การฉายรังสีเพื่อไปช่วยให้มอนอเมอร์จับตัวกับพอลิเมอร์เรียกว่า การต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติมาฉายรังสีเพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก - การฉายรังสีเพื่อไปทำให้พอลิเมอร์จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ในการผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติกและโฟม - การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกันของพอลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)3. อุตสาหกรรมกระดาษก่อนที่แผ่นกระดาษจะถูกบรรจุเข้าม้วน จะต้องผ่านขั้นตอนการควบคุมคุณภาพด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียรคือการส่งผ่านรังสีบีตา 4. อุตสาหกรรมอัญมณีอาบรังสี (การหุงหรือเผาพลอย)เป็นวิธีการเพิ่มค่าอัญมณีใหมีสีเข้ม ใส สวยงามขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักและยอมรับโดยทั่วไปในท้องตลาด การฉายรังสีอัญมณีก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ทําใหอัญมณีเปลี่ยนสีไปจากเดิม และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น รังสีที่นิยมใชมี 3 ชนิด คือ รังสีแกมมา อิเล็กตรอนพลังงานสูง และนิวตรอน ซึ่งนิวตรอนใชได้ผลดีที่สุด เนื่องจากแทรกผ่านไดทั่วถึงกว่าอิเล็กตรอน ทําให้อัญมณีที่นํามาอาบ เปลี่ยนสีไดอย่างสม่ำเสมอ                                                                                                                                    ประโยชน์ทางรังสีทางด้านการเกษตร1. การปรับปรุงพันธุ์พืช การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ 2. การทำหมันแมลง เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด การควบคุมจำนวนของแมลง โดยวิธีทำหมันด้วยรังสีนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด ไม่มีผลต่อแมลงชนิดอื่นที่เป็นประโยชน์ เช่น ผึ้ง ผีเสื้อ และแมลงปอ 3. การถนอมอาหารด้วยรังสี เป็นการรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลงตาย หรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้น รังสีจะทำให้อัตราการหายใจและกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป ทำให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลง4. ประโยชน์ทางด้านอื่นๆ4.1) เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อปรับปรุง การใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4.2) การใช้เทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา เพื่อเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดินสำหรับการเกษตร 4.3) การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช ชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป

4.4) การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสีนิวตรอน เพื่อวิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง และธาตุมลพิษ ซึ่งมีความสำคัญ ต่อผู้บริโภค

 

ที่มา  http://www.oaep.go.th/pr/doc/radio/ 

       http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter8/ 

      http://www.clinictech.most.go.th/techlist/ 

       (13/11/2005)

                      
นางสาวกมลรัตน์ จันอร่าม รหัส 49660014
ด้านอุตสาหกรรม
                การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์" เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลายกิจการต่าง ๆ ดังนี้     - ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา

- ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
-
ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
-
วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้อง
-
วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
-
วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
-
ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
-
วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
-
ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
-
ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
-
ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
-
ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch odule ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตรอน -85
-
ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron diography
-
ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
-
ใช้ทำสีเรืองแสง
-
ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า
-
การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)
-
การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ  เป็นต้น

 

ด้านการเกษตร
    เทคโนโลยีนิวเคลียร์ถูกนำมาใช้เพื่อส่งเสริมการเกษตร เพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตและคุณภาพของผลิตผล เช่น

- การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
-
เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
-
การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
-
การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
-
การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
-
การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
-
การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
-
การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
-
การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation) เช่น
1.
ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอม เหมือนข้าวขาวมะลิ
2.
ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
3.
ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
4.
ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม

เป็นต้น

http://skn.ac.th/skl/project/newc/ppf63.htm

(11 / 11 / 50)
นางสาวอัญญารัตน์ คำก่อ

ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม
      การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรมซึ่งเรียกว่า "เทคนิคทางนิวเคลียร์" เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในกิจการต่างๆดังนี้
-ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่างๆในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
- ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูง ในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
-ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
- วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เผื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
- วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
- ควบคุมขบวการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
- วัดหาปริมาณของสารตะกั่วหรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์นำมันปิโตรเลียม
- ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
- ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
- ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่างๆ
- ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC ,Semiconductor, Watch module ต่างๆด้วยก๊าซคริปตอน-85
- ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมดลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing:NDT) มีการใช้ X-ray,gamma rays และ neutron radiogrophy
-ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
- ใช้ทำสีเรื่องแสง
- ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์และปริมาณขี้เถ่า
- การวิเคราะห์แร่ะาตุด้วยเทคนิคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ(neutron activitin and x-ray fluorescence analysis)
- การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยา สายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ
ประโยชน์ทางด้านการเกษตร ชีววิทยา และอาหาร
- การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
- เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดุดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยด้วยต้นไม้และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
- การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและในเมล็ดพืช ซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากการบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
- การใช้รังสีเพพื่อการกำจัดแมลงศัตูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
- การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยกาฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก้บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
- การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยง และการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
- การนำรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
- การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสี
   วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากกาใช้ยาปราบศัตรูพืชยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
- การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธุ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation) เช่น
 1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป้นข้าวเจ้าจากการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ
 2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก้เป็นผลมาจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่าและมีผลผลิตสูงกว่าข้าวมะลิ 15
 3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
 4. ถั่วเหลืองที่มีความทนทานต่อราสนิม

ข้อมูลจาก :www.geocities.com

 

น.ส.ศิริญญา เรืองชาญ รหัสนิสิต 49661295

รังสีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและการเกษตรได้ดังต่อไปนี้
ประโยชน์ของรังสีในทางอุตสาหกรรม
-ใช้วัดระดับของไหลสารเคมีต่างๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
-ใช้ตรวจสอบเศษไม้ในหม้อนึ่งภายใต้ความดันสูง ในการผิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
-ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
-วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้อง กระดาษ
-วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาปริมาณแร่ที่ดูดผ่าน
-วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
-ควบคุมขบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความหนาสม่ำเสมอ
-วัดหาปริมาณสารตะกั่วหรือธาตุกำมถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
-ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
-ใช้ทำสีเรืองแสง
-ใช้วัดหาปริมาณเถ้าของถ่านลิกไนต์
-การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ(Neutron activation and x-ray fluorescence analysis)
-การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ
-ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันใต้ดิน ความชื้นใต้ดิน ด้วยรังสีนิวตรอน
-ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตบนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้ บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่างๆ
-ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ semiconductor, watch, module ต่างๆ ด้วยก๊าซคริปตอน 85
-ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยวิธีไม่ทำลายชิ้นงาน มีทั้งการใช้ x-ray ,gamma rays และ Neutron radiography

ประโยชน์ของรังสีในด้านการเกษตร
-การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
-เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสีใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยโดยต้นไม้และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุง การใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
-การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืช ซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉางและภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
-การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
-การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้ โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกล และการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
-การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหานม อาหารเนื้อในโคปละกระบือ
-การนำเทคนิคทางรังสีด้วนอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
-การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจาก การใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
-การเอาพลังงานปรมาณูมาใช้ฉายพันธุ์พืช เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เช่นปอแก้ว เมื่อเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
แหล่งที่มา หนังสือการฝึกอบรมหลักสูตร การป้องกันอันตรายจากรังสี  ระดับ 2 สำนักงานผลังงานปรมาณูเพื่อสันติด กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ใน บทที่ 2 การใช้ประโยชฯ์จากพลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทย หน้า 4-6

น.ส.ศิริญญา  เรืองชาญ นิสิตคณะสหเวชศาสตร์ สาขารังสีเทคนิค ชั้นปีที่ 2 รหัสนิสิต 49661295

น.ส.ธนาพร อินคุ้ม รหัสนิสิต 49660458 คณะสหเวชศาสตร์ สาขารังสีเทคนิค
ในทางอุตสาหกรรมต่างๆ 1.รังสีอัลตราไวโอเลตสามารถใช้ฆ่าเชื้อโรคได้ โดยเฉพาะในนำดื่ม 2.แบล็กไลต์ (black light) เป็นหลอดที่เปล่งรังสียูวีคลื่นยาว มีสีม่วงดำ ใช้ตรวจเอกสารสำคัญ ใช้ตรวจเอกสารสำคัญ เช่น ธนบัตร, หนังสือเดินทาง, บัตรเครดิต ฯลฯ ว่าเป็นของจริงหรือปลอม และสามารถใช้ล่อแมลงให้มาติดกับ เพื่อที่จะกำจัดภายหลังได้ 3.ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา 4.ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา 5.ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์ 6.วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ 7.ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ด้วยรังสีนิวตรอน 8.ใช้ทำสีเรืองแสง 9.ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า 10.วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน 11.วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน 12.ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ 13.วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม 14.ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์ 15.ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ 16.ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ 17.ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85 18.ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography 19.ใช้เป็นเชื้อเพลิงในเรือดำนำ เรือสินค้าและโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ในทางเกษตรกรรม อาหารและชีวภาพ 1.การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุใน ภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย 2.การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน 3.การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการ ขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล 4.การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบ ศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค 5.การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation) เช่น - ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า - ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม 6.การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ 7.การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร 8.ควบคุมการงอกของพืชผักในระหว่างการเก็บรักษา ที่มา(อ้างอิง) http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story8.htm www.np.ac.th/NP/Elearning/Scince1/Data/CHP2.ppt http://www.oaep.go.th/pr/doc/poster/0003.pdf http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%95 13/11/2007 นางสาวธนาพร อินคุ้ม รหัสนิสิต 49660458 คณะสหเวชศาสตร์ สาขารังสีเทคนิค
น.ส.ศิรินันท์ จันทร์กล้า รหัสนิสิต 49662285
ประโยชน์ของรังสี1. ด้านการเกษตร                     ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมกิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่มมากขึ้น                    - การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป                    - เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น                    - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย                    - การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน                    - การถนอมอาหาร (Food Preservation) การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล โดยศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรของสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ ดังนี้
        
1. ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง , หอมใหญ่ , กระเทียม ,ขิง
        
2. ชะลอการสุก : มะม่วง , มะละกอ
        
3. ชะลอการบาน : เห็ด
        
4. ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู , แหนม
        
5. ลดแบคทีเรียและเชื้อรา : ปลาสด ,เนื้อสด , กุ้งแช่แข็ง , เครื่องเทศ
        
6. ควบคุมแมลง : ข้าว,ถั่วเขียว ,ผลไม้แห้ง ,ปลาแห้ง ,มะขามหวาน                    - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ                    - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร                    - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค                    - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced  Mutation) เช่น                    1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ                    2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15                    3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า                    4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม                    การศึกษาการใช้รังสีแกมมาเพื่อผลผลิตไหมไทยพันธุ์นางเหลือง โดยการฉายรังสีแกมมากับไข่ไหม ที่สำนักพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ แล้วทำการเลี้ยง และศึกษาคัดเลือกที่ศูนย์วิจัยหม่อนไหม ศรีสะเกษ จนถึงรุ่นที่ 8 พบว่าปริมาณรังสีที่เหมาะสมสำหรับการปรับปรุงผลผลิตอยู่ระหว่าง 1.5-2.5 เกรย์ ทำให้รังไหมมีเปอร์เซ็นต์เปลือกรัง2. ด้านการอุตสาหกรรม                    การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์" เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในกิจการต่าง ๆ ดังนี้                    - ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา                    - ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา                    - ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์                    - วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ                    - วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน                    - วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน                    - ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ                    - วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม                    - ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์                    - ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ                    - ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ                    - ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85                    - ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography                    - ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน                    - ใช้ทำสีเรืองแสง                    - ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า                    - การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)

                    - การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือเพิ่มขึ้น 80.62 และ 60.10 เปอร์เซ็นต์ ขนาดเส้นของใยไหมเพิ่มขึ้น 11.56 และ 7.37 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ

แหล่งที่มา

                                                                     http://www.oknation.net/blog/print.php?id=77864 http://www.geocities.com/wan_dpst/story6.htm
นางสาวจุฑารัตน์ สอนชาวเรือ รหัสนิสิต 49661967

ตอบ
เราสามารถนำประโยชน์ไปใช้ในทางอุตสาหกรรมและทางเกษตรกรรม ได้หลายวิธี
ก่อนอื่นเราจะมาอธิบายการใช้ประโยชน์ในแต่ละทาง เริ่มจาก

1. ด้านอุตสาหกรรม
การใช้ประโยชน์พลังงานนิวเคลียร์ในด้านอุตสาหกรรมมีอะไรบ้าง 
ได้มีการพัฒนาและนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย และสามารถจำแนกออกเป็น ๓ แบบ ตามวิธีการของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ดังนี้
๑. อุตสาหกรรมด้านพลังงาน
ก. อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการผลิตเรือสินค้า เรือเดินสมุทร เรือตัดน้ำแข็ง เรือดำน้ำที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์
ข. อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
๒. อุตสาหกรรมการฉายรังสี
การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร โดยมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
ก. การฉายรังสีอาหาร
ประเทศไทยมีศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตร ซึ่งขึ้นอยู่กับสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ โดยเปิดเป็นทางการตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๒ ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ มีกัมมันตภาพรังสีตอนเริ่มต้น ๔๔,๐๐๐ คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรที่สำคัญคือ เครื่องเทศ สมุนไพร ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ กระเทียม แหนม ถั่วเขียว และมะขามหวาน
ข. อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์
รังสีแกมมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ ได้นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ โดยมีจำนวนมากกว่า ๑๔๐ โรงงาน ใน ๔๐ ประเทศ สำหรับประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน ๕ แห่ง
ค. อุตสาหกรรมพอลิเมอร์
รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนสามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกพอลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่ถูกอัดด้วยสารมอนอเมอร์ จะทำให้กลายเป็นสารพอลิเมอร์ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับทำพื้นปาร์เกต์หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสีเพื่อไปช่วยให้มอนอเมอร์จับตัวกับพอลิเมอร์เรียกว่า การต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติมาฉายรังสีเพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสีเพื่อไปทำให้พอลิเมอร์จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ในการผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติกและโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกันของพอลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)
๓. การตรวจวัดและควบคุมโดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม
การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีซึ่งเรียกว่า “เทคนิคนิวเคลียร์” มาใช้ประโยชน์ในระบบตรวจวัดและควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบัน มีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย มีตัวอย่างคือ
- การใช้รังสีแกมมาวัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมาวัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระดาษ และกระเบื้อง
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบ เพื่อการผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์วัดหาปริมาณตะกั่ว และกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดิน ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
- การใช้รังสีแกมมาตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่วและรอยร้าวของวัสดุ หรือหาความสึกหรอโดยวิธีที่ไม่ทำลายชิ้นงาน มีทั้งการใช้ X-ray , Gramma rays และ Neutron radiography
-การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (Nuetron activation and X-ray fluorescence analysis )
- การใช้รังสีแกมมาวัดหาปริมาณเถ้าในถ่านหินบนสายพานลำเลียง 
-ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหล หรือสารเคมีในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
-วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
-ควบคุมขบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความหนาแน่นสม่ำเสมอ
-ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนต์ หลอดแก้วที่ใช้ บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชศาสตร์ต่างๆ
-ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผลึกแผ่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์,IC,Semiconductor,watch,moduleต่างๆด้วยก๊าซคริบตอน-85
-ใช้ทำสีเรืองแสง
-การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อโรคในเครื่องเวชศาสตร์เช่น กระบวนการฉีดสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือต่างๆ ฯลฯ
-วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
-ฯลฯ

2. ทางด้านเกษตรกรรม
การใช้ประโยชน์พลังงานนิวเคลียร์ในกิจการเกษตรมีอะไรบ้าง 
 ประเทศไทยได้มีการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์เพื่อส่งเสริมกิจการเกษตร เพื่อการเพิ่มปริมาณผลผลิต และเพิ่มคุณภาพของผลผลิตดังต่อไปนี้
๑. การปรับปรุงพันธุ์พืช
ษย์ได้รู้จักปรับปรุงพันธุ์พืชมาเป็นเวลานาน ตั้งแต่เริ่มมีการเพาะปลูก โดยใช้วิธีคัดเลือกลักษณะที่เห็นว่าดีในธรรมชาติ เก็บขยายพันธุ์ ต่อมาได้รู้จักนำพันธุ์ที่ดีมาผสมกัน จนในปัจจุบัน มีการนำรังสีมาใช้งานปรับปรุงพันธุ์พืช โดยรังสีสามารถชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ รังสีที่นิยมใช้คือรังสีแกมมาและรังสีเอกซ์ เพราะสามารถฉายผ่านทะลุเข้าไปถึงเนื้อเยื่อภายในได้ดี ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับยีนส์ (genes) ซึ่งเป็นหน่วยพันธุกรรมหรือทำให้เกิดการขาดของโครโมโซม ทำให้ได้ลักษณะพันธุ์ใหม่ ๆ ขึ้นมา การใช้รังสีสามารถใช้กับส่วนขยายพันธุ์ต่าง ๆ ของพืช เช่น กิ่งตา หน่อ ไหล แต่ที่นิยมมากคือ เมล็ด เนื่องจากหาได้ง่ายมีปริมาณมากและสะดวกในการขนส่ง แม้ว่าจะต้องใช้รังสีขนาดสูงกว่าส่วนอื่น ๆ ของพืชก็ตาม
 การใช้รังสีในการปรับปรุงพันธุ์พืชนั้นประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดีในพวกพืชผสมตัวเอง เช่น ข้าว ถั่ว ยาสูบ มะเขือเทศ และในพวกไม้ดอกไม้ประดับก็มีการเปลี่ยนสีดอก ส่วนพืชพวกผสมข้าม เช่น ข้าวโพด ก็มีบ้างแต่เป็นส่วนน้อย ลักษณะต่าง ๆ ของพืชที่สามารถปรับปรุงโดยการใช้รังสี เช่น ผลผลิต ระยะเวลาการออกดอก และการสุกของผล ทรงต้นของพืช ความต้านทานต่อการล้มและการหักของต้น ความทนต่อสภาพภูมิอากาศหรือภูมิประเทศบางแห่ง ความตานทานต่อโรคและแมลง การเพิ่มปริมาณโปรตีน แป้ง น้ำมัน ฯลฯ และการใช้ประโยชน์จากรังสีในด้านเกษตรชีววิทยาและอาหารนั้นการใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทย พืชที่สามารถปรับปรุงพันธุ์ได้สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่าง แพร่หลายมีอยู่ ๑๐ ชนิด คือ ข้าวจำนวน ๓ พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ กข๖ กข๑๐ และ กข๑๕ ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ และพืชสวน ได้แก่ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง
๒. การทำหมันแมลง
วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลง ให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้ ต่อมานำดักแด้ไปฉายรังสีแกมมาเพื่อให้เป็นหมันแล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้ เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด การควบคุมจำนวนของแมลงโดยวิธีทำหมันด้วยรังสีนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด ไม่มีผลต่อแมลงชนิดอื่นที่เป็นประโยชน์ เช่น ผึ้ง ผีเสื้อ และแมลงปอทางสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการกำจัดแมลงวันผลไม้ ในพื้นที่บริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลสำเร็จอย่างดียิ่ง ทำให้ผลผลิตของผลไม้เมืองหนาว เช่น ลูกพลับ สาลี่ ท้อ และลูกพรุน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก หรืออาจจะเป็นตัวอย่างงานวิจัย
  เรื่อง   แมลงวันผลไม้
 การควบคุมและกำจัด
การควบคุมและกำจัดแมลงวันผลไม้ที่มีประสิทธิภาพ จะต้องผสมผสานหลายวิธีเข้าด้วยกัน (Integrated pest control) คือการใช้เหยื่อพิษ (Bait spray) การใช้กับดักกำจัดตัวเต็มวัยตัวผู้ (Male annihilation) และการใช้แมลงที่เป็นหมันด้วยรังสี (Sterile insect technique) ซึ่งจำเป็นต้องมีการวางแผนมีขั้นตอนในการปฏิบัติการควบคุมและกำจัด มีการติดตามผลและมีการประเมินผลจะส่งผลให้การควบคุมและกำจัดแมลงวันผลไม้บรรลุถึงเป้าหมาย
การควบคุมและกำจัดแมลงวันผลไม้โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมันด้วยรังสีเป็นวิธีการใช้แมลงวันผลไม้ชนิดเดียวกันควบคุมและกำจัดประชากรของมันเอง โดยการปล่อยแมลงวันผลไม้ที่เป็นหมัน ออกไปผสมพันธุ์กับแมลงในธรรมชาติ ผลของการผสมพันธุ์นี้จะไม่สามารถเกิดลูกหลานต่อไปได้ เมื่อทำการปล่อยแมลงวันผลไม้ที่เป็นหมันจำนวนมากๆ ต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ ก็ทำให้จำนวนประชากรแมลงวันผลไม้ในธรรมชาติลดลงหรือหมดไป การควบคุมและกำจัดแมลงโดยวิธีการนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด ไม่มีผลกระทบต่อแมลงที่เป็นประโยชน์ เช่น ผึ้ง ตัวห้ำ และตัวเบียน และไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
และยังได้รับการส่งเสริมจากกรมส่งเสริมการเกษตรได้ดำเนินการเกี่ยวกับการใช้รังสีในการส่งเสริมการเกษตร โดยร่วมมือกับสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศขององค์การสหประชาชาติ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการใช้รังสีเพื่อกำจัดแมลงและไล่ศัตรูพืชในพืชผัก ไม้ผล ไม้ดอกในเมล็ดพืช ธัญพืช เช่น มะม่วง มะขามหวาน กระเจี๊ยบเขียว กล้วยไม้ และการใช้รังสีเพื่อถนอมอาหาร ยืดอายุการเก็บรักษา ควบคุมการงอก ชะลอการสุก กำจัดเชื้อโรคและพยาธิ เช่น แหนม มันฝรั่ง พริกแห้ง พริกไทย การทำหมันแมลงผลไม้ เป็นต้น และเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ เกิดผลเป็นรูปธรรมต่องานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร จึงได้จัดตั้งสถาบันรังสีเพื่อการส่งเสริมการเกษตรขึ้น โดยให้เป็นหน่วยงานขึ้นตรงต่ออธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร แบ่งการบริหารเป็นฝ่ายอำนวยการ กลุ่มงานรังสีเพื่อการควบคุมศัตรูพืช กลุ่มงานรังสีเพื่อการพัฒนาคุณภาพผลผลิตการเกษตร กลุ่มงานรังสีเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาพันธุ์ และศูนย์ปฏิบัติการรังสีเพื่อการส่งเสริมการเกษตร
๓. การถนอมอาหารด้วยรังสี
การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาให้พลังงานสูงถึง ๑.๓๓ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน ที่ให้อิเล็กตรอนพลังงานสูงถึง ๑๐ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลงตาย หรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้น รังสีจะทำให้อัตราการหายใจและกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป ทำให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลง กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้  และการแผ่รังสีที่มีพลังงานได้จากการแตกตัวของโครงสร้างของอะตอม วัสดุที่เกิดจากการแตกตัวของอะตอม เรียกกว่า สารกัมมันตภาพรังสี ได้แก่ ธาตุยูเรเนียม ซึ่งเป็นสารกัมมันตภาพรังสีตามธรรมชาติและโคบอส์ 60 ซึ่งเป็นสารกัมมันตภาพรังสีที่มีการสร้างขึ้น
รังสีที่กล่าวมามีอำนาจในการทะลุเข้าไปในวัสดุไม่เท่ากัน คือ
              - อนุภาคอัลฟาไม่ทะลุผ่านกระดาษ
              - อนุภาคเบตา หรืออิเล็กตรอนมีอำนาจทะลุดีกว่า แต่ไม่ผ่านแผ่นอลูมิเนียม
              - รังสีแกมมามีอำนาจในการทะลุสูง จะทะลุผ่านตะกั่วที่หนาเกินไป
              - รังสีเอกซ์มีอำนาจในการทะลุพอประมาณ แต่มีราคาแพงและความยาวคลื่นที่ยาวเกินไป
              - รังสีนิวตรอน มีอำนาจในการทะลุอย่างมหาศาล และมีพลังงานที่มีอำนาจสูง สามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอะตอมของสารที่ทะล
ุผ่านและทำให้สารนั้นกลายสภาพเป็นสารกัมมันตภาพรังสีได้  ในการใช้รังสีเพื่อการถนอมอาหาร เราต้องการรังสีที่มีความยาวคลื่นสั้นและมีอำนาจในการทะลุงสูง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำลายจุลินทรีย์และเอนไซม์ รังสีที่มีคุณภาพในการถนอมอาหาร คือ รังสีแกมม่า และอนุภาพเบตา ได้มาจากสารกัมมันตภาพรังสีคือสารยูเรเนียมที่เลิกใช้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์แล้ว สารกัมมันตภาพรังสีเก็บไว้ในบ่อลึก 16 ฟุต อาหารที่บรรจุไว้ในภาชนะจะถูกหย่อนลงไปในวัตถุทรงกระบอกที่แช่อยู่ในน้ำ และอยู่ในรัศมีของกัมมันตภาพรังสี ทิ้งไว้เป็นเวลานานพอที่อาหารจะได้รับปริมาณรังสีมากพอ ไม่สูงเกินกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งมีหน่วยเรียกเป็น แรด (rad) ถ้าอาบรังสีนานเกินไปอาหารจะกลายเป็นสารกัมมันตภาพรังสีได้
  ประโยชน์การถนอมอาหารด้วยรังสี   การถนอมอาหารด้วยรังสีมีประโยชน์ดังนี้ คือ
       1. รักษาอาหารให้คงสภาพเหมือนเดิมอยู่ได้นาน ไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใด ในรูปลักษณะ สี กลิ่น
และรสอาหาร
       2. ช่วยทำให้สามารถรักษาอาหารที่วางขายอยู่ในท้องตลาดให้คงสภาพอยู่ได้นาน เช่น เนื้อสด ปลา ผัก และผลไม้ เป็นต้น
       3. ป้องกันการงอกของพืช ข้าว ต่าง ๆ เช่น มันฝรั่ง หอมหัว หอมใหญ่ เป็นต้น
       4. ทำลายแมลงในรูปลักษณะต่าง ๆ ที่มีอยู่ในอาหารได้เป็นอย่างดี
       5. เป็นเสบียงสำหรับทหารในสนามรบ ซึ่งขาดแคลนอาหาร เนื่องจากไม่มีตู้เย็นต้องอาศัยอาหารแห้ง
และอาหารกระป๋อง อาหารอาบรังสีเป็นการฆ่าเชื้อโรคแบบเย็น ซึ่งไม่ทำให้ลักษณะของอาหารเปลี่ยนไป
       6. สำหรับประเทศที่ด้อยพัฒนา ซึ่งขาดแคลนตู้เย็น การถนอมอาหารโดยการอาบรังสีทำให้เก็บอาหาร
ไว้ที่อุณหภูมิปกติได้เป็นเวลานาน
๔. ประโยชน์ทางด้านอื่นๆ
ก. เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อปรับปรุง การใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ข. การใช้เทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา เพื่อเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดินสำหรับการเกษตร
ค. การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช ชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
ง. การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสีนิวตรอน เพื่อวิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง และธาตุมลพิษ ซึ่งมีความสำคัญ ต่อผู้บริโภค 

            นางสาวจุฑารัตน์  สอนชาวเรือ   รหัสนิสิต 49661967       สาขาวิชา รังสีเทคนิค   คณะสหเวชศาสตร์  มหาวิทยาลัยนเรศวร
 ที่มา
-http://www.oaep.go.th/nstkc/content/view/133/29/  (10/11/50)
-ผู้แต่ง สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ,หนังสือการฝึกอบรมหลักสูตรการป้องกันอันตราย-จากรังสี2,หน้า  4-6 ในหัวข้อเรื่อง การใช้ประโยชน์จากพลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทย.
-www.ams.cmu.ac.th/depts/rt/know.html - 12k (10/11/50)
-www.thaipost.net/index.asp?bk=xcite&post_date=18/Oct/2544&news_id=41719&cat_id=200700 - 181k (10/11/50)
-southnfe.go.th/LearnSquare/courses/31/keepcook2_05.htm - 29k (10/11/50)
-www.tint.or.th/application/apply-plant.html - 12k (11/11/50)A
-www.icphysics.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&p=2749 - 90k (11/11/50)

 

นางสาวกุหลาบ บุญเรือง รหัสนิสิต 49660090

รังสีสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในกิจการต่าง ๆ ดั้งนี้
1. กิจการอุตสาหกรรม

 การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์"
เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในกิจการต่าง ๆ ดังนี้

- ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
 - ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
 - ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
 - วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
 - วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
 - วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
 - ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
 - วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
 - ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
 - ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
 - ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
 - ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch
module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85
 - ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive
Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
 - ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
 - ใช้ทำสีเรืองแสง
 - ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า
 - การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron
activation and x-ray fluorescence analysis)
 - การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ

2. ด้านการเกษตร ชีววิทยาและอาหาร
 ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริม
กิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่มมากขึ้น
                                                                                    -ควบคุมการแพร่พันธุ์ของแมลงในระหว่างการเก็บรักษา

-ควบคุมการงอกของพืชผักในระหว่างการเก็บรักษา     -การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
 - เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
 - การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
 - การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการ
ขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
 - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
 - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
 - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบ
ศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค  

- การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced
Mutation) เช่น
 1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ
 2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า
 และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
 3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
 4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม                   -ยืดอายุการเก็บรักษาของอาหารสด
-ทำลายเชื้อโรคและพยาธิในอาหาร

 -เสริมสร้างหลักประกันด้านความสะอาดปลอดภัยจากเชื้อโรค พยาธิ และสารเคมี ทำให้สุขภาพ
อนามัยของประชาชนดีขึ้นเป็นผลดีทางด้านสาธารณสุขมูลฐาน
 - ยืดอายุการเก็บรักษาและการวางตลาด ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง เช่น ใช้ทางเรือหรือ
รถยนต์แทนทางเครื่องบิน และค่าใช้จ่ายจากการที่อาหารต้องเน่าเสียไปก่อนเวลาอันควรนับว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้ผลิต ผู้ขายปลีก และผู้บริโภคเพราะต้นทุนถูกลง
 -ประหยัดพลังงาน พลังงานจากการฉายรังสีที่ 10 กิโลเกรย์ เทียบได้เท่ากับพลังงานจากความร้อน
ที่ใช้ในการทำให้อุณหภูมิของน้ำสูงขึ้นเพียง 2.4องศาเซลเซียส เท่านั้น
 -ไม่ทำให้คุณลักษณะภายนอกเปลี่ยนแปลง ก่อนฉายรังสีเป็นอย่างไร หลังฉายรังสีก็เป็นเช่นนั้นสดเหมือนเดิม
 - ขยายตลาดการค้า สามารถส่งไปจำหน่ายในท้องที่ห่างไกลจากแหล่งผลิตได้มากขึ้น
 - ทำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพเป็นไปตามกำหนดมาตรฐาน เป็นการส่งเสริมการส่งออก
 -ลดปัญหาการถูกกักกัน ทำให้ภาพพจน์ของสินค้าดีขึ้น
 - ปรับปรุงคุณสมบัติทางเทคนิคของอาหารทำให้ได้ผลผลิต (ยีลด์) สูงขึ้น
     

        การศึกษาการใช้รังสีแกมมาเพื่อผลผลิตไหมไทยพันธุ์นางเหลือง โดยการฉายรังสีแกมมากับไข่ไหม ที่สำนักพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ แล้วทำการเลี้ยง และศึกษาคัดเลือกที่ศูนย์วิจัยหม่อนไหม ศรีสะเกษ จนถึงรุ่นที่ 8 พบว่าปริมาณรังสีที่เหมาะสมสำหรับการปรับปรุงผลผลิตอยู่ระหว่าง 1.5-2.5 เกรย์ ทำให้รังไหมมีเปอร์-เซ็นต์เปลือกรังเพิ่มขึ้น 80.62 และ 60.10 เปอร์เซ็นต์ ขนาดเส้นของใยไหมเพิ่มขึ้น 11.56 และ 7.37 เปอร์เซ็นต์
ตามลำดับ
          ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่มีอากาศร้อน ผลเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเน่าเสียจุลินทรีย์
และพยาธิที่ก่อให้เกิดโรค รวมทั้งการทำลายขอแมลงที่เกิดขึ้นกับผลผลิตการเกษตร มีปริมาณร้อยละ 30
สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมได้จัดตั้งโรงงานฉายรังสี อาหารและผลิตผลทางการเกษตรประเภทเอนกประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว และเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันระหว่างรัฐบาล อุตสาหกรรม และผู้บริโภค ในอันที่จะสร้างตลาดอาหารฉายรังสีภายในประเทศและต่างประเทศ โรงงานฉายรังสีอาหารซึ่งมีความแรงของรังสีเริ่มต้น 450,000 คูรี ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ของสำนักงาน พปส. ซึ่งเป็นสถาบันที่ได้ดำเนินการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับอาหารฉายรังสี ผลิตผลการเกษตร
พวกผักและผลไม้ เนื้อ ผลิตภัณฑ์หมูและผลิตภัณฑ์ปลา ไก่ ธัญพืช รวมทั้งไม้ตัดดอกเป็นจำนวนถึง 41,000ตันต่อปี

 แหล่งข้อมูลอ้างอิง

http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm
www.np.ac.th/np/elearning/scince1/data/chp2.ppt
http://www.rmutphysics/oldfront/65/nuclear1/nuceng.html 

http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story8.htm


  

นางสาวปิยพร กาญจนประเสริฐ รหัสนิสิต49660656
ประโยชน์ของรังสีในเกษตรกรรม1. การควบคุมศัตรูพืช การควบคุมการงอกและชะลอการสุก การเน่าเสียของผลผลิต โดยกรรมวิธีที่ปลอดภัยทั้งผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม เมื่อใช้รังสีแล้วตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก หรือมีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้ากว่าปกติ เซลล์อาจมีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการเช่น ฉายรังสีมะขามหวานเพื่อควบคุมราและกำจัดแมลง2. การใช้รังสีเพื่อถนอมอาหาร ยืดอายุการเก็บรักษา ควบคุมการงอก ชะลอการสุก กำจัดเชื้อโรคและพยาธิ เช่น แหนม มันฝรั่ง พริกแห้ง พริกไทย การทำหมันแมลงผลไม้ เป็นต้น3. การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก และทำให้ทราบถึงสภาพของดินว่าเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป4. เทคนิคทางด้านรังสีโดยการสะกดรอยด้วยรังสีใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยโดยให้เหมาะสมกับต้นไม้และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุง การใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น5. การนำรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร6. การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมันหรือตัวเมียเป็นหมันเช่น ทำหมันแมลงวันทอง7. การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมประโยชน์ของรังสีในงานอุตสาหกรรม
1. ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
2.ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา3. ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์4. วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ5. วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน6. วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน7. ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ8. วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม9. ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์10. ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ11. ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ12. ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -8513. ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography14. ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอนใช้ทำสีเรืองแสง15. ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า16. การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)17. การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือแหล่งข้อมูลอ้างอิงhttp://www.clinictech.most.go.th/techlist/0214/ray/00000-731.html(6/11/07)http://www.clinictech.most.go.th/techlist/display.php?cat=610(6/11/07)http://www.phtnet.org/article/view-article.asp?aID=19http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm
นายธนรัตน์ กาล้อม 49662810

การใช้รังสีในกิจการอุตสาหกรรม

การใช้รังสีได้มีการพัฒนา และนำเอาพลังงานนิวเคลียร์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทางด้านอุตสาหกรรม อย่างแพร่หลาย และสามารถ
จำแนกออกเป็น 2 แบบ ตามวิธีการ ของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ คือ อุตสาหกรรมการฉายรังสี และการควบคุมการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรม ดังนี้ 
อุตสาหกรรมการฉายรังสี การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ
เพื่อประโยชน์ในด้าน การปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์ บางชนิดในอาหาร
 

1. การฉายรังสีอาหาร (food irradiation) ประเทศไทยเรามีศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ซึ่งเป็นโรงงานต้นแบบ ขึ้นอยู่กับสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เปิดเป็นทางการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 มีกัมมันภาพรังสี ตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี
สามารถให้บริการฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ที่สำคัญ คือ เครื่องเทศ สมุนไพร ฝรั่ง ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ และกระเทียม เป็นต้น 

2. อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์  รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ได้ถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ อันได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ มีจำนวนมากกว่า 140 โรงงานใน 40 ประเทศ สำหรับประเทศไทย มีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน 5 แห่ง

3. อุตสาหกรรมโพลีเมอร์ รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอน สามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยา ในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อน ที่ถูกอัดด้วยสารโมโนเมอร์ จะกลายเป็นสารโพลิเมอร์ ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับ ทำพื้นปาร์เก้ หรือท่อนไม้ ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสี เพื่อไปช่วยให้โมโนเมอร์ จับตัวกับโพลิเมอร์ เรียกว่าการต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติ มาฉายรังสี เพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสี เพื่อไปทำให้โพลิเมอร์ จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และเป็นผลให้ผลิตภัณฑ์ มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก และโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติ ที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกัน ของโพลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)

4. การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า “เทคนิคนิวเคลียร์” มาใช้ประโยชน์ ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลาย ในประเทศไทย ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมา วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- การใช้รังสีแกมมา วัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยาง ที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบเพื่อผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตา วัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษ ในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอน ในการสำรวจแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
- การใช้รังสีแกมมา ตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว รอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมา วัดหาปริมาณเถ้า ในถ่านหินบนสายพานลำเลียง

 

การใช้รังสีในทางการเกษตร

ประเทศไทย เป็นประเทศที่มีการเกษตร เป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีนิวเคลียร์ เพื่อส่งเสริม กิจการเกษตร เป็นต้นว่า การเพิ่มผลผลิต การเพิ่มคุณภาพ และการรักษาสิ่งแวดล้อม กำลังได้รับความนิยมแพร่หลาย ไปสู่ชนบทมากขึ้นทั่วประเทศ
 
1. การปรับปรุงพันธุ์พืช โดยการกลายพันธุ์ (Mutation Breeding) ในประเทศไทยเรา ได้ใช้รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ปรับปรุงพันธุ์พืช ให้ได้พันธุ์ใหม่ พันธุ์พืชที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันมากกว่า 10 ชนิด คือ ข้าวพันธุ์ กข6, กข10, กข15 ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ
เก๊กฮวย KU1 คาร์เนชั่น (ชัยชุมพล) เบญจมาศ พันธุ์ golden cremon และกล้วยหอมทอง KU1 (กรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect Technique) แมลงวันผลไม้ บนดอยอ่างขาง เชียงใหม่ (โดยสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตร) 

2. การทำหมันแมลง
วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลงให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้ ต่อมานำไปฉายรังสีแกมมา เพื่อให้เป็นหมัน แล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง
 การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้ เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด
ทางสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการกำจัดแมลงวันผลไม้ ในพื้นที่บริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลสำเร็จอย่างดียิ่ง ทำให้ผลผลิตของผลไม้เมืองหนาว เช่น ลูกพลับ สาลี่ ท้อ และลูกพรุน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก

3. การถนอมอาหารด้วยรังสี
การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาพลังงานสูงถึง 1.33 ล้านอิเล็กตรอนโวลท์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-60
ไปทำลายยีนส์และการรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บักเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลง ตายไปหรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้นรังสีจะทำให้อัตราการหายใจ
และกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป เป็นผลให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่ง และหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลงอีกด้วย กล่าวโดยสรุปคือ
การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี สามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้


การถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ แก่ผู้ผลิตและจำหน่าย อาหารและผลิตผลทางการเกษตร ดังนี้ 
ก) ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง, หอมใหญ่, กระเทียม, ขิง
ข) ชะลอการสุก : มะม่วง, มะละกอ
ค) ชะลอการบาน : เห็ด
ง) ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู, แหนม
จ) ลดบักเตรีและเชื้อรา : ปลาสด, เนื้อสด, กุ้งแช่แข็ง, เครื่องเทศ
ฉ) ควบคุมแมลง : ข้าว, ถั่วเขียว, ผลไม้แห้ง, ปลาแห้ง, มะขามหวาน
 
การใช้เทคนิครังสี เพื่อขยายพันธุ์สัตว์ และการเพิ่มอาหารผม อาหารเนื้อในโคและกระบือ การใช้เทคนิค ด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดิน
สำหรับการเกษตร การใช้เทคนิคนิวเคลียร์ วิเคราะห์ดิน เพื่อจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ศึกษา มีความเหมาะสม ต่อการปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
การใช้เทคนิคสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมธาตุ และปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุง การให้น้ำ และปุ๋ย อย่างมีประสิทธิภาพ

 

แหล่งที่มา


http://www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm

http://www.nst.or.th/article/notes01/article007.htm

http://www.nst.or.th/article/article0114.htm

http://www.nst.or.th/article/article0115.htm

 

นายธนรัตน์  กาล้อม  49662810 คณะสหเวชศาสตร์  สาขาวิชารังสีเทคนิค

น.ส.ประภาสิริ เกาะน้อย 49660595

การใช้รังสีในทางการเกษตร
 

ประเทศไทย เป็นประเทศที่มีการเกษตร เป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีนิวเคลียร์ เพื่อส่งเสริม กิจการเกษตร เป็นต้นว่า การเพิ่มผลผลิต การเพิ่มคุณภาพ และการรักษาสิ่งแวดล้อม กำลังได้รับความนิยมแพร่หลาย ไปสู่ชนบทมากขึ้นทั่วประเทศ
 
การปรับปรุงพันธุ์พืช โดยการกลายพันธุ์ (Mutation Breeding) ในประเทศไทยเรา ได้ใช้รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ปรับปรุงพันธุ์พืช ให้ได้พันธุ์ใหม่ พันธุ์พืชที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันมากกว่า 10 ชนิด คือ ข้าวพันธุ์ กข6, กข10, กข15 ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ เก๊กฮวย KU1 คาร์เนชั่น (ชัยชุมพล) เบญจมาศ พันธุ์ golden cremon และกล้วยหอมทอง KU1 (กรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect Technique) แมลงวันผลไม้ บนดอยอ่างขาง เชียงใหม่ (โดยสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตร)
การถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ แก่ผู้ผลิตและจำหน่าย อาหารและผลิตผลทางการเกษตร ดังนี้ 
ก) ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง, หอมใหญ่, กระเทียม, ขิง
ข) ชะลอการสุก : มะม่วง, มะละกอ
ค) ชะลอการบาน : เห็ด
ง) ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู, แหนม
จ) ลดบักเตรีและเชื้อรา : ปลาสด, เนื้อสด, กุ้งแช่แข็ง, เครื่องเทศ
ฉ) ควบคุมแมลง : ข้าว, ถั่วเขียว, ผลไม้แห้ง, ปลาแห้ง, มะขามหวาน
 
การใช้เทคนิครังสี เพื่อขยายพันธุ์สัตว์ และการเพิ่มอาหารผม อาหารเนื้อในโคและกระบือ การใช้เทคนิค ด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดิน สำหรับการเกษตร การใช้เทคนิคนิวเคลียร์ วิเคราะห์ดิน เพื่อจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ศึกษา มีความเหมาะสม ต่อการปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป การใช้เทคนิคสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมธาตุ และปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุง การให้น้ำ และปุ๋ย อย่างมีประสิทธิภาพ 
การปรับปรุงพันธุ์พืช
การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือนิวตรอน ฉายไปยังเซลล์ของพืชจะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทยมีการปรับปรุงพันธุ์พืชที่สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่างแพร่หลาย มากกว่า 10 ชนิด เช่น ข้าวจำนวน 3 พันธุ์ คือ พันธุ์ กข6, กข10 และ กข15 ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง
การทำหมันแมลง
วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลงให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้ ต่อมานำไปฉายรังสีแกมมา เพื่อให้เป็นหมัน แล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้ เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด 
ทางสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการกำจัดแมลงวันผลไม้ ในพื้นที่บริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลสำเร็จอย่างดียิ่ง ทำให้ผลผลิตของผลไม้เมืองหนาว เช่น ลูกพลับ สาลี่ ท้อ และลูกพรุน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก
การถนอมอาหารด้วยรังสี
การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาพลังงานสูงถึง 1.33 ล้านอิเล็กตรอนโวลท์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-60 ไปทำลายยีนส์และการรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บักเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลง ตายไปหรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้นรังสีจะทำให้อัตราการหายใจ และกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป เป็นผลให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่ง และหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลงอีกด้วย กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี สามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้


 
//แหล่งที่มา//    http://www.nst.or.th/article/notes01/article007.htm
                      http://www. yalor.yru.ac.th

 

ารใช้รังสีในกิจการอุตสาหกรรม
 
ได้มีการพัฒนา และนำเอาพลังงานนิวเคลียร์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทางด้านอุตสาหกรรม อย่างแพร่หลาย
สามารถ จำแนกออกเป็น 2 แบบ ตามวิธีการ ของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ คือ อุตสาหกรรมการฉายรังสี และการควบคุมการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรม ดังนี้ 
อุตสาหกรรมการฉายรังสี การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้าน การปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์ บางชนิดในอาหาร
 
1.การฉายรังสีอาหาร (food irradiation) ประเทศไทยเรามีศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ซึ่งเป็นโรงงานต้นแบบ ขึ้นอยู่กับสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เปิดเป็นทางการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 มีกัมมันภาพรังสี ตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ที่สำคัญ คือ เครื่องเทศ สมุนไพร ฝรั่ง ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ และกระเทียม เป็นต้น 
อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ได้ถูกนำมาใช้ ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรค ในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ อันได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ มีจำนวนมากกว่า 140 โรงงาน ใน 40 ประเทศ สำหรับประเทศไทย มีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน 5 แห่ง 
2.อุตสาหกรรมโพลีเมอร์ รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอน สามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยา ในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อน ที่ถูกอัดด้วยสารโมโนเมอร์ จะกลายเป็นสารโพลิเมอร์ ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับ ทำพื้นปาร์เก้ หรือท่อนไม้ ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสี เพื่อไปช่วยให้โมโนเมอร์ จับตัวกับโพลิเมอร์ เรียกว่าการต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติ มาฉายรังสี เพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสี เพื่อไปทำให้โพลิเมอร์ จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และเป็นผลให้ผลิตภัณฑ์ มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก และโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติ ที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกัน ของโพลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization) การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า “เทคนิคนิวเคลียร์” มาใช้ประโยชน์ ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลาย ในประเทศไทย ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมา วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- การใช้รังสีแกมมา วัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยาง ที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบเพื่อผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตา วัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษ ในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอน ในการสำรวจแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
- การใช้รังสีแกมมา ตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว รอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมา วัดหาปริมาณเถ้า ในถ่านหินบนสายพานลำเลียง
การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า “เทคนิคนิวเคลียร์” มาใช้ประโยชน์ ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลาย ในประเทศไทย ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมา วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- การใช้รังสีแกมมา วัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยาง ที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบเพื่อผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตา วัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษ ในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอน ในการสำรวจแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
- การใช้รังสีแกมมา ตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว รอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมา วัดหาปริมาณเถ้า ในถ่านหินบนสายพานลำเลียง


//แหล่งที่มา //www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm

 

น.ส. ประภาสิริ   เกาะน้อย  496628100 คณะสหเวชศาสตร์  สาขาวิชารังสีเทคนิค

น.ส. ประภาสิริ เกาะน้อย 49660595

การใช้รังสีในทางการเกษตร
 

ประเทศไทย เป็นประเทศที่มีการเกษตร เป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีนิวเคลียร์ เพื่อส่งเสริม กิจการเกษตร เป็นต้นว่า การเพิ่มผลผลิต การเพิ่มคุณภาพ และการรักษาสิ่งแวดล้อม กำลังได้รับความนิยมแพร่หลาย ไปสู่ชนบทมากขึ้นทั่วประเทศ
 
การปรับปรุงพันธุ์พืช โดยการกลายพันธุ์ (Mutation Breeding) ในประเทศไทยเรา ได้ใช้รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ปรับปรุงพันธุ์พืช ให้ได้พันธุ์ใหม่ พันธุ์พืชที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันมากกว่า 10 ชนิด คือ ข้าวพันธุ์ กข6, กข10, กข15 ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ เก๊กฮวย KU1 คาร์เนชั่น (ชัยชุมพล) เบญจมาศ พันธุ์ golden cremon และกล้วยหอมทอง KU1 (กรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect Technique) แมลงวันผลไม้ บนดอยอ่างขาง เชียงใหม่ (โดยสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตร)
การถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ แก่ผู้ผลิตและจำหน่าย อาหารและผลิตผลทางการเกษตร ดังนี้ 
ก) ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง, หอมใหญ่, กระเทียม, ขิง
ข) ชะลอการสุก : มะม่วง, มะละกอ
ค) ชะลอการบาน : เห็ด
ง) ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู, แหนม
จ) ลดบักเตรีและเชื้อรา : ปลาสด, เนื้อสด, กุ้งแช่แข็ง, เครื่องเทศ
ฉ) ควบคุมแมลง : ข้าว, ถั่วเขียว, ผลไม้แห้ง, ปลาแห้ง, มะขามหวาน
 
การใช้เทคนิครังสี เพื่อขยายพันธุ์สัตว์ และการเพิ่มอาหารผม อาหารเนื้อในโคและกระบือ การใช้เทคนิค ด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดิน สำหรับการเกษตร การใช้เทคนิคนิวเคลียร์ วิเคราะห์ดิน เพื่อจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ศึกษา มีความเหมาะสม ต่อการปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป การใช้เทคนิคสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมธาตุ และปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุง การให้น้ำ และปุ๋ย อย่างมีประสิทธิภาพ 
การปรับปรุงพันธุ์พืช
การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือนิวตรอน ฉายไปยังเซลล์ของพืชจะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทยมีการปรับปรุงพันธุ์พืชที่สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่างแพร่หลาย มากกว่า 10 ชนิด เช่น ข้าวจำนวน 3 พันธุ์ คือ พันธุ์ กข6, กข10 และ กข15 ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง
การทำหมันแมลง
วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลงให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้ ต่อมานำไปฉายรังสีแกมมา เพื่อให้เป็นหมัน แล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้ เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด 
ทางสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการกำจัดแมลงวันผลไม้ ในพื้นที่บริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลสำเร็จอย่างดียิ่ง ทำให้ผลผลิตของผลไม้เมืองหนาว เช่น ลูกพลับ สาลี่ ท้อ และลูกพรุน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก
การถนอมอาหารด้วยรังสี
การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาพลังงานสูงถึง 1.33 ล้านอิเล็กตรอนโวลท์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-60 ไปทำลายยีนส์และการรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บักเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลง ตายไปหรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้นรังสีจะทำให้อัตราการหายใจ และกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป เป็นผลให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่ง และหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลงอีกด้วย กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี สามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้


 
//แหล่งที่มา//    http://www.nst.or.th/article/notes01/article007.htm
                      http://www. yalor.yru.ac.th

 

ารใช้รังสีในกิจการอุตสาหกรรม
 
ได้มีการพัฒนา และนำเอาพลังงานนิวเคลียร์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทางด้านอุตสาหกรรม อย่างแพร่หลาย
สามารถ จำแนกออกเป็น 2 แบบ ตามวิธีการ ของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ คือ อุตสาหกรรมการฉายรังสี และการควบคุมการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรม ดังนี้ 
อุตสาหกรรมการฉายรังสี การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้าน การปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์ บางชนิดในอาหาร
 
1.การฉายรังสีอาหาร (food irradiation) ประเทศไทยเรามีศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ซึ่งเป็นโรงงานต้นแบบ ขึ้นอยู่กับสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เปิดเป็นทางการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 มีกัมมันภาพรังสี ตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ที่สำคัญ คือ เครื่องเทศ สมุนไพร ฝรั่ง ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ และกระเทียม เป็นต้น 
อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ได้ถูกนำมาใช้ ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรค ในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ อันได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ มีจำนวนมากกว่า 140 โรงงาน ใน 40 ประเทศ สำหรับประเทศไทย มีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน 5 แห่ง 
2.อุตสาหกรรมโพลีเมอร์ รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอน สามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยา ในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อน ที่ถูกอัดด้วยสารโมโนเมอร์ จะกลายเป็นสารโพลิเมอร์ ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับ ทำพื้นปาร์เก้ หรือท่อนไม้ ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสี เพื่อไปช่วยให้โมโนเมอร์ จับตัวกับโพลิเมอร์ เรียกว่าการต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติ มาฉายรังสี เพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสี เพื่อไปทำให้โพลิเมอร์ จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และเป็นผลให้ผลิตภัณฑ์ มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก และโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติ ที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกัน ของโพลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization) การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า “เทคนิคนิวเคลียร์” มาใช้ประโยชน์ ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลาย ในประเทศไทย ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมา วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- การใช้รังสีแกมมา วัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยาง ที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบเพื่อผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตา วัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษ ในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอน ในการสำรวจแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
- การใช้รังสีแกมมา ตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว รอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมา วัดหาปริมาณเถ้า ในถ่านหินบนสายพานลำเลียง
การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า “เทคนิคนิวเคลียร์” มาใช้ประโยชน์ ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลาย ในประเทศไทย ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมา วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- การใช้รังสีแกมมา วัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยาง ที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบเพื่อผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตา วัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษ ในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอน ในการสำรวจแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
- การใช้รังสีแกมมา ตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว รอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมา วัดหาปริมาณเถ้า ในถ่านหินบนสายพานลำเลียง


//แหล่งที่มา //www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm

 

น.ส. ประภาสิริ   เกาะน้อย  49660595 คณะสหเวชศาสตร์  สาขาวิชารังสีเทคนิค

นางสาวธารารัตน์ สมชื่อ รหัสนิสิต 49662025

ประโยชน์ของรังสีในกิจการต่าง ๆ ในประเทศไทย
 กิจการอุตสาหกรรม
      การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์"
เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในกิจการต่าง ๆ ดังนี้

1. ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
2. ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
3. ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
4. วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
5. วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
6. วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
7. ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
8. วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
9. ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
10. ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
11. ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
12. ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch
module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85
13. ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive
Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
14. ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
15. ใช้ทำสีเรืองแสง
16. ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า
17. การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron
activation and x-ray fluorescence analysis)
18. การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ

 

ด้านการเกษตร ชีววิทยาและอาหาร
 ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมกิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่มมากขึ้น   สำหรับประโยชน์ของรังสีด้านเกษตรกรรมมีดังนี้

1. การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษา
เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
2. เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืช
เศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
3. การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุใน
ภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
4. การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
5. การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการ
ขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
6. การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
7. การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
8. การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบ
ศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
9. การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced
Mutation) เช่น
 1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ
 2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
 3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
 4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม

 10.การศึกษาการใช้รังสีแกมมาเพื่อผลผลิตไหมไทยพันธุ์นางเหลือง โดยการฉายรังสีแกมมากับไข่ไหม
ที่สำนักพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ แล้วทำการเลี้ยง และศึกษาคัดเลือกที่ศูนย์วิจัยหม่อนไหม ศรีสะเกษ จนถึงรุ่นที่ 8 พบว่าปริมาณรังสีที่เหมาะสมสำหรับการปรับปรุงผลผลิตอยู่ระหว่าง 1.5-2.5 เกรย์ ทำให้รังไหมมีเปอร์เซ็นต์เปลือกรังเพิ่มขึ้น 80.62 และ 60.10 เปอร์เซ็นต์ ขนาดเส้นของใยไหมเพิ่มขึ้น 11.56 และ 7.37 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ
 
   ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่มีอากาศร้อน ผลเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเน่าเสียจุลินทรีย์และพยาธิที่ก่อให้เกิดโรค รวมทั้งการทำลายของแมลงที่เกิดขึ้นกับผลผลิตการเกษตร มีปริมาณร้อยละ 30 สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมได้จัดตั้งโรงงานฉายรังสี อาหารและผลิตผลทางการเกษตรประเภทเอนกประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว และเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันระหว่างรัฐบาล อุตสาหกรรม และผู้บริโภค ในอันที่จะสร้างตลาดอาหารฉายรังสีภายในประเทศและต่างประเทศ โรงงานฉายรังสีอาหารซึ่งมีความแรงของรังสีเริ่มต้น 450,000 คูรี

 

ที่มา: www.googil.com  ประโยชน์ของรังสี                 6  พฤศจิกายน 2550 
  http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm    

 

น.ส.ปรารถนา ปันพวง รหัสนิสิต 49660601

* รังสีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมอย่างไรบ้าง?
ประโยชน์ของรังสีมีหลายๆ ด้านด้วยกันถ้าเราเลือกที่จะใช้มันอย่างถูกวิธี และรู้จักวิธีการป้องกันอย่างถูกต้อง
 1. ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม
- ด้านน้ำมันปิโตรเลียม หรือแหล่งแร่ธาติ ต่างๆ   คือ   การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)
 คือ วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม ,ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า
- ด้านอุตสาหกรรมรถยนต์  คือ   ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
- ด้านอัญมณี หรือเครื่องแก้ว รวมทั้ง อุตสาหกรรมแร่    คือ  วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน, ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
,ใช้เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ในการเปลี่ยนสี หรือขัดผิวเพชร,ทำหลอดแก้วที่ใช้บรรจุ ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
- ด้านภาพยนตร์  ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ 
- ด้านอุตสาหกรรมการไฟฟ้า คือ  ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85 - ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
- ด้านอุตสาหกรรมกระดาษ ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
- ด้านอุตสาหกรรมเครื่องมือเวชภัณฑ์  โดยมีการใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ
 2. ประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรม
  อาหารและการกิน เป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีพของมนุษย์ อาหารส่วนหนึ่งที่มนุษย์ใช้บริโภคได้มาจากพืช
ทั้งล้มลุกและยืนต้น ซึ่งจำเป็นต้องใช้แสงอาทิตย์ (พลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็ไฟฟ้า) ในการสังเคราะห์แสง
เพื่อการเจริญเติบโต ในการผลิตและเก็บรักษาอาหารไว้บริโภคมนุษย์ก็รู้จักใช้คลื่นแสงในการทำแห้ง ใช้คลื่น
ความร้อน (อินฟราเรด) ในการอบและย่าง และใช้คลื่นไมโคร (ไมโครเวฟ) ในการอุ่นหรือหุงต้ม เหล่านี้ล้วนแต่
เป็นการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งสิ้นซึ่งมีอยู่รอบตัวเรา การฉายรังสีอาหารก็เป็นการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เช่นเดียวกัน แต่เป็นคลื่นที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าและความถี่สูงกว่า
การฉายรังสีอาหารเป็นเทคโนโลยีค่อนข้างใหม่ แม้ว่าจะได้มีการศึกษาวิจัยอย่างกว้างขวาง และ
มากกว่าเทคโนโลยีอื่นใดที่ใช้ในการผลิตและเก็บรักษาอาหาร การนำมาใช้ประโยชน์ก็ยังอยู่ในวงจำกัดไม่เป็น
ที่แพร่หลายนัก จนกระทั่งในระยะ 10 ปีที่ผ่านมานี้เองที่การใช้เริ่มขยายวงกว้างขึ้นเป็น 29 ประเทศ จาก 40
ประเทศ ที่มีกฎหมายอนุญาตให้ฉายรังสีอาหารได้ ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าการฉายรังสีเป็นเทคโนโลยีที่ได้รับ
การพิสูจน์แล้วว่า
 *ปลอดภัย กล่าวคือ องค์การอนามัยโลก องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ และ
ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ได้สรุปผลการทดสอบความปลอดภัยของอาหารฉายรังสี ในปี
พ.ศ. 2523 ว่าอาหารใด ๆ ก็ตามที่ผ่านการฉายรังสีในปริมาณเฉลี่ยไม่เกิน 10 กิโลเกรย์ ไม่ก่อให้เกิดโทษ
อันตราย
 * มีประสิทธิภาพในการทำลายเชื้อโรค พยาธิและแมลง จึงเหมาะที่จะนำมาใช้บรรเทาปัญหา
โรคติดเชื้อจากอาหาร
 *สามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของแมลง ควบคุมการงอกและชะลอการสุก การเน่าเสียของ
ผลิตผลการเกษตรบางชนิด จึงมีส่วนดีในด้านการลดการสูญเสียของอาหารเพื่อบรรเทาปัญหาการขาดแคลน
ของอาหาร แม้ว่าจะมีการใช้เพิ่มมากขึ้นในหลายก็ตามแต่ชนิดและปริมาณการผลิตของอาหารฉายรังสียังมี
ไม่มากเท่าที่ควร
 - ลดการสูญเสียของอาหาร สามารถรักษาระดับราคาไม่ให้แตกต่างกันมากนักทั้งในฤดูและนอก
ฤดูการผลิต
 - เสริมสร้างหลักประกันด้านความสะอาดปลอดภัยจากเชื้อโรค พยาธิ และสารเคมี ทำให้สุขภาพ
อนามัยของประชาชนดีขึ้นเป็นผลดีทางด้านสาธารณสุขมูลฐาน
 -  ยืดอายุการเก็บรักษาและการวางตลาด ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง เช่น ใช้ทางเรือหรือ
รถยนต์แทนทางเครื่องบิน และค่าใช้จ่ายจากการที่อาหารต้องเน่าเสียไปก่อนเวลาอันควรนับว่าเป็นประโยชน์ต่อ
ผู้ผลิต ผู้ขายปลีก และผู้บริโภคเพราะต้นทุนถูกลง
 -  ประหยัดพลังงาน พลังงานจากการฉายรังสีที่ 10 กิโลเกรย์ เทียบได้เท่ากับพลังงานจากความร้อน
ที่ใช้ในการทำให้อุณหภูมิของน้ำสูงขึ้นเพียง 2.4 องศาเซลเซียส เท่านั้น
 - ไม่ทำให้คุณลักษณะภายนอกเปลี่ยนแปลง ก่อนฉายรังสีเป็นอย่างไร หลังฉายรังสีก็เป็นเช่นนั้น
สดเหมือนเดิม
 - ขยายตลาดการค้า สามารถส่งไปจำหน่ายในท้องที่ห่างไกลจากแหล่งผลิตได้มากขึ้น
 -  ทำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพเป็นไปตามกำหนดมาตรฐาน เป็นการส่งเสริมการส่งออก
 -  ลดปัญหาการถูกกักกัน ทำให้ภาพพจน์ของสินค้าดีขึ้น
 -  ปรับปรุงคุณสมบัติทางเทคนิคของอาหารทำให้ได้ผลผลิต (ยีลด์) สูงขึ้น
และเรายังใช้รังสีในด้านอื่นๆ ในการเกษตรกรรม  เช่น
 - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
  - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
 - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบ ศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
 - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation)  เช่น
 1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอม เหมือนข้าวขาวมะลิ
 2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
 3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
 4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม


แหล่งที่มาจาก www.np.ac.th

www.202.143.141.162/web offline/nucleus.story6.html

 

นางสาว ฉัตรนภา นันตื้อ รหัสนิสิต 49662797
ประโยชน์ของรังสีในงานอุตสาหกรรม-         การปลอดเชื้อผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์โดยใช้รังสีแกมม่า -         การตรวจสอบโครงสร้างภายในอุปกรณ์ และกระบวนการผลิตของโรงงานปิโตรเลียม และปิโตรเคมี-         วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณปาปริมาณแร่ที่ดูด-         ใช้เป็นเครื่องกำจัดประจุไฟฟ้าสถิตบนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนต์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ -         ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์-         ใช้วัดระดับของของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสี แกมมา-         ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันใต้ดิน ความชื้นในดิน ด้วยรังสีนิวตรอน-         ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์-         วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน-         ใช้วัดหาปริมาณเถ้าของลิกไนต์-         ใช้ทำสีเรืองแสง-         ควบคุมขบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความหนาสม่ำเสมอ-         วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ ประโยชน์ของรังสีในงานเกษตรกรรม-         การทำน้ำมันยางวัลคาไนซ์-         การทำหมันแมลง-         การถนอมผลผลิตทางการเกษตร เช่น พวกพืชผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ โดยการฉายรังสี เพื่อให้เก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกล-         การใช้รังสีฉายพันธุ์พืช เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ให้ได้พันธุ์พืชที่มีผลผลิตสูงกว่า โตเร็วกว่า-         การวิเคราะห์ดินโดยเทคนิคทางนิวเคลียร์ เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป-         การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค-         การเอาพลังงานปรมาณูมาใช้ฉายพันธุ์พืช เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม(Induced Mutation) เช่นก. ข้าวขาวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์ มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนขาวขาวมะลิข. ข้าวพันธุ์ กข15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 105ค. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่าง. ถั่วเหลือง ที่มีพันธุ์ทนทานต่อรา สนิม(Rust)- เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสีใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุ และปุ๋ยดดยต้นไม้และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น- การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืช ซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย ที่มา  http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/atom/nuclear1.htm         http://th.wikipedia.org/wiki/พลังงานนิวเคลียร์
นายคมศักดิ์ กุลคง รหัสนิสิต 49661929

รังสีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมได้อย่างไร
 
1.ทางการอุตสาหกรรม
 - ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
 - ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
 - ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
 - วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
 - วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
 - วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
 - ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
 - วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
 - ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
 - ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
 - ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
 - ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch
module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85
 - ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive
Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
 - ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
 - ใช้ทำสีเรืองแสง
 - ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า
 - การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron
activation and x-ray fluorescence analysis)
 - การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด
ถุงมือ

2.ทางเกษตรกรรม
 - การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษา
เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบชนิดใดลงไป
 - เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืช
เศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุใน
ภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
 - การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
 - การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการ
ขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
 - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
 - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
 - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบ
ศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
 - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced
Mutation) เช่น
 1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอม
 เหมือนข้าวขาวมะลิ
 2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า
 และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
 3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
 4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม

แหล่งที่มา

http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htmhttp://202.143.141.162/web_offline/nucleus/choice3.htm 

 

น.ส.หัสยา เมืองเขียว รหัสนิสิค 49661523

เนื่องจากในปัจจุบันนี้รังสีมีหลายชนิด ซึ่งได้แต่รังสีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น terrestrial  radiation    cosmic  radiotion  และ  biologic  radiotion  และที่สำคัญอีกชนิด คือ รังสีที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น  รังสีเอ็กซ์  รังสีแกรมม่า  รังสีแอลฟ่า  รังสีเบต้า  เป็นต้น รังสีที่นำมาใช้ประโยชน์มากที่สุด  คือ รังสีแกรมม่า  จากรังสีที่กล่าวมาข้างต้น  สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทั้งทางการแพทย์  อุตสาหกรรม  การเกษตรและงานวิจัยต่างๆ ดังนี้

สำหรับด้านการอุตสาหกรรม ดังต่อไปนี้

1.การวัดระดับ ได้แก่ 

- โรงงานทอผ้า โดยการใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่างๆในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกรมมา

-ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง  ภายใต้ความดันโลหิตสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบร้อยด้วยรังสีแกรมมา

- ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์และเถ้า

- โรงงานพลาสติก

2.การวัดความหนาแน่น ได้แก่

-วัดคามหนาแน่นของนำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ

- ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์

- วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน

- วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่ใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน

3. การสำรวจหลุมเจาะ เพื่อเสาะหาแร่  เช่น ใช้ในการสำรวจน้ำมันดิบ  ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้ยรังสีนิวตรอน

4.การวัดความหนาและปริมาณ ได้แก่

- ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้ให้มีคามสม่ำเสมอ

- วัดหาปริมาณสารตะกั่วหรือธาตุกำมะถันในการผลิตน้ำมันปิโตรเลียม

- ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ

- ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในปูนซีเมนต์

5.การฉายรังสีเวชภัณฑ์ ได้แก่  เข็มฉีดยา  ถุงมือ  มีดผ่าตัด และยารักษาโรค

- การใช้รังสีแกรมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครืองมือเวชภัณฑ์  เช่น  กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด  และถุงมือ

6. อื่นๆ ได้แก่

- ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิลม์ ฟิลม์ภาพยนตร์  หลอดแก้วบรรจุผลิตภัณฑ์เวชภัณฑ์ต่างๆ

- ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC , Semiconductor ,Watch module ต่างๆ ด้ยก๊าชคริปตรอน - 85

- ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นเนื้อ(non - Destructive  Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-ray ,Gramma rays และ neutron radiography

- การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์  สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray  fluorescence  analysis)

- ใช้รังสีเอ็กซ์ในการศึกษาโครงสร้างของผลึก

- ใช้รังสีแอลฟ่า  เป็นส่วนประกอบของอุปกรณ์สายล่อฟ้า (Am -241 ,Ra-226)

- ทำอุปกรณ์กำจัดฝุ่นละอองในผลิตภัณฑ์(Po- 210)โดยรังสีแอลฟ่า

- ใช้รังสีแอลฟ่าในการเป็นส่วนประกอบของอุปกรณ์ตรวจสอบควันไฟ (Am-241)  ฯลฯ

                                                 

ประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรม

1. การปรับปรุงพันธุ์พืช(Mutation Breeding) มีดังต่อไปนี้

- ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี  มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอม เหมือนข้าวขาวมะลิ

- ข้าวพันธุ์ กข 15 ชึ่งได้มาจากการฉายรังสีของข้าวขาวมะลิ 105

- ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า

- ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ ที่มีความทนต่อราสนิม

- กล้วยหอมทอง KU1

2.การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect technique) เช่น กำจัดแมลงวันผลไม้บนดอยอ่างขาง ที่ จังหวัดเชียงใหม่    

- การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีการอาบรังสี  วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช  ยาฆ่าแมลง  ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค

3. การถนอมอาหาร (Food  Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลทางการเกษตรของสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ  ได้ให้บริการดังนี้

ก. ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง  ,หอมใหญ่ , กระเทียม , ขิง

ข. ชะลอการสูข : มะม่วง , มะละกอ

ค. ชะลอการบาน : เห็ด

ง.ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู ,แหนม

จ. ลดแบคทีเรียและเชื้อรา : ปลาสด , เนื้อสด, กุ้งแข่แข็ง , เครื่องเทศ

ฉ. ควบคุมแมลง: ข้าว , ถั่วเขียว , ผลไม้แห้ง , ปลาแห้ง , มะขามหวาน

ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ผ่านการฉายรังสีมาแล้วนั้นจะไม่มีรังสีตกค้างอยู่เลย  ทังนี้เนื่องจากรังสีแกรรมมาที่นำมาใช้ จะไม่แตกตัวและไม่ทำให้ตัวกลางกลายเป็นรังสีแต่อย่างใด ดังนั้นอาหารที่ผ่านการฉายรังสีจึงปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค

4.การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เล้ยงและการเพิ่มอาหารนม  อาหารเนื้อในโคและกระบือ

5.การนำเอาเทคนิครังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะแสวงหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร

ที่มา

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=77846

http://www.skn.ac.th/sk/project/nemo/ppf63.htm

นางสาว หัสยา   เมืองเขียว  รหัสนิสิต 49661523  นิสิตรังสีเทคนิคชั้นปีที่ 2

น.ส.สุภาพร คำพ้อง รหัสนิสิต 49662919
คำถาม : รังสีมีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมอย่างไรบ้างคำตอบ : ประโยชน์ของรังสีในทางอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์" เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย ในกิจการต่าง ๆ ดังนี้ - ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา - ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา - ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์ - วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ - วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน - วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน - ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ - วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม - ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์ - ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ - ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ - ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85 - ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography - ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน - ใช้ทำสีเรืองแสง - ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า - การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis) - การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ

ประโยชน์ของรังสีในทางการเกษตร ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริม กิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่ม มากขึ้น - การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษา เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบชนิดใดลงไป - เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับแร่การดูดซึมของธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืช เศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุใน ภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย - การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน (Sterile Insect technique) เช่น กำจัดแมลงวันผลไม้บนดอยอ่างขาง จ.เชียงใหม่ - การถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการ ขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล ทางศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรของสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ ดังนี้
. ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง , หอมใหญ่ , กระเทียม , ขิง
. ชะลอการสุก : มะม่วง , มะละกอ
. ชะลอการบาน : เห็ด
. ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู , แหนม
. ลดแบคทีเรียและเชื้อรา : ปลาสด ,เนื้อสด , กุ้งแช่แข็ง , เครื่องเทศ
. ควบคุมแมลง : ข้าว,ถั่วเขียว ,ผลไม้แห้ง ,ปลาแห้ง ,มะขามหวาน
ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ผ่านการฉายรังสีมาแล้วนั้นจะไม่มีรังสีตกค้างอยู่เลย ทั้งนี้เนื่องจากรังสีแกมมาที่นำมาใช้ จะไม่แตกตัวและไม่ทำให้ตัวกลางกลายเป็นรังสีแต่อย่างใด ดังนั้นอาหารที่ผ่านการฉายรังสี จึงปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค
- การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบ ศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation) เช่น 1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอม เหมือนข้าวขาวมะลิ 2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15 3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า 4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม - การศึกษาการใช้รังสีแกมมาเพื่อผลผลิตไหมไทยพันธุ์นางเหลือง โดยการฉายรังสีแกมมากับไข่ไหม ที่สำนักพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ แล้วทำการเลี้ยง และศึกษาคัดเลือกที่ศูนย์วิจัยหม่อนไหม ศรีสะเกษ  แหล่งที่มา :http://www.np.ac.th/NP/Elearning/Scince1/Data/CHP2.ppt (ค้นคว้าเมื่อวันที่ 12 เดือนพฤษจิกายน พ.ศ.2550)http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm  (ค้นคว้าเมื่อวันที่ 12 เดือนพฤษจิกายน พ.ศ.2550)http://www.oknation.net/blog/print.php?id=77864  (ค้นคว้าเมื่อวันที่ 12 เดือนพฤษจิกายน พ.ศ.2550)

 

นางสาวทิมาพร เสือครุธ รหัสนิสิต 49660410
ประโยชน์ของรังสี                   ทางเกษตรรังสีแกมมาจากเครื่องฉายรังสีโคบอลท์ - 60 สามารถนำ         ไปใช้ในการถนอมอาหาร เช่น-          การยืดอายุการเก็บของอาหารทะเลและเนื้อสัตว์-           การชะลอการสุกของผลไม้ การยับยั้งการงอกของมันฝรั่งและหอมหัวใหญ่-           การทำลายจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคและผลิตสารพิษในอาหาร -          ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช-           การฆ่าแมลงที่ทำลายพืชและผลิตผลทางการเกษตร                  

                   ทางอุตสาหกรรม

-          มีการใช้รังสีฆ่าจุลินทรีย์ในอุปกรณ์การรักษาพยาบาลเพื่อให้ปลอดเชื้อ-           ปรับปรุงคุณภาพของไม้โดยการฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่อาบพลาสติกให้เป็นไม้เนื้อแข็ง-           วัดความหนาแน่นของกระดาษและพลาสติก -          วัดความหนาแน่นของโลหะเคลือบผิว-           วัดความหนาของโลหะ -          วัดระดับถ่านหินในหอเก็บถ่านหินของ อุตสาหกรรมเหล็ก -          วัดปริมาณกำมะถันในน้ำมันดิบ -          การวิเคราะห์หาความเข้มข้นของแร่ธาตุบางชนิดในตัวอย่างแร่ ก็สามารถใช้วิธีการทางนิวเคลียร์ที่เรียกว่า เอกซเรย์ฟลูโอเรสเซนส์ (X-ray fluorescence)-          การขจัดประจุไฟฟ้าสถิตบนฟิล์ม เพื่อลดการจับของฝุ่นละอองบนฟิล์ม  -          การขูดแร่  ใช้รังสีแกมมาช่วยวัดความหนาแน่นของวัตถุที่ดูดขึ้นมาเพื่อนำข้อมูลมาคำนวณหาปริมาณดินที่ขูดขึ้นมา-          การผลิตยางรถยนต์ มีการใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีบีตาที่แผ่ออกจากวัสดุกัมมันตรังสี-            การขุดอุโมงค์ใต้ดิน บางครั้งก็ต้องใช้เทคนิคการฉีดน้ำโคลนเข้าไป โดยที่น้ำโคลนที่ฉีดนั้นจะต้องมีความเข้มข้นคงที่ขนาดหนึ่ง ซึ่งการควบคุมความเข้มข้นของน้ำโคลนที่ไหลผ่านท่อเหล็กนั้นต้องใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากวัสดุกัมมันตรังสีช่วย วิธีการแบบนี้ก็ใช้แล้วในเมืองไทย -          ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC-          ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ           -      การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)            -       ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์ ที่มา       http://km.oaep.go.th/vlibrary/Docdetail.aspx?DocID=77http://www.acfs.go.th/news.php?page=17&ptab=2&ntype=09&yy=&mm=&dd=http://www.psu.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=45&Itemid=0

 

นางสาวทิมาพร เสือครุธ รหัสนิสิต 49660410
ประโยชน์ของรังสี ทางเกษตร รังสีแกมมาจากเครื่องฉายรังสีโคบอลท์ - 60 สามารถนำ ไปใช้ในการถนอมอาหาร เช่น - การยืดอายุการเก็บของอาหารทะเลและเนื้อสัตว์ - การชะลอการสุกของผลไม้ การยับยั้งการงอกของ มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่ - การทำลายจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคและผลิตสารพิษในอาหาร - ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช - การฆ่าแมลงที่ทำลายพืชและผลิตผลทางการเกษตร ทางอุตสาหกรรม - มีการใช้รังสีฆ่าจุลินทรีย์ในอุปกรณ์การรักษาพยาบาลเพื่อให้ปลอดเชื้อ - ปรับปรุงคุณภาพของไม้โดยการฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่อาบพลาสติกให้เป็นไม้เนื้อแข็ง - วัดความหนาแน่นของกระดาษและพลาสติก - วัดความหนาแน่นของโลหะเคลือบผิว - วัดความหนาของโลหะ - วัดระดับถ่านหินในหอเก็บถ่านหินของ อุตสาหกรรมเหล็ก - วัดปริมาณกำมะถันในน้ำมันดิบ - การวิเคราะห์หาความเข้มข้นของแร่ธาตุบางชนิดในตัวอย่างแร่ ก็สามารถใช้วิธีการทางนิวเคลียร์ที่เรียกว่า เอกซเรย์ฟลูโอเรสเซนส์ (X-ray fluorescence) - การขจัดประจุไฟฟ้าสถิตบนฟิล์ม เพื่อลดการจับของฝุ่นละอองบนฟิล์ม - การขูดแร่ ใช้รังสีแกมมาช่วยวัดความหนาแน่นของวัตถุที่ดูดขึ้นมาเพื่อนำข้อมูลมาคำนวณหาปริมาณดินที่ขูดขึ้นมา - การผลิตยางรถยนต์ มีการใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีบีตาที่แผ่ออกจากวัสดุกัมมันตรังสี - การขุดอุโมงค์ใต้ดิน บางครั้งก็ต้องใช้เทคนิคการฉีดน้ำโคลนเข้าไป โดยที่น้ำโคลนที่ฉีดนั้นจะต้องมีความเข้มข้นคงที่ขนาดหนึ่ง ซึ่งการควบคุมความเข้มข้นของน้ำโคลนที่ไหลผ่านท่อเหล็กนั้นต้องใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากวัสดุกัมมันตรังสีช่วย วิธีการแบบนี้ก็ใช้แล้วในเมืองไทย - ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC - ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ - การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis) - ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์ ที่มา http://km.oaep.go.th/vlibrary/Docdetail.aspx?DocID=77 http://www.acfs.go.th/news.php?page=17&ptab=2&ntype=09&yy=&mm=&dd= http://www.psu.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=45&Itemid=0
น.ส.เบญจรัตน์ เกตุนิล
รังสีสามารถใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมดังต่อไปนี้
1. อุตสาหกรรมด้านพลังงาน
    - อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการผลิตเรือสินค้า  เรือเดินสมุทร  เรือตัดน้ำแข็ง เรือดำน้ำที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์
    - อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
2. อุตสาหกรรมการฉายรังสี
        การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ  เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา  และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ  การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร   โดยมีตัวอย่างดังนี้
    2.1 อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์
          รังสีแกมมาจากไอโซโทป  Co-60  ได้นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์  ได้แก่  เวชภัณฑ์  เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ  
    2.2 อุตสาหกรรมพอลิเมอร์
          รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนสามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกพอลิเมอร์ต่าง ๆ เช่น การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่ถูกอัดด้วยสาร  monomer  จะทำให้กลายเป็นสาร polymer ที่มีความแข็งมากขึ้น  ใช้สำหรับทำพื้นปาร์เกต์หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง    
3. การตรวจวัดและควบคุมโดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม
    การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า  "เทคนิคนิวเคลียร์" มาใช้ประโยชน์ในระบบตรวจวัดและควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม  ปัจจุบัน มีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย มีตัวอย่างคือ
    - การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบ  เพื่อการผลิตยางรถยนต์
    - การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ  ที่ได้จากต้นกำเนิดรังสี Kr-85 เพื่อวัดความหนา ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายในกระบวนการผลิต    
    - การใช้รังสีเอกซ์วัดหาประมาณตะกั่ว  และกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
    - การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
รังสีสามารถใช้ประโยชน์ในทางเกษตรกรรมดังต่อไปนี้
1.  การปรับปรุงพันธุ์พืช
    การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา  หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช  จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก  มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า  เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ  ได้แก่  ข้าว  เก๊กฮวย  คาร์เนชัน  เบญจมาศ  พุทธรักษา  ปทุมมา  และกล้วยหอมทอง
2. การทำหมันแมลง
    วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช  โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (sterile insect technology : SIT)  เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลง ให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้  ต่อมานำดักแด้ไปฉายรังสีแกมมา  เพื่อให้เป็นหมันแล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง  การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้  เป็นการลดการขยายพันธุ์ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดหรือหมดไปในที่สุด การควบคุมจำนวนของแมลงโดยวิธีทำหมันด้วยรังสีนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด  ไม่มีผลต่อแมลงชนิดอื่นที่เป็นประโยชน์  เช่น ผึ้ง  ผีเสื้อ และแมลงปอ  ส่งผลให้จำนวนผลผลิตเพิ่มมากขึ้นด้วย
3. การถนอมอาหารด้วยรังสี
    การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น  รังสีแกมมาที่ให้พลังงานสูง  หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอนพลังงานสูง ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต  เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลงตายหรือเป็นหมันได้  สำหรับในพืชนั้นรังสีจะทำให้อัตราการหายใจและการบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป  ทำให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลง กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิและแมลง  ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้

http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter8/t27-8-l2.htm (12/11/50)
http://www.clinictech.most.go.th/Nuke/html/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&p=1440  (12/11/50)
www.gpo.or.th/rdi/html/preserve_food.html  (12/11/50)
น.ส.เบญจรัตน์ เกตุนิล รหัสนิสิต 49662858
รังสีสามารถใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมดังต่อไปนี้
1. อุตสาหกรรมด้านพลังงาน
    - อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการผลิตเรือสินค้า  เรือเดินสมุทร  เรือตัดน้ำแข็ง เรือดำน้ำที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์
    - อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
2. อุตสาหกรรมการฉายรังสี
        การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ  เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา  และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ  การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร   โดยมีตัวอย่างดังนี้
    2.1 อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์
          รังสีแกมมาจากไอโซโทป  Co-60  ได้นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์  ได้แก่  เวชภัณฑ์  เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ  
    2.2 อุตสาหกรรมพอลิเมอร์
          รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนสามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกพอลิเมอร์ต่าง ๆ เช่น การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่ถูกอัดด้วยสาร  monomer  จะทำให้กลายเป็นสาร polymer ที่มีความแข็งมากขึ้น  ใช้สำหรับทำพื้นปาร์เกต์หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง    
3. การตรวจวัดและควบคุมโดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม
    การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า  "เทคนิคนิวเคลียร์" มาใช้ประโยชน์ในระบบตรวจวัดและควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม  ปัจจุบัน มีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย มีตัวอย่างคือ
    - การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบ  เพื่อการผลิตยางรถยนต์
    - การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ  ที่ได้จากต้นกำเนิดรังสี Kr-85 เพื่อวัดความหนา ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายในกระบวนการผลิต    
    - การใช้รังสีเอกซ์วัดหาประมาณตะกั่ว  และกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
    - การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
รังสีสามารถใช้ประโยชน์ในทางเกษตรกรรมดังต่อไปนี้
1.  การปรับปรุงพันธุ์พืช
    การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา  หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช  จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก  มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า  เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ  ได้แก่  ข้าว  เก๊กฮวย  คาร์เนชัน  เบญจมาศ  พุทธรักษา  ปทุมมา  และกล้วยหอมทอง
2. การทำหมันแมลง
    วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช  โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (sterile insect technology : SIT)  เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลง ให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้  ต่อมานำดักแด้ไปฉายรังสีแกมมา  เพื่อให้เป็นหมันแล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง  การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้  เป็นการลดการขยายพันธุ์ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดหรือหมดไปในที่สุด การควบคุมจำนวนของแมลงโดยวิธีทำหมันด้วยรังสีนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด  ไม่มีผลต่อแมลงชนิดอื่นที่เป็นประโยชน์  เช่น ผึ้ง  ผีเสื้อ และแมลงปอ  ส่งผลให้จำนวนผลผลิตเพิ่มมากขึ้นด้วย
3. การถนอมอาหารด้วยรังสี
    การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น  รังสีแกมมาที่ให้พลังงานสูง  หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอนพลังงานสูง ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต  เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลงตายหรือเป็นหมันได้  สำหรับในพืชนั้นรังสีจะทำให้อัตราการหายใจและการบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป  ทำให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลง กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิและแมลง  ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้

http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter8/t27-8-l2.htm (12/11/50)
http://www.clinictech.most.go.th/Nuke/html/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&p=1440  (12/11/50)
www.gpo.or.th/rdi/html/preserve_food.html  (12/11/50)
ขนิษฐา เมืองพระฝาง 49660106
เกษตรกรรม1.       รังสีกับการปรับปรุงพันธุ์พืช              ขั้นตอนของการปรับปรุงพันธุ์พืชวิธีนี้เริ่มจากการคัดสรรเมล็ดพันธุ์ของพืชที่มีลักษณะดี นำมาฉายรังสีในปริมาณที่เหมาะสม ก่อนจะนำไปปลูกเพื่อคัดเลือกต้นที่มีลักษณะตามที่เราต้องการ ทั้งนี้แม้การใช้รังสีจะสะดวกกว่าการปรับปรุงพันธุ์พืชด้วยวิธีมาตรฐานแต่ไม่ได้หมายความว่าจะเห็นผลในทันที ด้วยเหตุเพราะเราไม่สามารถกำหนดลักษณะการกลายพันธุ์ที่จะเกิดขึ้นจากการฉายรังสีได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องอาศัยเวลาในการทดลองปลูกเพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่มีลักษณะตามที่ต้องการ โดยไม่สูญเสียลักษณะที่ดีดั้งเดิมไป และยังต้องตรวจสอบว่าลักษณะที่เราต้องการนั้นสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานรุ่นต่อ ๆ ไปได้หรือไม่อีกด้วย2.       การควบคุมและกำจัดแมลงวันผลไม้ โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมันด้วยรังสีI การศึกษาการเปลี่ยนแปลง...               การศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณตัวเต็มวัยเพศผู้ของแมลงวันผลไม้ซึ่งสามารถดักได้ประมาณ 240 ตัว/กรงดัก/วัน  หลังจากนั้นจะลดจำนวนลงอย่างรวดเร็ว ปริมาณของแมลงวันผลไม้ทั้ง 2 ชนิด  จะเปลี่ยนแปลงตามกันไปในปริมาณที่ใกล้คียงกัน  ในที่สุด ก็ลดปริมาณลงอย่างรวดเร็วอีกครั้ง จนเกือบจะเป็นศูนย์ในเดือน พฤศจิกายน ธันวาคม และ มกราคม ปีถัดไป   ความหนาแน่นของปริมาณตัวเต็มวัยแมลงวันผลไม้ที่กล่าวมาแล้วทั้ง 2 ชนิด มีปริมาณค่อนข้างสูง ตั้งแต่ปลายฤดูหนาว (ต้นเดือนกุมภาพันธ์)  จนถึงกลางฤดูฝน (เดือน กรกฎาคม)  ซึ่งช่วงนี้ เป็นช่วงเวลาเดียวกันกับการออกผลของผลไม้เมืองหนาวที่นำเข้ามาปลูก 3.       การใช้รังสีแกมมาปรับปรุงคุณภาพรำข้าวเพื่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้ง             รำข้าวเป็นแหล่งวัตถุดิบที่เหลือใช้ทางการเกษตร  นิยมใช้เป็นวัตถุดิบผสมในอาหารกุ้ง ใช้เสริมเป็นแหล่งอินทรีย์วัตถุเข้าไปในบ่อเลี้ยงกุ้งในระยะแรกของการเลี้ยงกุ้งแบบชีวภาพ  เพื่อเป็นการเพิ่มสารอาหารธรรมชาติให้กับลูกกุ้ง  ปัญหาสำคัญของรำข้าวที่เกษตรกรมักจะพบ  ได้แก่   คุณภาพของรำข้าวที่ได้มีคุณภาพต่ำ   มีการปนเปื้อนของเชื้อราและแมลงหลายชนิด  มีอายุการเก็บรักษาสั้น ไม่สามารถเก็บกักตุนไว้ใช้ได้เป็นเวลานาน  ดังนั้นเพื่อเป็นการลดปัญหาที่เกิดขึ้น จึงได้ทำการศึกษาเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพรำข้าวที่ใช้ในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น  โดยการฉายรังสีแกมมาเพื่อลดปัญหาทางด้านจุลินทรีย์ เชื้อรา และแมลง  การใช้รังสีแกมมาในระดับต่ำนี้มีความปลอดภัยสูง ไม่ก่อให้เกิดผลตกค้างในอาหารสัตว์ สามารถลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ    ให้ผลที่ดีต่อสุขภาพกุ้ง  และสุขอนามัยในการบริโภคของคน 4.       การศึกษาการยอมรับมะขามหวานฉายรังสีของผู้บริโภคและการถ่ายทอดเทคโนโลยี               การใช้วิธีการลดความชื้นร่วมกับการฉายรังสีปริมาณ 1 กิโลเกรย์ สามารถควบคุมเชื้อราและกำจัดแมลงที่ปนเปื้อนมาในมะขามหวานได้หมดสิ้น  มะขามหวานที่ผ่านการฉายรังสีสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานกว่า 8 เดือน โดยยังมีคุณภาพเป็นที่ต้องการของผู้ชิมการศึกษาขั้นต่อไปคือ ศึกษาการยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อมะขามหวานฉายรังสี  ขณะเดียวกันต้องการแสดงให้เกษตรกรผู้ปลูกมะขามหวานเกิดความมั่นใจว่าประชาชนให้การยอมรับมะขามหวานฉายรังสี 5.       การยืดอายุการเก็บรักษาและการปรับปรุงคุณภาพทางจุลินทรีย์ของปลาร้าด้วยรังสีแกมมา                 ปลาร้าเป็นอาหารพื้นบ้านของคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของไทย  แต่ในปัจจุบันความนิยมบริโภคปลาร้าได้กระจายออกไปในภาคอื่น ๆ ของประเทศไทยด้วย  ทั้งยังขยายไปในต่างประเทศตามพื้นที่ที่คนไทยไปอยู่อาศัย  เนื่องจากปลาร้าเป็นวิธีการถนอมอาหารอย่างหนึ่งที่อาศัยกระบวนการหมัก  โดยใช้ปลาสดหมักรวมกับเกลือ ข้าวคั่วและรำข้าว  การบริโภคปลาร้านิยมใช้ผสมในส้มตำหรืออาหารประเภทอื่น ๆ   โดยไม่มีการนำไปทำให้สุกด้วยความร้อนก่อน  ทำให้ผู้บริโภคมีโอกาสได้รับอันตรายจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในปลาร้าได้  การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจคุณภาพทางจุลินทรีย์ของปลาร้าที่วางจำหน่ายในตลาดของจังหวัดต่าง ๆ ในภาคเหนือ  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง  รวมทั้งศึกษาผลของรังสีแกมมาที่มีต่อคุณภาพทางจุลินทรีย์ของปลาร้า  6.       การถ่ายทอดเทคโนโลยีการควบคุมแมลงโดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน                 เพื่อพัฒนาคุณภาพของผลผลิตให้เป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศต่อไป       การสุ่มเก็บผลไม้เพื่อตรวจดูการทำลายของแมลงวันผลไม้ เป็นวิธีการหนึ่งในการดำเนิน การในโครงการเขตควบคุมแมลงวันผลไม้ฯ  เนื่องจากแมลงวันผลไม้มีพืชอาศัยมากกว่า 200 ชนิดทั่วโลกผลไม้บางชนิดเป็น     พืชอาศัยในพื้นที่หนึ่งแต่ไม่เป็นพืชอาศัยในอีกพื้นที่หนึ่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศและความหลากหลายทางชีวภาพในแต่ละพื้นที่นั้น ๆ   ดังนั้นการสุ่มเก็บผลไม้เป็นแนวทางการศึกษาถึงชนิดของแมลงวันผลไม้ในพื้นที่โครงการเขตควบคุมแมลงวันผลไม้ฯ โดยทำการสุ่มเก็บผลไม้ที่สันนิษฐานว่าเป็นพืชอาหารของแมลงวันผลไม้ที่มีอยู่ในพื้นที่ตลอดทั้งปี เพื่อจะทำให้ทราบถึงชนิดของพืชอาศัยที่แท้จริง7.       การใช้รังสีแกมมาเพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับชงดื่ม ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรที่ผลิตเป็นเครื่องดื่มพร้อมชง กำลังได้รับความนิยมจาก  ผู้บริโภคอย่างมากในปัจจุบัน แต่จากรายงานการสำรวจคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพร โดยกองอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในปี 2542 1 พบว่ามีการปนเปื้อนจุลินทรีย์ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งยังมีการตรวจพบแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษด้วย เช่น Clostridium perfringens และ Salmonellae เป็นต้น การฉายรังสีแกมมาด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสมจะช่วยลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับชงดื่ม และยังจะช่วยกำจัดเชื้อแบคทีเรียก่อโรคอาหารเป็นพิษ  ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการวิจัยนี้อยู่ในปีงบประมาณ 2546-2547   โดยในปีงบประมาณ 2546 ได้ทำการสำรวจคุณภาพทางจุลินทรีย์ของผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับ  ชงดื่มชนิดและแหล่งผลิตต่าง ๆ  และศึกษาผลของรังสีแกมมาต่อคุณภาพทางจุลินทรีย์ของผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับชงดื่มชนิดและแหล่งผลิตที่พบว่ามีการปนเปื้อนของเชื้อ Clostridium perfringens 8.       การทดสอบประสิทธิผลของการฉายรังสีกะปิ               กะปิเป็นอาหารที่ได้จากการหมักเคยหรือกุ้งกับเกลือและไม่มีการใช้ความร้อนฆ่าเชื้อ จึงมีความเสี่ยงที่จะมีการปะปนของเชื้อก่อโรคเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ผลการตรวจวิเคราะห์กะปิในปี พ..2543 จำนวน 97 ตัวอย่าง พบว่ามีเชื้อ Clostridium perfringens  10 ตัวอย่าง มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 1080-2535 กำหนดว่าต้องไม่พบ Clostridium perfringens ในตัวอย่างกะปิ 0.01 กรัม การฉายรังสีกะปิด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสมจะทำให้ผลิตภัณฑ์ปลอดจากเชื้อดังกล่าวและปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค9.       การฉายรังสีกำจัดแมลงวันผลไม้ในมังคุดเพื่อการส่งออก มังคุดเป็นไม้ผลที่มีศักยภาพสูงในการส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศ  ในแต่ละปีสามารถส่งออกเป็นมูลค่าหลายร้อยล้านบาท   แต่เนื่องจากปัญหาแมลงศัตรูพืชที่ติดไปกับผลมังคุด   หลายประเทศจึงไม่ยินยอมให้มีการนำเข้ามังคุดสดจากประเทศไทย   ทำให้เกิดความเสียหายทั้งทางเศรษฐกิจและชื่อเสียงของประเทศ  10.    การถนอมอาหารด้วยรังสีประโยชน์ของการฉายรังสีอาหาร
1.       ลดการสูญเสียของอาหารในระหว่างการเก็บรักษาและรอการจำหน่าย ทำให้มีอาหารมากขึ้นสำหรับการบริโภคและการส่งออก
-       ยับยั้งการงอกของหอมหัวใหญ่และมันฝรั่ง
-       ชะลอการสุกของมะม่วง มะละกอ และกล้วย
-       ควบคุมและกำจัดแมลงในข้าวสาร ปลาแห้ง และปลารมควัน
2.       ลดปัญหาโรคติดเชื้อจากอาหาร เช่น โรคท้องร่วง และโรคจากพยาธิ
-       ทำลายเชื้อซัลโมเนลลา ในกุ้งและเนื้อไก่แช่แข็ง
-       ทำลายพยาธิในแหนมและปลาดิบ
3.       ลดปัญหาสารพิษตกค้างอันเนื่องมาจากการใช้สารเคมี
-       ทำลายจุลินทรีย์ในเครื่องเทศ เครื่องปรุงรส และแมลงวันผลไม้โดยไม่จำเป็นต้องรมควันด้วยสารเคมี
4.       ยืดอายุการเก็บรักษาและการวางตลาด สามารถส่งไปจำหน่ายในท้องที่ห่างไกลจากแหล่งผลิตได้มากขึ้น
5.       เพิ่มศักยภาพในการส่งออกปัจจุบันมีการฉายรังสีอาหารปี่ละประมาณ 750,000 ตัน ในประเทศต่างๆ 22 ประเทศรวมทั้งเนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมัน สหรัฐอเมริกา สหภาพอัฟริกาใต้ สาธารณรัฐประชาชนจีน และญี่ปุ่น
ตัวอย่างอัตราการฉายรังสี
กุ้งและเนื้อไก่แช่แข็ง                                             2              ตันต่อชั่วโมง
ถั่วเขียว                                                                   20           ตันต่อชั่วโมง
หอมหัวใหญ่                                                           35           ตันต่อชั่วโมง
บรรจุภัณฑ์                                                              0.5          ตันต่อชั่วโมง
เครื่องมือแพทย์และเวชภัณฑ์                                1              ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการฉายรังสีการใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ ในด้าน การปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิด ในอาหารโดยมีตัวอย่างดังต่อไปนี้1.การฉายรังสีอาหาร (food irradiation)
ประเทศไทยเรามีศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตร ซึ่งเป็นโรงงานต้นแบบโดยสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2532 ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 มีกัมมันภาพรังสีตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี ให้บริการ ฉายรังสี อาหาร และผลิตผลการเกษตร ที่สำคัญ คือ เครื่องเทศ สมุนไพร ฝรั่ง ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ และกระเทียม เป็นต้น
2.อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์
รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ได้ถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ อันได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ มีจำนวนมากกว่า 140 โรงงานใน 40 ประเทศ สำหรับประเทศไทย มีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน 5 แห่ง  3.อุตสาหกรรมโพลีเมอร์
รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนสามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่ถูกอัดด้วยสารโมโนเมอร์ จะกลายเป็นสารโพลิเมอร์ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับทำพื้นปาร์เก้หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสีเพื่อไปช่วยให้โมโนเมอร์จับตัวกับโพลิเมอร์ เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติมาฉายรังสีเพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้นหรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสีโพลิเมอร์เป็นผลให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก และโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกันของโพลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization
 การตรวจวัดและควบคุมโดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรมการใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า เทคนิคนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในระบบวัดและควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
 -การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหลหรือสารเคมีในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
 - การใช้รังสีแกมมาวัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
 - การใช้รังสีแกมมาวัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ

  -งานเทคนิคอุตสาหกรรม- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบเพื่อผลิตยางรถยนต์
  - การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
  - การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
  - การใช้รังสีเอกซ์วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
  - การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดินรม

ที่มา:

http://skn.ac.th/skl/project/newc/ppf63.htm 

http://km.oaep.go.th/vlibrary/Docdetail.aspx?DocID=29

http://www.nst.or.th/article/article0114.htm

นส.ขนิษฐา   เมืองพระฝาง   49660106

  
นางสาวสิริยานันท์ ไชยมนตรี รหัสนิสิต 49662322
                นางสาวสิริยานันท์  ไชยมนตรี รหัสนิสิต 49662322                                ประโยชน์ของรังสีนั้นมีมากมายนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นการแพทย์ ประยุกต์ใช้ในด้านการเกษตรและการถนอมรักษา อุตสาหกรรม เป็นต้นว่าอาหารที่บริโภคอยู่เป็นประจำอาจเป็น                  ด้านอุตสาหกรรม
               
                จะเห็นได้ว่าเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเรามาก เพราะ ผลิตภัณฑ์ ๆ ที่เราใช้ส่วนใหญ่เป็นผลิตมาจากทางด้านอุตสาหกรรมแทบทั้งสิ้น ประเทศไทยก็ได้มีการนำเอาเทคนิคนี้มาใช้งานทางอุตสาหกรรมบ้างแล้วในหลาย ๆ ด้าน - การวัดความหนา                เครื่องมือที่ใช้สำหรับวัดความหนาโดยใช้รังสีเบตา หรือแกมมานี้ส่วนใหญ่จะใช้ในการวัดความหนาของเหล็กกลึง  กระดาษ พลาสติก ยาง และวัดความหนาของวัตถุและผลิตภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูปในงานอุตสากรรมสิ่งทอ ฯลฯ
-การตรวจหาตำหนิของวัตถุโดยใช้รังสีแกมมา
                ตำหนิหรือข้อบกพร่องในเนื้อวัตถุจะใช้ฟิล์มเป็นตัวบันทึกรังสี ซึ่งเรียกว่า การถ่ายภาพด้วยรังสี (Radiography) ประโยชน์ของการบันทึกรังสีแกมมาด้วยฟิล์มคือเครื่องมือและวิธีการทำเป็นแบบง่ายและหลังจากทำการล้างฟิล์ม แล้วภาพที่ได้จะทำให้เห็นตำแหน่งของตำหนิภายในและขนาดของตำหนินั้น นำมาใช้อย่างกว้างขวางในงานอุตสาหกรรมรมหลายสาขา เช่น ตรวจสอบคุณสมบัติของเหล็กหล่อ ตรวจสอบรอยเชื่อม
และคุณสมบัติต่าง ๆ ของวัตถุที่ใช้ ในการสร้างเครื่องจักรกลและในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ
-การวัดหาความหนาแน่น
                หลักการวัดความหนา คือ จะดูจากการเปลี่ยนแปลงจำนวนของรังสีเบตาหรือแกมมาที่ผ่าน
สารที่จะตรวจสอบมาจนหัววัด นำเทคนิคนี้มาใช้ในงานดูดของเสียเมื่อดำเนินการสร้างสถานีไฟฟ้าพลังน้ำ ขุดคลอง สร้างเขื่อนกั้นน้ำ
ติดเครื่องจักรกลกำลังน้ำอื่นและเมื่อทำการรอกคลอง แม่น้ำท่าเรือเนื่องจากความหนาแน่นของของเสียขึ้นอยู่กับ
จำนวนดินในของเสียนั้น ถ้าความหนาแน่นที่วัดได้ต่ำ แสดงว่าในการดูดนั้นได้ปริมาณเนื้อของเสียน้อยส่วนใหญ่
ที่ดูดได้จะเป็นน้ำ แต่ถ้าความหนาแน่นที่ดูดได้มีค่ามากกว่าค่าที่กำหนดไว้ จะทำให้เกิดผลเสียคือ ทำให้ท่ออุดตัน
ทำให้การดูดต้องหยุดชะงักลงเป็นเวลานาน ดังนั้นการตรวจวัดความหนาแน่นของของเสียอย่างสม่ำเสมอจะสามารถรักษาดับความหนาแน่นสูงสุดที่จะมีผลต่อการดูดได้
-การวัดความชื้น
                การดูดกลืนรังสีในสารชนิดเดียวกันนั้นอาจแตกต่างกันไป แม้ว่าจะมีความหนาแน่นของสารเท่านั้นแต่จะขึ้นอยู่กับ ความหนาแน่นของมันด้วยนั่นเองจะนำไปใช้ในเครื่องมือสำหรับวัดความชื้นของดิน เมล็ดข้าว ไม้ และสารอื่น ๆ  -การวัดความหนาของสิ่งห่อหุ้ม                หลักการนี้ได้นำไปใช้สร้างเครื่องมือที่ใช้สำหรับวัดความหนาของสารหุ้มที่เป็นโลหะ หุ้มโลหะอื่น
โลหะหุ้มบนฉนวน ฉนวนหุ้มบนโลหะ และความหนาของสารหุ้ม ที่ใช้สำหรับป้องกันและตกแต่งต่าง ๆ เช่น
การวัดความหนาของเงินที่ฉาบบนแก้วในการทำกระจก วัดความหนาของสารที่ใช้ชุบเครื่องประดับต่าง ๆ
 ด้านการเกษตร                    ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมกิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่มมากขึ้น                    - การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป                    - เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น                    - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย                    - การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน                    - การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล                    - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ                    - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร- การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค                    - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation) เช่น                    1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอม                    เหมือนข้าวขาวมะลิ                    2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า                     และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15                    3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า                    4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม

ที่มา
http://www.navy.mi.th/science/Information/Paper/InfoPaper_AlfaBeta.htmlhttp://www.geocities.com/wan_dpst/story6.htm 

 
นางสาวชราลัย นาคจรุง รหัส 49660243
  การใช้ประโยชน์จากรังสีในด้านกิจการอุตสาหกรรม
  • ใช้วัดระดับของไหลสารเคมีต่างๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
  • ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่งภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
  • ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
  • วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหินในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
  • วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเลเพื่อการคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
  • วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
  • ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
  • วัดหาปริมาณสารตะกั่วหรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
  • ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
  • ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
  • ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์มฟิล์มภาพยนต์หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์เวชภัณฑ์ต่างๆ
  • ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่างๆ ด้วย ก๊าซคริปตอน-85
  • ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบและความชื้นใต้ดิน ด้วยรังสีนิวตรอน
  • ใช้ทำสีเรืองแสง
  • ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์และปริมาณเถ้า
  • การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)
  • การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือถุงเลือดถุงมือ            
                                 http://km.oaep.go.th/vlibrary/docdetail.aspx?docID=51ประโยชน์ของรังสีในด้านการเกษตรกรรม
      1 การปรับปรุงพันธุ์พืช (Mutation Breeding) เช่น พันธุ์ข้าว กข 6 , กข 10 , กข 15 , ถั่วเหลืองพันธ์ดอยคำ , กล้วยหอมทอง KU1
      2 การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect technique) เช่น กำจัดแมลงวันผลไม้บนดอยอ่างขาง จ.เชียงใหม่
      3 การถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรของสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ ดังนี้
         ก. ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง , หอมใหญ่ , กระเทียม , ขิง
         ข. ชะลอการสุก : มะม่วง , มะละกอ
         ค. ชะลอการบาน : เห็ด
         ง. ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู , แหนม
         จ. ลดแบคทีเรียและเชื้อรา : ปลาสด ,เนื้อสด , กุ้งแช่แข็ง , เครื่องเทศ
         ฉ. ควบคุมแมลง : ข้าว,ถั่วเขียว ,ผลไม้แห้ง ,ปลาแห้ง ,มะขามหวาน
ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ผ่านการฉายรังสีมาแล้วนั้นจะไม่มีรังสีตกค้างอยู่เลย ทั้งนี้เนื่องจากรังสีแกมมาที่นำมาใช้ จะไม่แตกตัวและไม่ทำให้ตัวกลางกลายเป็นรังสีแต่อย่างใด ดังนั้นอาหารที่ผ่านการฉายรังสี จึงปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค
                                      www.oknation.net/blog/print.php?id=77864 

การใช้รังสีในกิจการอุตสาหกรรม

ได้มีการพัฒนา และนำเอาพลังงานนิวเคลียร์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์
ทางด้านอุตสาหกรรม อย่างแพร่หลาย และสามารถ จำแนกออกเป็น 2 แบบ ตามวิธีการ
ของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ คือ อุตสาหกรรมการฉายรังสี และการควบคุมการผลิต
ในโรงงานอุตสาหกรรม ดังนี้
อุตสาหกรรมการฉายรังสี การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ
เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ
เพื่อประโยชน์ในด้าน การปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์
บางชนิดในอาหาร


การฉายรังสีอาหาร (food irradiation) ประเทศไทยเรามีศูนย์ฉายรังสีอาหาร
และผลิตผลการเกษตร ซึ่งเป็นโรงงานต้นแบบ ขึ้นอยู่กับสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
เปิดเป็นทางการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 มีกัมมันภาพรังสี
ตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร
ที่สำคัญ คือ เครื่องเทศ สมุนไพร ฝรั่ง ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่
และกระเทียม เป็นต้น
อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ได้ถูกนำมาใช้
ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรค ในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ อันได้แก่ เวชภัณฑ์
เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ มีจำนวนมากกว่า 140 โรงงาน ใน 40 ประเทศ
สำหรับประเทศไทย มีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน 5 แห่ง

อุตสาหกรรมโพลีเมอร์ รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอน
สามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยา ในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อน ที่ถูกอัดด้วยสารโมโนเมอร์ จะกลายเป็นสารโพลิเมอร์
ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับ ทำพื้นปาร์เก้ หรือท่อนไม้
ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสี เพื่อไปช่วยให้โมโนเมอร์ จับตัวกับโพลิเมอร์ เรียกว่าการต่อกิ่ง
(grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติ มาฉายรังสี เพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น
หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสี เพื่อไปทำให้โพลิเมอร์ จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ
และเป็นผลให้ผลิตภัณฑ์ มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า
ผลิตภัณฑ์พลาสติก และโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติ ที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกัน
ของโพลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)

การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ ในโรงงานอุตสาหกรรม
การใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า “เทคนิคนิวเคลียร์”
มาใช้ประโยชน์ ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม
ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลาย ในประเทศไทย ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมา วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน
เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- การใช้รังสีแกมมา วัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยาง
ที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบเพื่อผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตา วัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษ ในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอน ในการสำรวจแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
- การใช้รังสีแกมมา ตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว รอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมา วัดหาปริมาณเถ้า ในถ่านหินบนสายพานลำเลียง


http://www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm

 

นางสาวชราลัย นาคจรุง 49660243
การใช้ประโยชน์จากรังสีในด้านกิจการอุตสาหกรรม
  • ใช้วัดระดับของไหลสารเคมีต่างๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
  • ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่งภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
  • ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
  • วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหินในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
  • วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเลเพื่อการคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
  • วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
  • ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
  • วัดหาปริมาณสารตะกั่วหรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
  • ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
  • ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
  • ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์มฟิล์มภาพยนต์หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์เวชภัณฑ์ต่างๆ
  • ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่างๆ ด้วย ก๊าซคริปตอน-85
  • ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบและความชื้นใต้ดิน ด้วยรังสีนิวตรอน
  • ใช้ทำสีเรืองแสง
  • ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์และปริมาณเถ้า
  • การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)
  • การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือถุงเลือดถุงมือ            
                                       http://km.oaep.go.th/vlibrary/docdetail.aspx?docID=51ประโยชน์ของรังสีในด้านการเกษตรกรรม
      1 การปรับปรุงพันธุ์พืช (Mutation Breeding) เช่น พันธุ์ข้าว กข 6 , กข 10 , กข 15 , ถั่วเหลืองพันธ์ดอยคำ , กล้วยหอมทอง KU1
      2 การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect technique) เช่น กำจัดแมลงวันผลไม้บนดอยอ่างขาง จ.เชียงใหม่
      3 การถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรของสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ ดังนี้
         ก. ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง , หอมใหญ่ , กระเทียม , ขิง
         ข. ชะลอการสุก : มะม่วง , มะละกอ
         ค. ชะลอการบาน : เห็ด
         ง. ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู , แหนม
         จ. ลดแบคทีเรียและเชื้อรา : ปลาสด ,เนื้อสด , กุ้งแช่แข็ง , เครื่องเทศ
         ฉ. ควบคุมแมลง : ข้าว,ถั่วเขียว ,ผลไม้แห้ง ,ปลาแห้ง ,มะขามหวาน
ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ผ่านการฉายรังสีมาแล้วนั้นจะไม่มีรังสีตกค้างอยู่เลย ทั้งนี้เนื่องจากรังสีแกมมาที่นำมาใช้ จะไม่แตกตัวและไม่ทำให้ตัวกลางกลายเป็นรังสีแต่อย่างใด ดังนั้นอาหารที่ผ่านการฉายรังสี จึงปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค
                                      www.oknation.net/blog/print.php?id=77864
นางสาวชินาภรณ์ แก้วคง
ตามที่เราได้ทราบมาแล้วว่ารังสีในส่วนใหญ่มีแต่โทษ  แต่อีกแง่หนึ่งรังสีก็มีประโยชน์ได้อย่างเช่นสามารถใช้รักษาโรคต่างๆ  และที่สำคัญยังมีประโยชน์ทั้งอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมประโยชน์ของรังสีในด้านอุตสาหกรรม1. อุตสาหกรรมด้านพลังงาน ·       อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการผลิตเรือต่างๆที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์ ·       อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2.การตรวจวัดและควบคุมโดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม ·       การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหล หรือสารเคมี·       การใช้รังสีแกมมาวัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ·       การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ ·       การใช้รังสีเอกซ์วัดหาปริมาณตะกั่ว และกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม ·       การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดิน ·       การใช้รังสีแกมมาตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่วและรอยร้าวของวัสดุ 3. ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้าน การปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหารการฉายรังสีในอาหาร (food irradiation) และผลิตผลการเกษตร ประโยชน์ของรังสีในด้านเกษตรกรรม1.การปรับปรุงพันธุ์พืช การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทย พืชที่สามารถปรับปรุงพันธุ์ได้สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่าง แพร่หลายมีอยู่ ๑๐ ชนิด คือ ข้าวจำนวน ๓ พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ กข๖ กข๑๐ และ กข๑๕ ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ และพืชสวน ได้แก่ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง 2.การถนอมอาหารด้วยรังสี การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาให้พลังงานสูงถึง ๑.๓๓ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน ที่ให้อิเล็กตรอนพลังงานสูงถึง ๑๐ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ตาย หรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้น โดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้ http://www.nst.or.th/article/article0114.htmhttp://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter8/t27-8-l2.htm
นายทศพล ช่วยเมือง 49662001
รังสี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมและการเกษตรได้อย่างไรบ้าง             ในปัจจุบันมีการใช้ประโยชน์จากรังสีโคบอลต์-60   ทางด้านการแพทย์ การเกษตร การวิจัย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในทางอุตสาหกรรมกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งมีดังนี้ประโยชน์ทางการเกษตร1.             การปรับปรุงพันธุ์พืช โดยการกลายพันธุ์ (Mutation Breeding) หรือการทำให้เกดการเปลี่ยนแปลงDNAในลักษณะสี รูป ดอก เป็นต้น และในประเทศไทยเราได้ใช้รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ปรับปรุงพันธุ์พืชให้ได้พันธุ์ใหม่ๆ เช่น ข้าวพันธุ์ ถั่วเหลือง กล้วยหอมทอง 2.             การกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยทำหมัน (Sterile Insect Technique) แมลงวันผลไม้การถนอมอาหาร (Food Preservation)1.              ควบคุมการงอกของพืชผักในระหว่างการเก็บรักษา เช่น กระเทียม หอมใหญ่ มันฝรั่ง เป็นต้น 2.             การควบคุมการแพร่พันธุ์ของแมลงในระหว่างการเก็บรักษา เช่น ข้าว ถั่ว เครื่องเทศ ปลาแห้ง เป็นต้น ซึ่งรังสีจะทำลายไข่แมลงและควบคุมการแพร่พันธุ์ของแมลงและตัวหนอนในระหว่างการเก็บรักษา 3.             ยืดอายุการเก็บรักษาอาหารสด การฉายรังสีอาหารทะเลและเนื้อสัตว์ จะช่วยลดปริมาณแบคทีเรียลงได้มาก ทำให้สามารถเก็บรักษาได้นานขึ้น เช่น มะม่วง กล้วย มะละกอ สตรอเบอรี่ และการบานของเห็ด เป็นต้น4.             ทำลายเชื้อโรคและพยาธิในอาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากเนื้อสัตว์อาจมีพยาธิหรือเชื้อโรคติดอยู่ได้ เช่น พยาธิใบไม้ตับที่มีในปลาดิบ พยาธิที่อาจจะติดมากับเนื้อหมูก่อนทำแหนมก็ได้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรม             ในโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทย ได้นำเอาสารกัมมันตรังสีมาใช้ในกระบวนการผลผลิต และ ได้นำเอาสารกัมมันตรังสีโคบอลต์-60 มาใช้ดังนี้ 1.               การวัดระดับ เช่น โรงงานทอผ้า, โรงงานพลาสติก, โรงงานกระดาษ(ใช้ในการควบคุมตรวจสอบกระบวนการการผลิต),โรงงานปูนซิเมนต์, โรงงานเหล็ก(การใช้ในการตรวจสอบการชำรุดของโลหะ) ในบริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ 2.               การวัดความหนา เช่น โรงงานโลหะ เช่น แผ่นเหล็ก, ทองแดง, นิกเกิล 3.               การวัดความหนาแน่น เช่น โรงงานพลาสติก, โรงงานกระเบื้อง  4.               การสำรวจหลุมเจาะ เพื่อเสาะหาแหล่งแร่ 5.               การฉายรังสีเวชภัณฑ์ เช่น เข็มฉีดยา, ถุงมือ, ชุดผ่าตัด และยารักษาโรค  สำหรับการทำลายพยาธิ แบคทีเรีย และการปลอดเชื้อโรค 6.               การเปลี่ยนพลอยด้วยรังสี

              ดังนั้นจะเห็นได้ว่า รังสี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในปัจจุบันได้มากมาย แต่ก็ต้องมีองค์กร หรือหน่วยงานที่มาตรวจสอบวัดปริมาณรังสี หน่วยงานนั้นก็คือ สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน และกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้ได้มาตรฐานมีคุณภาพและปลอดภัยในชีวิตประจำวัน

http://www.oaep.go.th/nstkc/content/view/11/29/1/11/
นางสาวชินาภรณ์ แก้วคง
ตามที่เราได้ทราบมาแล้วว่ารังสีในส่วนใหญ่มีแต่โทษ  แต่อีกแง่หนึ่งรังสีก็มีประโยชน์ได้อย่างเช่นสามารถใช้รักษาโรคต่างๆ  และที่สำคัญยังมีประโยชน์ทั้งอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ประโยชน์ของรังสีในด้านอุตสาหกรรม1. อุตสาหกรรมด้านพลังงาน

·   อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการผลิตเรือต่างๆที่ใช้พลังงาน

นิวเคลียร์ ·    อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2.การตรวจวัดและควบคุมโดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม ·   การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหล หรือสารเคมี·    การใช้รังสีแกมมาวัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน

·    การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษใน

 อุตสาหกรรมผลิตกระดาษ

·     การใช้รังสีเอกซ์วัดหาปริมาณตะกั่ว และกำมะถันในการกลั่น

 น้ำมันปิโตรเลียม

·     การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซ

ธรรมชาติใต้ดิน

·       การใช้รังสีแกมมาตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว

และรอยร้าวของวัสดุ 3. ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้าน การปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหารการฉายรังสีในอาหาร (food irradiation) และผลิตผลการเกษตร ประโยชน์ของรังสีในด้านเกษตรกรรม1.การปรับปรุงพันธุ์พืช การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทย พืชที่สามารถปรับปรุงพันธุ์ได้สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่าง แพร่หลายมีอยู่ ๑๐ ชนิด คือ ข้าวจำนวน ๓ พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ กข๖ กข๑๐ และ กข๑๕ ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ และพืชสวน ได้แก่ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง 2.การถนอมอาหารด้วยรังสี การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาให้พลังงานสูงถึง ๑.๓๓ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน ที่ให้อิเล็กตรอนพลังงานสูงถึง ๑๐ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ตาย หรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้น โดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้ http://www.nst.or.th/article/article0114.htm

http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter8/t27-8-

l2.htm
http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter8/t27-8-l2.htm
การใช้ประโยชน์พลังงานนิวเคลียร์ในด้านอุตสาหกรรมมีอะไรบ้าง


[ ขยายดูภาพใหญ่ ]

ได้มีการพัฒนาและนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย และสามารถจำแนกออกเป็น ๓ แบบ ตามวิธีการของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ดังนี้
๑. อุตสาหกรรมด้านพลังงาน
ก. อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการผลิตเรือสินค้า เรือเดินสมุทร เรือตัดน้ำแข็ง เรือดำน้ำที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์
ข. อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
๒. อุตสาหกรรมการฉายรังสี
การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร โดยมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
ก. การฉายรังสีอาหาร
ประเทศไทยมีศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตร ซึ่งขึ้นอยู่กับสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ โดยเปิดเป็นทางการตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๒ ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ มีกัมมันตภาพรังสีตอนเริ่มต้น ๔๔,๐๐๐ คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรที่สำคัญคือ เครื่องเทศ สมุนไพร ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ กระเทียม แหนม ถั่วเขียว และมะขามหวาน
ข. อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์
รังสีแกมมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ ได้นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ โดยมีจำนวนมากกว่า ๑๔๐ โรงงาน ใน ๔๐ ประเทศ สำหรับประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน ๕ แห่ง
ค. อุตสาหกรรมพอลิเมอร์
รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนสามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกพอลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่ถูกอัดด้วยสารมอนอเมอร์ จะทำให้กลายเป็นสารพอลิเมอร์ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับทำพื้นปาร์เกต์หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสีเพื่อไปช่วยให้มอนอเมอร์จับตัวกับพอลิเมอร์เรียกว่า การต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติมาฉายรังสีเพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสีเพื่อไปทำให้พอลิเมอร์จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ในการผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติกและโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกันของพอลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)
๓. การตรวจวัดและควบคุมโดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม
การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีซึ่งเรียกว่า “เทคนิคนิวเคลียร์” มาใช้ประโยชน์ในระบบตรวจวัดและควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบัน มีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย มีตัวอย่างคือ
- การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหล หรือสารเคมีในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมาวัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมาวัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระดาษ และกระเบื้อง
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบ เพื่อการผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์วัดหาปริมาณตะกั่ว และกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
- การใช้รังสีแกมมาตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่วและรอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมาวัดหาปริมาณเถ้าในถ่านหินบนสายพานลำเลียง
การใช้ประโยชน์พลังงานนิวเคลียร์ในกิจการเกษตรมีอะไรบ้าง


[ ขยายดูภาพใหญ่ ]

ประเทศไทยได้มีการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์เพื่อส่งเสริมกิจการเกษตร เพื่อการเพิ่มปริมาณผลผลิต และเพิ่มคุณภาพของผลผลิตดังต่อไปนี้
๑. การปรับปรุงพันธุ์พืช
การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทย พืชที่สามารถปรับปรุงพันธุ์ได้สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่าง แพร่หลายมีอยู่ ๑๐ ชนิด คือ ข้าวจำนวน ๓ พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ กข๖ กข๑๐ และ กข๑๕ ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ และพืชสวน ได้แก่ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง
๒. การทำหมันแมลง
วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลง ให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้ ต่อมานำดักแด้ไปฉายรังสีแกมมาเพื่อให้เป็นหมันแล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้ เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด การควบคุมจำนวนของแมลงโดยวิธีทำหมันด้วยรังสีนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด ไม่มีผลต่อแมลงชนิดอื่นที่เป็นประโยชน์ เช่น ผึ้ง ผีเสื้อ และแมลงปอทางสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการกำจัดแมลงวันผลไม้ ในพื้นที่บริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลสำเร็จอย่างดียิ่ง ทำให้ผลผลิตของผลไม้เมืองหนาว เช่น ลูกพลับ สาลี่ ท้อ และลูกพรุน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก
๓. การถนอมอาหารด้วยรังสี
การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาให้พลังงานสูงถึง ๑.๓๓ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน ที่ให้อิเล็กตรอนพลังงานสูงถึง ๑๐ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลงตาย หรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้น รังสีจะทำให้อัตราการหายใจและกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป ทำให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลง กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้
๔. ประโยชน์ทางด้านอื่นๆ
ก. เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อปรับปรุง การใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ข. การใช้เทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา เพื่อเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดินสำหรับการเกษตร
ค. การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช ชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
ง. การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสีนิวตรอน เพื่อวิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง และธาตุมลพิษ ซึ่งมีความสำคัญ ต่อผู้บริโภค
นายนพธีรา จิรกาลนุกุล รหัสนิสิต 49662827

ด้านอุตสาหกรรม

อาหารฉายรังสี (Food Irradiation)

            การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาให้พลังงานสูงถึง ๑.๓๓ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน ที่ให้อิเล็กตรอนพลังงานสูงถึง ๑๐ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลงตาย หรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้น รังสีจะทำให้อัตราการหายใจและกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป ทำให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลง กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้

            รังสีที่ใช้ในงานถนอมอาหาร เป็นรังสีแบบที่ทำให้เกิดการไอออไนซ์ (ionizing radiation) รังสีที่มีคลื่นสั้นชนิดนี้ สามารถทำลายจุลินทรีย์ ที่ปนเปื้อนมากับอาหาร ซึ่งเป็นสาเหตุของการเสื่อมคุณภาพ หรือการเน่าเสีย

จากการสูญเสียอาหารที่ใช้บริโภค ในแต่ละปีเป็นจำนวนมาก เนื่องจากการเน่าเสียและการกัดกินของแมลง นักวิทยาศาสตร์จึงได้ทำการทดลอง หาวิธีการถนอมอาหาร ด้วยการฉายรังสีตั้งแต่ปี 1950  และได้พบว่า การฉายรังสี สามารถควบคุมการสูญเสียเหล่านี้ได้ดีการฉายรังสีสามารถเทียบได้กับการพาสเจอไรซ์...

            เช่นเดียวกับการพาสเจอไรซ์น้ำนม กระบวนการฉายรังสี สามารถลดจำนวนแบคทีเรียลง โดยไม่ได้กำจัดให้หมดไป เนื้อสัตว์ปีกที่ผ่านการฉายรังสี ยังต้องเก็บไว้ในตู้เย็น แต่สามารถเก็บไว้ได้นานมากขึ้น สตรอเบอรีฉายรังสี สามารถเก็บไว้ในตู้เย็นได้นาน 2-3 สัปดาห์ ขณะที่เก็บไว้ได้เพียงไม่กี่วัน ถ้าไม่ได้ฉายรังสี

สิ่งที่มีความจำเป็น 2 อย่างในกระบวนการฉายรังสี...

            ต้นกำเนิดรังสีและวิธีการควบคุมพลังงานของรังสี ในกระบวนการฉายรังสีอาหารนั้น ใช้ต้นกำเนิดแบบไอโซโทปรังสี (วัสดุกัมมันตรังสี) โดยมีอุปกรณ์และเครื่องมือ ในการควบคุมทิศทางและขนาดของลำรังสี

            การออกแบบและสร้างอุปกรณ์พิเศษ ในการควบคุมลำรังสี ทำให้เจ้าหน้าที่ไม่ได้รับรังสีขณะที่ปฏิบัติงาน ไอโซโทปรังสีชนิดเดียวกันนี้ มีการใช้ในงานวิจัยทางการแพทย์ และงานรังสีรักษา อยู่ในหลายโรงพยาบาลและมหาวิทยาลัย ซึ่งการใช้งาน ต้องมีความระมัดระวังในการดูแล การตรวจสอบ และการจัดการเมื่อเลิกใช้งาน อุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมลำรังสี จะมีความยืดหยุ่นในการใช้งาน สามารถเปิดและปิดลำรังสีได้ แม้ว่าจะมีรังสีแกมมาแผ่ออกมา จากไอโซโทปรังสีตลอดเวลาก็ตาม

รังสีที่ใช้ในการถนอมอาหารนั้นอาจใช้รังสีใดรังสีหนึ่งดังนี้ ...

            1. รังสีแกมมา เป็นรังสีที่นิยมใช้มากในการถนอมอาหาร สารที่เป็นต้นกำเนิดรังสีนี้ คือ โคบอล-60 หรือซีเซียม-137

            2. รังสีเอกซ์ ได้จากเครื่องผลิตรังสีเอกซ์ที่ทำงานด้วยระดับพลังงานที่ต่ำกว่า หรือ เท่ากับ 5 ล้าน อิเล็กตรอนโวลต์

            3. รังสีอิเล็กตรอน ได้จากเครื่องผลิตรังสีอิเล็กตรอนที่ทำงานด้วยระดับพลังงานที่ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 10 ล้าน อิเล็กตรอนโวลต์

หลักการถนอมอาหารด้วยรังสี...

            รังสีที่ฉายลงไปในอาหารจะไปทำลายหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ หรือทำให้การเปลี่ยนแปลงทางเคมีลดลง ซึ่งมีผลทำให้การเก็บรักษาอาหารนั้นมีอายุยืนนานโดยไม่เน่าเสีย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของอาหารและปริมาณรังสีที่อาหารได้รับ

วัตถุประสงค์ในการฉายรังสี ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้...

            1. ควบคุมการงอกของพืชผักในระหว่างการเก็บรักษา ปริมาณรังสีที่ฉายบนอาหารประมาณ 0.05-0.12 กิโลเกรย์ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขอนุญาตให้อาหารนั้นมีปริมาณรังสีเฉลี่ยสูงสุดได้ถึง 0.15 กิโลเกรย์ เช่น กระเทียม หอมใหญ่ มันฝรั่ง เป็นต้น ซึ่งสามารถควบคุมการงอกและลดการสูญเสียน้ำหนักในระหว่างการเก็บในห้องเย็นได้นานกว่า 6 เดือน

            2. การควบคุมการแพร่พันธุ์ของแมลงในระหว่างการเก็บรักษา ปริมาณรังสีที่ฉายบนอาหารประเภทนี้ประมาณ 0.2-0.7 กิโลเกรย์ และกระทรวงสาธารณสุขอนุญาตให้อาหารนั้นมีปริมาณรังสีเฉลี่ยสูงสุดได้ 1 กิโลเกรย์ เช่น ข้าว ถั่ว เครื่องเทศ ปลาแห้ง เป็นต้น ซึ่งรังสีจะทำลายไข่แมลงและควบคุมการแพร่พันธุ์ของแมลงและตัวหนอนในระหว่างการเก็บรักษา หรือระหว่างรอการจำหน่าย

            3. ยืดอายุการเก็บรักษาอาหารสด การฉายรังสีอาหารทะเลและเนื้อสัตว์ด้วยรังสีประมาณ 1-3 กิโลเกรย์ จะช่วยลดปริมาณแบคทีเรียลงได้มาก

ทำให้สามารถเก็บรักษาได้นานขึ้น แต่ทั้งนี้ต้องบรรจุในภาชนะและเก็บในห้องเย็น ส่วนผลไม้ เช่น มะม่วง กล้วย ถ้าฉายรังสีด้วยปริมาณ 0.3-1 กิโลเกรย์ จะชะลอการสุกและควบคุมการแพร่พันธุ์ของแมลงในระหว่างการเก็บรักษา ทำให้อายุการเก็บนานขึ้น ส่วนสตรอเบอรี่ ถ้าฉายรังสีด้วยประมาณ 3 กิโลเกรย์ จะช่วยทำลายจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุทำให้เน่าเสียลงบางส่วน ทำให้ยืดอายุการเก็บรักษาหรือในระหว่างการจำหน่าย และการฉายรังสี ประมาณ 1-2 กิโลเกรย์ จะสามารถชะลอการบานของเห็ด ทำให้การจำหน่ายมีระยะนานขึ้น

            4. ทำลายเชื้อโรคและพยาธิในอาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากเนื้อสัตว์อาจมีพยาธิหรือเชื้อโรคติดอยู่ได้ เช่น พยาธิใบไม้ตับที่มีในปลาดิบ สามารถทำลายได้ด้วยรังสีต่ำประมาณ 0.15 กิโลเกรย์ แหนมซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์จากหมูที่คนไทยนิยมรับประทานดิบ ๆ ถ้าฉายรังสีในประมาณ 2-3 กิโลเกรย์ จะเพียงพอที่จะทำลายเชื้อ ซาลโมเนลลา ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดท้องร่วง และทำลายพยาธิที่อาจจะติดมากับเนื้อหมูก่อนทำแหนมก็ได้

 ด้านการเกษตร

การทำหมันแมลง
วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลงให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้ ต่อมานำไปฉายรังสีแกมมา เพื่อให้เป็นหมัน แล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้ เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด ขั้นตอนการดำเนินงานมีดังนี้เริ่มจากการนำ ตัวเต็มวัยพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ที่คัดเลือกแล้วมาเลี้ยงในกรง ภายในห้องปฏิบัติการที่ควบคุมอุณหภูมิที่ 25-27 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ที่ประมาณ 60เปอร์เซนต์ และให้แสงด้วยหลอดฟลูออเรสเซนต์ โดยให้อาหารเทียมที่มีส่วนผสมของนํ้าตาลและโปรตีนพร้อมให้นํ้าอย่างสมํ่าเสมอ จนตัวเต็มวัยมีอายุ 10 วัน ซึ่งเป็นช่วงที่มีอัตราการผสมพันธุ์และการวางไข่สูง จึงเริ่มเก็บไข่จากอายุ 10-30 วัน โดยวิธีการล่อให้แมลงวางไข่ที่กระบอกพลาสติกซึ่งเจาะรูเล็ก ๆ ด้วยเข็มหมุดไว้โดยรอบ และภายในกระบอกเคลือบด้วยนํ้าฝรั่งเพื่อล่อให้แมลงวางไข่ การเก็บไข่จะต้องเก็บทุกวั (ทุก 24 ชั่วโมง) โดยนำ กระบอกพลาสติกที่แมลงวางไข่แล้วออกจากกรง แล้วเปลี่ยนเอากระบอกใหม่ใส่แทน จากนั้นนำ ไปล้างไข่ออกจากกระบอกด้วยนํ้า เก็บไข่มาเพาะเลี้ยงให้เป็นตัวหนอนในอาหารเทียม แล้วชักนำ ให้เป็นดักแด้ด้วยความมืด หากดักแด้มีปริมาณน้อยหรือยังไม่ถึงกำ หนดการฉายรังสีอาจเก็บรักษาไว้ได้ 10-15 วัน ที่อุณหภูมิ 20-25 องศาเซลเซียส แล้วนำ ไปย้อมสีจากนั้นนำ ไปฉายรังสีด้วยรังสีแกมมา 90 เกรย์ การย้อมสีอาจปฏิบัติก่อนหรือหลังการฉายรังสีก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม เพื่อให้เป็นดัชนีในการแสดงว่าเป็นแมลงที่ทำหมันจากการฉายรังสีแล้ว ดักแด้ที่ฉายรังสีแล้วต้องเก็บรักษาดักแด้ไว้ในภาชนะที่ควบคุมอุณหภูมิในขณะขนส่งไปยังพื้นที่เป้าหมายเพื่อปล่อยสู่ธรรมชาติการปล่อยแมลงวันที่เป็นจากการฉายรังสีสู่ธรรมชาติ อาจกระทำ ได้ทั้งในระยะ ดักแด้หรือ นำ ดักแด้ไปเลี้ยงจนเป็นตัวเต็มวัยที่สมบูรณ์พร้อมผสมพันธุ์แล้ว จึงปล่อยสู่ธรรมชาติ                ทางสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการกำจัดแมลงวันผลไม้ ในพื้นที่บริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลสำเร็จอย่างดียิ่ง ทำให้ผลผลิตของผลไม้เมืองหนาว เช่น ลูกพลับ สาลี่ ท้อ และลูกพรุน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก แหล่งอ้างอิง

http://www.nst.or.th/article/article143/article48305.html

http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter8/t27-8-l2.htm

http://food.toryod.com/yodfoodTECHNOradiation.php

http://www.geocities.com/techno202544/mana/mana-chonlasin/Nuclear-energy.html

http://plantpro.doae.go.th/radiation/radiation.html

 

 

นางสาว พัชรา นันตา รหัสนิสิต 49660748
 ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม
 
            การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์" 
เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย
ในกิจการต่าง ๆ ดังนี้
                         - ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา            - ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา            - ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์            - วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ            - วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน            - วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน            - ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ            - วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม            - ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์            - ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ            - ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ            - ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปทอน -85            - ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing: NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography            - ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน            - ใช้ทำสีเรืองแสง            - ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า            - การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)

            - การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ

ประโยชน์ทางด้านการเกษตร 
 
           ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริม
กิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่ม
มากขึ้น เช่น
 
            - การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
            - เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
            - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
            - การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
            - การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
            - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
            - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
            - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
            - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation) เช่น
            
            1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ
            2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
            3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
            4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม
แหล่งที่มาของข้อมูล http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm 12 พฤศจิกายน 2550 
                              http://www.atom.rmutphysics.com/PHYSICS/oldfront/102/1/nuclear1.files/frame.htm#slide0018.htm 12 พฤศจิกายน 2550
 
นางสาวจิราภรณ์ คำห้าง รหัสนิสิต 49662780
รังสีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและทางเกษตรกรรมอย่างไรบ้าง

1. ด้านอุตสาหกรรม

ด้านอุตสาหกรรม คือ การเพิ่มผลผลิต การควบคุมคุณภาพ และการลดต้นทุนการผลิต เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวในปัจจุบันไทยได้นำเทคโนโลยีนิวเคลียร์มาใช้ในการประกอบอุตสาหกรรมต่างๆ มากขึ้น เช่น การผลิตเส้นใยสังเคราะห์สำหรับทอผ้า การผลิตปูนซีเมนต์ ไม้อัดแผ่นเรียบ กระเบื้อง กระดาษ ผลิตภัณฑ์แก้ว เหล็ก หรือโลหะอุตสาหกรรมปิโตรเลียม และปิโตรเคมี การผลิตยางรถยนต์ การผลิตน้ำอัดลม การเปลี่ยนสีอัญมณี การควบคุมคุณภาพในการก่อสร้างถนน เป็นต้น โดยการใช้เทคนิคที่สำคัญคือ การตรวจสอบโดยไม่ทำลาย หรือการใช้รังสีเป็นสารติดตามและใช้เป็นระบบควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้นตัวอย่างเช่น- ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา- ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา- วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ- วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม- ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์- ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ- ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85- ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography- ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน- ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า- การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)- การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ

2. ด้านเกษตรกรรม                    ในด้านเกษตรกรรมนี้เราสามารถนำรังสีมาใช้ประโยชน์ได้ คือ การวิจัยด้านการฉายรังสีอาหารโดยใช้รังสีแกมมาช่วยยืดอายุการเก็บของอาหารทั้งพืชผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยจะช่วยยับยั้งการงอกของพืชผัก ชะลอการสุกของผลไม้และช่วยทำลายแมลง พยาธิ หรือจุลินทรีย์ ในอาหารและผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งอำนวยประโยชน์ให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ถูกอนามัยปราศจากเชื้อโรคและพยาธิ ช่วยการถนอมอาหารและเก็บรักษาอาหารและพืชผลไว้บริโภคในช่วงฤดูกาลที่ขาดแคลนลดการนำเข้าจากต่างประเทศและเพิ่มรายได้ของประเทศโดยส่งเสริมการส่งออกของอาหารและผลิตผลการเกษตรจากการฉายรังสีซึ่งได้รับความสำเร็จเป็นอย่างมากในปัจจุบัน                    นอกจากนี้ยังนำรังสีมาใช้ในงานอื่นอีก เช่น การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบางชนิดใดลงไป ,เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น,การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ,การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร,การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภคและ การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation) เช่นในข้าวมะลิ ,ปอแก้ว,ถั่วเหลือง เป็นต้น  

                                                             www.rmutphysics.com/physics 

http://wdoae.doae.go.th/2008/readarticle.php 

http://th.wikipedia.org. 
นาย อำนาจ ยางลิ่ม 49662445
ประโยชน์ของรังสีในกิจการต่าง ๆ ในประเทศไทย
 
1. ด้านอุตสาหกรรม
               การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์" เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย
ในกิจการต่าง ๆ ดังนี้
               - ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
               - ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
               - ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
               - วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
               - วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
               - วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
               - ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
               - วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
               - ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
               - ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
               - ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
               - ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch 
module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85
               - ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive 
Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
               - ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
               - ใช้ทำสีเรืองแสง
               - ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า
               - การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron 
activation and x-ray fluorescence analysis)
               - การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ
 
2. ด้านการเกษตร ชีววิทยาและอาหาร
               ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริม
กิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่ม
มากขึ้น
 
                              
 
               - การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษา
เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบชนิดใดลงไป
               - เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืช
เศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
               - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุใน
ภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
               - การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
               - การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการ
ขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
               - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
               - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
               - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบ
ศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
               - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced 
Mutation) เช่น
               1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอม
               เหมือนข้าวขาวมะลิ
               2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า 
               และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
               3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
               4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม
การศึกษาการใช้รังสีแกมมาเพื่อผลผลิตไหมไทยพันธุ์นางเหลือง โดยการฉายรังสีแกมมากับไข่ไหม 
ที่สำนักพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ แล้วทำการเลี้ยง และศึกษาคัดเลือกที่ศูนย์วิจัยหม่อนไหม ศรีสะเกษ จนถึง
รุ่นที่ 8 พบว่าปริมาณรังสีที่เหมาะสมสำหรับการปรับปรุงผลผลิตอยู่ระหว่าง 1.5-2.5 เกรย์ ทำให้รังไหมมีเปอร์-
เซ็นต์เปลือกรังเพิ่มขึ้น 80.62 และ 60.10 เปอร์เซ็นต์ ขนาดเส้นของใยไหมเพิ่มขึ้น 11.56 และ 7.37 เปอร์เซ็นต์ 
ตามลำดับ
               ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่มีอากาศร้อน ผลเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเน่าเสียจุลินทรีย์
และพยาธิที่ก่อให้เกิดโรค รวมทั้งการทำลายของแมลงที่เกิดขึ้นกับผลผลิตการเกษตร มีปริมาณร้อยละ 30 
สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมได้จัดตั้งโรงงาน
ฉายรังสี อาหารและผลิตผลทางการเกษตรประเภทเอนกประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว และเพื่อก่อให้เกิด
ประโยชน์ร่วมกันระหว่างรัฐบาล อุตสาหกรรม และผู้บริโภค ในอันที่จะสร้างตลาดอาหารฉายรังสีภายในประ-
เทศและต่างประเทศ โรงงานฉายรังสีอาหารซึ่งมีความแรงของรังสีเริ่มต้น 450,000 คูรี ดำเนินการโดยเจ้าหน้า-
ที่ของสำนักงาน พปส. ซึ่งเป็นสถาบันที่ได้ดำเนินการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับอาหารฉายรังสี ผลิตผลการเกษตร
พวกผักและผลไม้ เนื้อ ผลิตภัณฑ์หมูและผลิตภัณฑ์ปลา ไก่ ธัญพืช รวมทั้งไม้ตัดดอกเป็นจำนวนถึง 41,000
ตันต่อปี
 
 
 
สรุป         
               เพื่อพลิกฟื้นสภาวะทางเศรษฐกิจอันหมายถึงความยากไร้ของประชาชนในชาติ ให้มีสภานะทัด-
เทียมกับมิตรประเทศและก้าวหน้าไปสู่ความอยู่ดีกินดีอย่างจริงจัง เทคโนโลยีทางพลังงานนิวเคลียร์จะเป็น
กลไกอันหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาประเทศในด้านสำคัญคือ การอุตสาหกรรม การเกษตร การแพทย์และ
อนามัย การพลังงาน สิ่งแวดล้อมและการจัดการทรัพยากร ดังที่ได้กล่าวมาทั้งทางตรงและทางอ้อม
   ข้อมูลจาก  (http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/choice3.htm)
นางสาวสุชา สุบิน 49661394
การใช้รังสีในกิจการอุตสาหกรรม มีการพัฒนาและนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ให้เกิดประดยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย และจำแนกออกเป็น 2 แบบ ตามวิธีการ ของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ คือ อุตสาหกรรมการฉายรังสี และควบคุมการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรม                อุตสาหกรรมการฉายรังสี คือ การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีวภาพ และ ทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร ซึ่งในประเทศไทยมีศูนย์ฉายรังสีอาการและผลิตผลทางการเกษตร ขึ้นอยู่สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติซึ่งใช้ โคบอลต์ - 60 มีกัมมันตรังสีตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี                อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ ก็จะใช้ โคบอลต์ - 60 ซึ่งใช้กับผลิตภัณฑ์ทงการแพทย์                อุตสาหกรรมโพลีเมอร์ รังสีแกมมาหรือ อิเล็กตรอน สามารถช่วยในการเร่งปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ                การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี เรียกว่า "เทคนิคนิวเคลียร์" มาใช้ประโยชน์ในระบบวัดและควบคุมต่างๆของโรงงานอุตสาหกรรม เช่น การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์  วัดเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ วัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก             การใช้รังสีเอ็กซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม           การใช้รังสีนิวตริน ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดินhttp://www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm ด้านเกษตรกรรม
มีประโยชน์หลัก 3 ด้าน คือ
1.ใช้ถนอมอาหาร ยับยั้งการงอกของผลผลิต เช่น หอมหัวใหญ่ มันฝรั่ง
2. ฆ่าเชื้อโรคในอาหารหรือผลิตภัณฑ์ ใช้กำจัดแมลงศัตรูพืช เช่น ทำหมันแมลงวันทอง
 3.ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชหรือสร้างพันธุ์พืชใหม่ที่สวยงามและมีคุณสมบัติที่ดีกว่าเดิมจากประโยชน์และความปลอดภัยจากการใช้รังสี
                การใช้รังสีเพื่อกำจัดแมลงและไล่ศัตรูพืชในพืชผัก ไม้ผล ไม้ดอกในเมล็ดพืช ธัญพืช เช่น มะม่วง มะขามหวาน กระเจี๊ยบเขียว กล้วยไม้ และการใช้รังสีเพื่อถนอมอาหาร ยืดอายุการเก็บรักษา ควบคุมการงอก ชะลอการสุก กำจัดเชื้อโรคและพยาธิ เช่น แหนม มันฝรั่ง พริกแห้ง พริกไทย การทำหมันแมลงผลไม้ เป็นต้น และเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ เกิดผลเป็นรูปธรรมต่องานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
                งานในด้านนี้ที่ประสบความสำเร็จมากคือ การวิจัยด้านการฉายรังสีอาหารโดยใช้รังสีแกมมาช่วยยืดอายุการเก็บของอาหารทั้งพืชผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยจะช่วยยับยั้งการงอกของพืชผัก ชะลอการสุกของผลไม้และช่วยทำลายแมลง พยาธิ หรือจุลินทรีย์ ในอาหารและผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งอำนวยประโยชน์ให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ถูกอนามัยปราศจากเชื้อโรคและพยาธิ ช่วยการถนอมอาหารและเก็บรักษาอาหารและพืชผลไว้บริโภคในช่วงฤดูกาลที่ขาดแคลนลดการนำเข้าจากต่างประเทศและเพิ่มรายได้ของประเทศโดยส่งเสริมการส่งออกของอาหารและผลิตผลการเกษตรจากการฉายรังสี
                นอกจากนี้ยังมีการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ในงานอื่นอีกด้วย  เช่น ใช้วิเคราะห์ดินเพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก  หรือ การใช้เทคนิคทางรังสี เพื่อศึกษาการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยโดยต้นไม้และพืชเศรษฐกิจต่างๆ ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น หรือการนำเทคนิคดังกล่าวมาปรับปรุงพันธ์พืช และสัตว์ เป็นต้น
  http://www.phtnet.org/article/view-article.asp?aID=19http://th.wikipedia.org/wiki/
นางสาวสุชา สุบิน 49661394
การใช้รังสีในกิจการอุตสาหกรรม                มีการพัฒนาและนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ให้เกิดประดยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย และจำแนกออกเป็น 2 แบบ ตามวิธีการ ของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ คือ อุตสาหกรรมการฉายรังสี และควบคุมการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรม                อุตสาหกรรมการฉายรังสี คือ การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีวภาพ และ ทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร ซึ่งในประเทศไทยมีศูนย์ฉายรังสีอาการและผลิตผลทางการเกษตร ขึ้นอยู่สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติซึ่งใช้ โคบอลต์ - 60 มีกัมมันตรังสีตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี                อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ ก็จะใช้ โคบอลต์ - 60 ซึ่งใช้กับผลิตภัณฑ์ทงการแพทย์                อุตสาหกรรมโพลีเมอร์ รังสีแกมมาหรือ อิเล็กตรอน สามารถช่วยในการเร่งปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ                การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี เรียกว่า "เทคนิคนิวเคลียร์" มาใช้ประโยชน์ในระบบวัดและควบคุมต่างๆของโรงงานอุตสาหกรรม เช่น การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์  วัดเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ วัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก             การใช้รังสีเอ็กซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม           การใช้รังสีนิวตริน ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดินhttp://www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm ด้านเกษตรกรรม
มีประโยชน์หลัก 3 ด้าน คือ
1.ใช้ถนอมอาหาร ยับยั้งการงอกของผลผลิต เช่น หอมหัวใหญ่ มันฝรั่ง
2. ฆ่าเชื้อโรคในอาหารหรือผลิตภัณฑ์ ใช้กำจัดแมลงศัตรูพืช เช่น ทำหมันแมลงวันทอง
 3.ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชหรือสร้างพันธุ์พืชใหม่ที่สวยงามและมีคุณสมบัติที่ดีกว่าเดิมจากประโยชน์และความปลอดภัยจากการใช้รังสี
                การใช้รังสีเพื่อกำจัดแมลงและไล่ศัตรูพืชในพืชผัก ไม้ผล ไม้ดอกในเมล็ดพืช ธัญพืช เช่น มะม่วง มะขามหวาน กระเจี๊ยบเขียว กล้วยไม้ และการใช้รังสีเพื่อถนอมอาหาร ยืดอายุการเก็บรักษา ควบคุมการงอก ชะลอการสุก กำจัดเชื้อโรคและพยาธิ เช่น แหนม มันฝรั่ง พริกแห้ง พริกไทย การทำหมันแมลงผลไม้ เป็นต้น และเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ เกิดผลเป็นรูปธรรมต่องานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
                งานในด้านนี้ที่ประสบความสำเร็จมากคือ การวิจัยด้านการฉายรังสีอาหารโดยใช้รังสีแกมมาช่วยยืดอายุการเก็บของอาหารทั้งพืชผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยจะช่วยยับยั้งการงอกของพืชผัก ชะลอการสุกของผลไม้และช่วยทำลายแมลง พยาธิ หรือจุลินทรีย์ ในอาหารและผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งอำนวยประโยชน์ให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ถูกอนามัยปราศจากเชื้อโรคและพยาธิ ช่วยการถนอมอาหารและเก็บรักษาอาหารและพืชผลไว้บริโภคในช่วงฤดูกาลที่ขาดแคลนลดการนำเข้าจากต่างประเทศและเพิ่มรายได้ของประเทศโดยส่งเสริมการส่งออกของอาหารและผลิตผลการเกษตรจากการฉายรังสี
                นอกจากนี้ยังมีการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ในงานอื่นอีกด้วย  เช่น ใช้วิเคราะห์ดินเพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก  หรือ การใช้เทคนิคทางรังสี เพื่อศึกษาการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยโดยต้นไม้และพืชเศรษฐกิจต่างๆ ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น หรือการนำเทคนิคดังกล่าวมาปรับปรุงพันธ์พืช และสัตว์ เป็นต้น
  http://www.phtnet.org/article/view-article.asp?aID=19http://th.wikipedia.org/wiki/
ชื่นฤทัย แก้วปู่ 49660274

รังสีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมได้อย่างไร
การใช้รังสีในกิจการอุตสาหกรรมได้มีการพัฒนา และนำเอาพลังงานนิวเคลียร์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทางด้านอุตสาหกรรม อย่างแพร่หลาย และสามารถ จำแนกออกเป็น 2 แบบ ตามวิธีการ ของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ คือ อุตสาหกรรมการฉายรังสี และการควบคุมการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรม
1อุตสาหกรรมการฉายรังสี การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้าน การปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์ บางชนิดในอาหาร เช่น
-การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อน ที่ถูกอัดด้วยสารโมโนเมอร์ จะกลายเป็นสารโพลิเมอร์ ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับ ทำพื้นปาร์เก้ หรือท่อนไม้ ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสี เพื่อไปช่วยให้โมโนเมอร์ จับตัวกับโพลิเมอร์ เรียกว่าการต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติ มาฉายรังสี เพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสี เพื่อไปทำให้โพลิเมอร์ จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และเป็นผลให้ผลิตภัณฑ์ มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก และโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติ ที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกัน ของโพลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)

2การควบคุมการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์"มาใช้ประโยชน์ ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลายเช่น
- ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
- ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
- ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
- วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
- วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
- ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
- วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
- ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
- ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
- ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
- ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85
- ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
- ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
- ใช้ทำสีเรืองแสง
- ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้าบนสายพานลำเลียง
- การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)
- การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก

การใช้รังสีในกิจการเกษตรกรรม
ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมกิจการเกษตร การเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่มมากขึ้น เช่น
- การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
- เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
- การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
- การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
- การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
- การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
- การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
- การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
- การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธุ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation) เช่น
 1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ
 2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
 3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
 4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม

แหล่งอ้างอิงแหล่งอ้างอิง

                        http://www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm
                     http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm

 

 

 

 

นางสาวนภาพร ปวงมาลัย

รังสี (Radiation)      คือ พลังงานชนิดหนึ่ง ที่แผ่ออกมาจากต้นกำเนิด เช่น ความร้อน รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา
         เราสามารถนำพลังงานเหล่านี้มาใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ใช้ความร้อนในการปรุงอาหาร ใช้รังสีแกมมาจากสารรังสีในการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง หรือฆ่าเชื้อโรคและเราสามารถนำรังสีมาใช้ประโยชน์ทั้งทางด้านอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมได้ ดังนี้

 การใช้รังสีในด้านอุตสาหกรรม การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร โดยมีตัวอย่างดังต่อไปนี้ ก. การฉายรังสีอาหาร ประเทศไทยมีศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตร ซึ่งขึ้นอยู่กับสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ โดยเปิดเป็นทางการตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๒ ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ มีกัมมันตภาพรังสีตอนเริ่มต้น ๔๔,๐๐๐ คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรที่สำคัญคือ เครื่องเทศ สมุนไพร ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ กระเทียม แหนม ถั่วเขียว และมะขามหวาน ข. อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ รังสีแกมมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ ได้นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ โดยมีจำนวนมากกว่า ๑๔๐ โรงงาน ใน ๔๐ ประเทศ สำหรับประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน ๕ แห่ง ค. อุตสาหกรรมพอลิเมอร์ รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนสามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกพอลิเมอร์ต่างๆ เช่น - การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่ถูกอัดด้วยสารมอนอเมอร์ จะทำให้กลายเป็นสารพอลิเมอร์ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับทำพื้นปาร์เกต์หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง - การฉายรังสีเพื่อไปช่วยให้มอนอเมอร์จับตัวกับพอลิเมอร์เรียกว่า การต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติมาฉายรังสีเพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก - การฉายรังสีเพื่อไปทำให้พอลิเมอร์จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ในการผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติกและโฟม

- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกันของพอลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)

การตรวจวัดและควบคุมโดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีซึ่งเรียกว่าเทคนิคนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในระบบตรวจวัดและควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบัน มีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย มีตัวอย่างคือ - การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหล หรือสารเคมีในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ - การใช้รังสีแกมมาวัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ - การใช้รังสีแกมมาวัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระดาษ และกระเบื้อง - การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบ เพื่อการผลิตยางรถยนต์ - การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก - การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ - การใช้รังสีเอกซ์วัดหาปริมาณตะกั่ว และกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม - การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดิน - การใช้รังสีแกมมาตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่วและรอยร้าวของวัสดุ

- การใช้รังสีแกมมาวัดหาปริมาณเถ้าในถ่านหินบนสายพานลำเลียง

 

การใช้รังสีในด้านการเกษตร๑. การปรับปรุงพันธุ์พืช การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทย พืชที่สามารถปรับปรุงพันธุ์ได้สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่าง แพร่หลายมีอยู่ ๑๐ ชนิด คือ ข้าวจำนวน ๓ พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ กข๖ กข

๑๐ และ กข๑๕ ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ และพืชสวน ได้แก่ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง

๒. การทำหมันแมลง วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลง ให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้ ต่อมานำดักแด้ไปฉายรังสีแกมมาเพื่อให้เป็นหมันแล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้ เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด การควบคุมจำนวนของแมลงโดยวิธีทำหมันด้วยรังสีนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด ไม่มีผลต่อแมลงชนิดอื่นที่เป็นประโยชน์ เช่น ผึ้ง ผีเสื้อ และแมลงปอทางสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการกำจัดแมลงวันผลไม้ ในพื้นที่บริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลสำเร็จอย่างดียิ่ง ทำให้ผลผลิตของผลไม้เมืองหนาว เช่น ลูกพลับ สาลี่ ท้อ และลูกพรุน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก ๓. การถนอมอาหารด้วยรังสี

การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาให้พลังงานสูงถึง ๑.๓๓ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน ที่ให้อิเล็กตรอนพลังงานสูงถึง ๑๐ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลงตาย หรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้น รังสีจะทำให้อัตราการหายใจและกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป ทำให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลง กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้

 

ที่มา http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter8/t27-8-l2.htm 

http://www.geocities.com/j_phasuk2000/4childrenRoom/radiation.html

 

 

 

นางสาวยุพิน แสนยังกูล รหัสนิสิต 49660892


การใช้ประโชน์จากรังสีในทางการเกษตรและอุตสาหกรรม
  1. การใช้ประโยชน์จากรังสีในทางอุตสาหกรรม
                จากการศึกษาค้นคว้าสรุปได้ดังนี้
           1.ผลของรังสีแกมมาที่มีต่ออายุการเก็บและคุณภาพของกุ้งแช่แข็ง (Penaeus merquiensis)
                       การใช้รังสีแกมมาปริมาณต่ำ เพื่อยืดอายุการเก็บและคุณภาพของกุ้งแช่แข็ง
           2.การใช้พลังงานปรมาณูทางด้านอุตสาหกรรมในประเทศไทย
                       ปัจจุบันประเทศไทยมีการใช้พลังงานปรมาณูในทางสันติหลายสาขา เช่น การแพทย์ การเกษตร อุตสาหกรรม การศึกษา ค้นคว้าวิจัย และอื่นๆ 
           แต่ตอนนี้เราจะกล่าวเฉพาะการใช้ทางด้านอุตสาหกรรมเท่านั้น เพื่อเป็นการชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ที่ได้รับ ก็จะแบ่งเป็นข้อๆ ดังนี้
                       1. การผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บางชนิด จำเป็นต้องตรวจสอบเรื่องการรั่วซึมของสิ่งที่ผลิตขึ้นมาก่อนออกจากโรงงาน ซึ่งปัจจุบันเทคนิคที่ใช้กันอย่างมีประสิทธิภาพคือ การใช้เทคนิคทางนิวเคลียร์เป็นตัวช่วย
                       2. การผลิตของบางสิ่งที่ต้องการความหนาแน่นที่แน่นอน  โดยเฉพาะเครื่องควบคุมความหนา จะต้องมีประสิทธิภาพในการผลิตให้ได้ความหนาที่ถูกต้อง เพราะถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว ความสูญเสียจะเกิดขึ้นมาก ซึ่งเราจะใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีบีตาหรือแกมมาเพื่อวัดความหนาของสิ่งที่ผลิตนั้น
                       3. การขุดอุโมงค์ใต้ดิน ต้องใช้เทคนิคการฉีดน้ำโคลนเข้าไป โดยที่น้ำโคลนที่ฉีดนั้นจะต้องมีความเข้มข้นคงที่ ซึ่งการควบคุมความเข้มข้นของน้ำโคลนที่ไหลผ่านท่อเหล็ก ต้องใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากวัสดุกัมมันตรังสีช่วย
                       4. การผลิตยางรถยนต์ก็มีการใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีบีตาที่แผ่ออกจากวัสดุกัมมันตรังสี
                       5. การขูดแร่ ใช้เทคนิคทางนิวเคลียร์ โดยใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีแกมมาช่วยวัดความหนาแน่นของวัตถุที่ดูดขึ้นมา แล้วนำข้อมูลมาคำนวณหาปริมาณดินที่จะขูด
                       6. การขจัดประจุไฟฟ้าสถิตบนฟิล์ม เพื่อลดการจับของฝุ่นละอองบนฟิล์ม โดยมีการใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีแอลฟาที่แผ่ออกจากวัสดุกัมมันตรังสี
                       7. การวิเคราะห์หาความเข้มข้นของแร่ธาตุบางชนิดในตัวอย่างแร่ โดยใช้วิธีการทางนิวเคลียร์ที่เรียกว่า เอกซเรย์ฟลูโอเรสเซนส์ (X-ray fluorescence) 
            3.เทคนิคการตรวจสอบโดยวิธีถ่ายภาพด้วยรังสีทางอุตสาหกรรม
                      1. การให้บริการตรวจสอบวัสดุและผลิตภัณฑ์ต่างๆ  โดยเทคนิคถ่ายภาพด้วยรังสี  เพื่อตรวจหาตำหนิบกพร่องของโครงสร้างชิ้นส่วนอุปกรณ์ที่ผลิตขึ้น  
                      2. ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการหัวข้อการตรวจสอบโดยไม่ทำลาย (Non Destructive Testing =NDT) ให้กับบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องจากภาครัฐบาล  รัฐวิสาหกิจและเอกชน   
           4. การใช้เทคนิคทางรังสีตรวจสอบระบบแลกเปลี่ยนความร้อน
                      ประโยชน์ที่ได้รับ
                            การตรวจสอบระบบแลกเปลี่ยนความร้อนโดยเทคนิคทางรังสี เป็นการตรวจสอบแบบไม่ทำลายสามารถกระทำได้โดยไม่ต้องหยุดกระบวนการผลิต และให้ผลการตรวจสอบที่ถูกต้องแม่นยำโดยทันที โดยการฉีดสารรังสีแกมมาครึ่งชีวิตสั้น เข้าไปในระบบการผลิตและวัดปริมาณความเข้มรังสี ณ ทางเข้าและทางออกของระบบแลกเปลี่ยนความร้อน  ทำให้ทราบว่าเกิดการรั้วไหลในระบบหรือไม่ ตรงตำแหน่งไหน และมากน้อยเพียงใด รวมทั้งคำนวณได้ว่าระบบแลกเปลี่ยนความร้อนมีประสิทธิภาพเพียงใด ตรงกับการออกแบบหรือไม่ ข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบด้วยวิธีนี้ช่วยให้วิศวกรและผู้บริหารโรงงานสามารถตัดสินใจวางแผนแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว สามารถลดระยะเวลาการซ่อมบำรุง สามารถปรับปรุงประสิทธิภาพระบบการผลิตและคุณภาพผลผลิตให้ดีขึ้น
            5. การใช้เทคโนโลยีด้านสารรังสีติดตามในอุตสาหกรรม
                      ประโยชน์ที่ได้รับ
                         ฝ่ายเทคนิคอุตสาหกรรมจะดำเนินงานวิจัยและให้บริการแก่ภาคอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและ ปิโตรเคมี โดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ด้านสารรังสีติดตาม ในการตรวจสอบโดยไม่ทำลาย เพื่อวิเคราะห์ปัญหาทางโครงสร้างและระบบการทำงานของอุปกรณ์การผลิตที่สำคัญโดยมีรายละเอียดของเทคนิคต่างๆ ดังนี้
                              1. เทคนิคแกมมาแสกน (Gamma Scanning Technique)
                              2 .เทคนิคสารรังสีติดตาม(Radiotracer Technique)

  2.การใช้ประโยชน์จากรังสีในด้านเกษตรชีววิทยาและอาหาร
                  จากการศึกษาค้นคว้าสามารถสรุปได้ดังนี้
           1.การใช้รังสีควบคุมและกำจัดแมลง
                  รังสีที่ใช้ควบคุมและกำจัดแมลงได้แก่ รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ และรังสีอิเลคตรอน    สามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
                              1.การกำจัดแมลงในผลิตผลการเกษตร
                                       1. การฉายรังสีลําไยเพื่อกําจัดแมลงวันผลไม้ในการกักกันพืช
                                       2. การฉายรังสีกำจัดแมลงในผักสดเพื่อการส่งออก
                              2. การควบคุมประชากรแมลงโดยการใช้แมลงที่เป็นหมันด้วยรังสี
                                       1. การควบคุมและกำจัดแมลงวันผลไม้ โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมันด้วยรังสีI 
                                       2. การควบคุมและกำจัดหนอนเจาะสมอฝ้ายโดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมันในรุ่นลูก
          2. รังสีกับการปรับปรุงพันธุ์พืช
                    การใช้รังสีในการปรับปรุงพันธุ์พืช  เป็นวิธีการหนึ่งในการชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของพืช   โดยทำให้สารพันธุกรรมหรือยีนของพืชนั้นเองเกิดการเปลี่ยนแปลง  ไม่มีการนำยีนจากภายนอกเข้าไป   ซึ่งทางการเกษตรที่มีการนำรังสีไปใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช คือ
                             1. การใช้รังสีแกมมาปรับปรุงคุณภาพรำข้าวเพื่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้ง
                             2. การปรับปรุงสายพันธุ์ของ Phaffia rhodozyma โดยการฉายรังสี
         3.รังสีกำจัดแมลง เพิ่มคุณภาพผลผลิต
                             1.  การยืดอายุการเก็บรักษาและการปรับปรุงคุณภาพทางจุลินทรีย์ของปลาร้าด้วยรังสีแกมมา
                             2.  การใช้รังสีแกมมาเพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับชงดื่ม
                             3.  การกำจัดแมลงในสมุนไพรชงด้วยรังสีแกมมา


            แหล่งที่มา :
        http://www.oaep.go.th/nstkc/content/section/4/29/
        http://www.oaep.go.th/nstkc/content/category/4/69/29/
        http://www.oaep.go.th/nstkc/content/category/4/70/29/
        http://www.google.co.th/search?hl=th&q
                   ค้นหาข้อมูลในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2550   เวลา 12.30 น.
         

นางสาวลลิตา ม่วงเครือสุข

การใช้ประโยชน์ขจากรังสีในด้านอุตสหกรรม

๑. อุตสาหกรรมด้านพลังงาน
ก. อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการผลิตเรือสินค้า เรือเดินสมุทร เรือตัดน้ำแข็ง เรือดำน้ำที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์
ข. อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์


๒. อุตสาหกรรมการฉายรังสี
การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร โดยมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
ก. การฉายรังสีอาหาร
ประเทศไทยมีศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตร ซึ่งขึ้นอยู่กับสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ โดยเปิดเป็นทางการตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๒ ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ มีกัมมันตภาพรังสีตอนเริ่มต้น ๔๔,๐๐๐ คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรที่สำคัญคือ เครื่องเทศ สมุนไพร ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ กระเทียม แหนม ถั่วเขียว และมะขามหวาน
ข. อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์
รังสีแกมมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ ได้นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ โดยมีจำนวนมากกว่า ๑๔๐ โรงงาน ใน ๔๐ ประเทศ สำหรับประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน ๕ แห่ง
ค. อุตสาหกรรมพอลิเมอร์
รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนสามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกพอลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่ถูกอัดด้วยสารมอนอเมอร์ จะทำให้กลายเป็นสารพอลิเมอร์ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับทำพื้นปาร์เกต์หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสีเพื่อไปช่วยให้มอนอเมอร์จับตัวกับพอลิเมอร์เรียกว่า การต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติมาฉายรังสีเพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสีเพื่อไปทำให้พอลิเมอร์จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ในการผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติกและโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกันของพอลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)


๓. การตรวจวัดและควบคุมโดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม
การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีซึ่งเรียกว่า “เทคนิคนิวเคลียร์” มาใช้ประโยชน์ในระบบตรวจวัดและควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบัน มีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย มีตัวอย่างคือ
- การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหล หรือสารเคมีในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมาวัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมาวัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระดาษ และกระเบื้อง
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบ เพื่อการผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์วัดหาปริมาณตะกั่ว และกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
- การใช้รังสีแกมมาตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่วและรอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมาวัดหาปริมาณเถ้าในถ่านหินบนสายพานลำเลียง

การใช้ประโยชน์จากรังสีในด้านเกษตรกรรม
๑. การปรับปรุงพันธุ์พืช
การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทย พืชที่สามารถปรับปรุงพันธุ์ได้สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่าง แพร่หลายมีอยู่ ๑๐ ชนิด คือ ข้าวจำนวน ๓ พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ กข๖ กข๑๐ และ กข๑๕ ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ และพืชสวน ได้แก่ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง
๒. การทำหมันแมลง
วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลง ให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้ ต่อมานำดักแด้ไปฉายรังสีแกมมาเพื่อให้เป็นหมันแล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้ เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด การควบคุมจำนวนของแมลงโดยวิธีทำหมันด้วยรังสีนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด ไม่มีผลต่อแมลงชนิดอื่นที่เป็นประโยชน์ เช่น ผึ้ง ผีเสื้อ และแมลงปอทางสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการกำจัดแมลงวันผลไม้ ในพื้นที่บริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลสำเร็จอย่างดียิ่ง ทำให้ผลผลิตของผลไม้เมืองหนาว เช่น ลูกพลับ สาลี่ ท้อ และลูกพรุน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก
๓. การถนอมอาหารด้วยรังสี
การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาให้พลังงานสูงถึง ๑.๓๓ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน ที่ให้อิเล็กตรอนพลังงานสูงถึง ๑๐ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลงตาย หรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้น รังสีจะทำให้อัตราการหายใจและกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป ทำให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลง กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้
๔. ประโยชน์ทางด้านอื่นๆ
ก. เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อปรับปรุง การใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ข. การใช้เทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา เพื่อเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดินสำหรับการเกษตร
ค. การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช ชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
ง. การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสีนิวตรอน เพื่อวิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง และธาตุมลพิษ ซึ่งมีความสำคัญ ต่อผู้บริโภค

httpkanchanapisek.or.thkp6BOOK27chapter8t27-8-l2.htm

 

ประโยชน์ของรังสีที่ใช้ในอุตสาหกรรม  
   การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์" เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย
ในกิจการต่าง ๆ ดังนี้
- ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
- ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
- ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
- วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
- วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
- ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
- วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
- ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
- ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
- ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
- ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch
module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85
- ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive
Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
- ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
- ใช้ทำสีเรืองแสง
- ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า
- การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron
activation and x-ray fluorescence analysis)
- การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด
ถุงมือ
ในประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 165 แห่ง ทีนำสารกัมมันตรังสี โคบอลต์-60 มาใช้ ดังนี้
   -  การวัดระดับ เช่น โรงงานทอผ้า , โรงงานพลาสติก
   -  การวัดความหนา เช่น โรงงานโลหะ
   -  การวัดความหนาแน่น เช่น โรงงานพลาสติก , โรงงานกระเบื้อง
   -  การสำรวจหลุมเจาะ เพื่อเสาะหาแหล่งแร่
   -  การฉายรังสีเวชภัณฑ์ เช่น เข็มฉีดยา , ถุงมือ , มีดผ่าตัด และยารักษาโรค

ประโยชน์ของรังสีในด้านการเกษตร
           ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมกิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่มมากขึ้น
- การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษา
เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบชนิดใดลงไป
- เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืช
เศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
- การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุใน
ภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
- การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
- การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ใน      การขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
- การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
- การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
- การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบ
ศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
- การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced
Mutation) เช่น
1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ
2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า
และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม
    ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ผ่านการฉายรังสีมาแล้วนั้นจะไม่มีรังสีตกค้างอยู่เลย ทั้งนี้เนื่องจากรังสีแกมมาที่นำมาใช้ จะไม่แตกตัวและไม่ทำให้ตัวกลางกลายเป็นรังสีแต่อย่างใด ดังนั้นอาหารที่ผ่านการฉายรังสี จึงปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค

แหล่งข้อมูล   http://www.oknation.net/blog/print.php?id=77864

 

นางสาวปวรรณรัตน์ เพชรชาติชั้น รหัสนิสิต 49660618
**รังสีในทางอุตสาหกรรม                การนำรังสีมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมนั้นสามารถจำแนกออกเป็น 2 แบบตามวิธีการของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ คือ อุตสาหกรรมการฉายรังสี และการควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม ดังนี้1.       อุตสาหกรรมการฉายรังสี              1.1  การนำรังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร                1.2  การใช้รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรค ในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ                1.3  อุสาหกรรมโพลีเมอร์ ได้นำรังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนมาใช้ เพื่อช่วยในการเร่งการเกิดปฏิกิริยา ในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ เช่น                -  การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อน ที่ถูกอัดด้วยสารโมโนเมอร์ จะกลายเป็นสารโพลิเมอร์ที่มีความแข็งแรงมากขึ้น ซึ่งจะใช้สำหรับทำพื้นปาร์เก้ หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง                -  การฉายรังสี เพื่อไปช่วยให้โมโนเมอร์จับตัวกับโพลิเมอร์ เรียกว่า การต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติมาฉายรังสี เพื่อทำกาวให้เหนี่ยวขึ้น หรือทำยางพลาสติก                -  การฉายรังสี เพื่อไปทำให้โพลิเมอร์จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และเป็นผลให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก และโฟม                 -  การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกันของโพลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)            2.     การตรวจวัดและควบคุม     โดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า เทคนิคนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย ตัวอย่างเช่น2.1   การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหลหรือสารเคมีในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
2.2   การใช้รังสีแกมมาวัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
2.3   การใช้รังสีแกมมาวัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ
2.4   การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบ
เพื่อผลิตยางรถยนต์ 
                2.5   การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก 
                2.6   การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ 
                2.7   การใช้รังสีเอกซ์วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
                2.8   การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
                2.9   การใช้รังสีแกมมาตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว รอยร้าวของวัสดุ
                2.10 การใช้รังสีแกมมาวัดหาปริมาณถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้าในถ่านหินบนสายพานลำเลียง
                2.11  ใช้ในการควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
                2.12  ใช้ในการวัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
                2.13  ใช้ในการวัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
                2.14  ใช้ในการควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
                2.15  ใช้ในการควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
                2.16  ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
                2.17  ใช้ในการตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watchmodule ต่างๆ ด้วยก๊าซคริปตอน-85
                2.18  ใช้ในการตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน 
(Non-Destructive Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
    ที่มา...http://www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm     
 
**รังสีในด้านการเกษตร
                                   
               เนื่องจากประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร จึงมีโครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมกิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างเช่น
                    1.   การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษา
เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด และควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
                    2.   เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืช
เศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                    3.   การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุใน
ภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
                    4.   การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
                    5.   การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
                    6.   การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
                    7.   การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
                    8.   การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
                    9.   การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม 
(Induced Mutation) เช่น
                    9.1  ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอม
เหมือนข้าวขาวมะลิ
                    9.2  ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า 
และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
                    9.3  ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
                    9.4  ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม เป็นต้น
                    10.  การฉายรังสีอาหาร (food irradiation) โดยใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 ซึ่งมีกัมมันตภาพรังสีเริ่มต้น 44,000 คูรี่ ในปัจจุบันมีการฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรที่สำคัญๆ เช่น เครื่องเทศ สมุนไพร   กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ กระเทียม แหนม ผลไม้ เช่น ฝรั่ง สตอเบอร์รี่ ลำไย มะขามหวาน และมะม่วงเพื่อชะลอการสุกและลดการเน่าเสีย เป็นต้น
                  ที่มาhttp://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm                  
                             http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/choice3.htm   
 
   

     รังสี คือคลื่นแม่ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่มีความยาวคลื่นสั้นแต่ความถี่สูง รังสีเกิดขึ้นในธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น รังสีนั้นมีทั้งประโยชน์และโทษ

    รังสีสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม คือ

    -  โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนชนิดหนึ่งใช้ความร้อนทำให้น้ำเดือดกลายเป็นไอ ไปหมุนกังหันเพื่อหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าทำการผลิตไฟฟ้าความแตกต่างอยู่ที่แหล่งกำเนิดความร้อน ซึ่งได้มาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์แทนที่จะเป็นการเผาไหม้ ของเชื้อเพลิง น้ำมัน ถ่านหินหรือก๊าซธรรมชาติ

    -  มีการนำเทคโนโลยีทางรังสีมาช่วยการตรวจสอบรอยร้าว รอยเชื่อมของโครงสร้างต่าง ๆ ของโรงงานวิเคราะห์ความผิดปกติของการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมหรือมีการเพิ่มคุณค่าของอัญมณี รวมถึงประเทศไทยของเราที่มีโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 165 แห่งได้มีการพัฒนานำสารกัมมันตรังสีโคบอลต์-60 มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพคุณค่าของงานในโรงงานมี ดังนี้

     1)  การวัดระดับ เช่น โรงงานทอผ้า โรง งานพลาสติก  

      2)  การวัดความหนา เช่น โรงงานโลหะ 

      3)  การวัดความหนานแน่น เช่น โรงงานพลาสติก โรงงานกระเบื้อง

      4)  การสำรวจหลุมเจาะเพื่อเสาะหาแหล่งแร่

      5)  การฉายรังสีเวชภัณฑ์ เช่น เข็มฉีดยา ถุงมือ มีดผ่าตัดและยารักษาโรค

      รังสีที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในทางเกษตรกรรม คือ

      - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในย้งฉางและภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย

     - การใช้รังสีเพื่อกำจัดศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน

     - การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผักและผลไม้ โดยการฉายรังสีเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น  เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดุกาล

    - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ

    - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทุกวิทยาในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร

    - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช  ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค

    - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันพืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutatoin )  เช่น

    1) ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวจ้าวจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ

   2) ข้าวพันธุ์ กข15 ซึ่งเป็นผลมาจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า และมีผลผลิตสูงกว่า ขาวมะลิ15

   3) ปอแก้วเมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า

   4) ถั่วเหลืองที่มีความทนทานต่อราสนิม 

 

การใช้ประโยชน์จากรังสีในด้านอุตสาหกรรม

  ได้มีการพัฒนา และนำเอาพลังงานนิวเคลียร์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทางด้านอุตสาหกรรม อย่างแพร่หลาย และสามารถ จำแนกออกเป็น 2 แบบ ตามวิธีการ ของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ คือ อุตสาหกรรมการฉายรังสี และการควบคุมการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรม ดังนี้ 
อุตสาหกรรมการฉายรังสี  การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้าน การปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์ บางชนิดในอาหาร
 การฉายรังสีอาหาร (food irradiation) ประเทศไทยมีศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ซึ่งเป็นโรงงานต้นแบบ ขึ้นอยู่กับสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เปิดเป็นทางการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 มีกัมมันภาพรังสี ตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ที่สำคัญ คือ เครื่องเทศ สมุนไพร ฝรั่ง ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ และกระเทียม เป็นต้น 
อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ได้ถูกนำมาใช้ ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรค ในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ อันได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ มีจำนวนมากกว่า 140 โรงงาน ใน 40 ประเทศ สำหรับประเทศไทย มีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน 5 แห่ง 
อุตสาหกรรมโพลีเมอร์ รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอน สามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยา ในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อน ที่ถูกอัดด้วยสารโมโนเมอร์ จะกลายเป็นสารโพลิเมอร์ ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับ ทำพื้นปาร์เก้ หรือท่อนไม้ ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสี เพื่อไปช่วยให้โมโนเมอร์ จับตัวกับโพลิเมอร์ เรียกว่าการต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติ มาฉายรังสี เพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสี เพื่อไปทำให้โพลิเมอร์ จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และเป็นผลให้ผลิตภัณฑ์ มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก และโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติ ที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกัน ของโพลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)
การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า “เทคนิคนิวเคลียร์” มาใช้ประโยชน์ ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลาย ในประเทศไทย ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมา วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- การใช้รังสีแกมมา วัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยาง ที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบเพื่อผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตา วัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษ ในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอน ในการสำรวจแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
- การใช้รังสีแกมมา ตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว รอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมา วัดหาปริมาณเถ้า ในถ่านหินบนสายพานลำเลียง


นอกจากนี้ ยังมีการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ อีกมาก เช่น

- ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันใต้ดิน ความชื้นในดิน ด้วยรังสีนิวตรอน 
 - ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์ 
 - ใช้วัดระดับของของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสี แกมมา 
 - วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อ       คำนวณปาปริมาณแร่ที่ดูด 
 - ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์ 
 - ควบคุมกระบวนการผลิตกระจกและกระดาษให้มีความหนาสม่ำเสมอ 
 - ใช้เป็นเครื่องกำจัดประจุไฟฟ้าสถิตบนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนต์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ เป็นต้น 

การใช้ประโยชน์จากรังสีในด้านเกษตรกรรม

   ในปัจจุบัน ได้มีการใช้ เทคโนโลยีนิวเคลียร์เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเกษตร ในหลาย ๆ ด้าน เช่น

๑. การปรับปรุงพันธุ์พืช
การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทย พืชที่สามารถปรับปรุงพันธุ์ได้สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่าง แพร่หลายมีอยู่ ๑๐ ชนิด คือ ข้าวจำนวน ๓ พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ กข๖ กข๑๐ และ กข๑๕ ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ และพืชสวน ได้แก่ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง
๒. การทำหมันแมลง
วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลง ให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้ ต่อมานำดักแด้ไปฉายรังสีแกมมาเพื่อให้เป็นหมันแล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้ เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด การควบคุมจำนวนของแมลงโดยวิธีทำหมันด้วยรังสีนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด ไม่มีผลต่อแมลงชนิดอื่นที่เป็นประโยชน์ เช่น ผึ้ง ผีเสื้อ และแมลงปอทางสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการกำจัดแมลงวันผลไม้ ในพื้นที่บริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลสำเร็จอย่างดียิ่ง ทำให้ผลผลิตของผลไม้เมืองหนาว เช่น ลูกพลับ สาลี่ ท้อ และลูกพรุน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก
๓. การถนอมอาหารด้วยรังสี
การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาให้พลังงานสูงถึง ๑.๓๓ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน ที่ให้อิเล็กตรอนพลังงานสูงถึง ๑๐ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลงตาย หรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้น รังสีจะทำให้อัตราการหายใจและกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป ทำให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลง กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้
๔. ประโยชน์ทางด้านอื่นๆ
ก. เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อปรับปรุง การใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ข. การใช้เทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา เพื่อเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดินสำหรับการเกษตร
ค. การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช ชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
ง. การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสีนิวตรอน เพื่อวิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง และธาตุมลพิษ ซึ่งมีความสำคัญ ต่อผู้บริโภค
 httpwww.nst.or.tharticlenotes01article008.htm
น.ส.ธัญญาลักษณ์ แก้วจุฬา รหัสนิสิต 49660489 ชั้นปีที่ 2
- รังสีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมใดบ้างทางเกษตรกรรม1. รังสีกับการปรับปรุงพันธุ์พืช                การปรับปรุงพันธุ์พืชด้วยรังสีนั้นเป็นวิธีที่สะดวกและรวดเร็วกว่า ทั้งนี้เพราะไม่จำเป็นต้องนำพืชที่มีลักษณะเด่นหลาย ๆ พันธุ์มาผสมกัน หากแต่เรามีเพียง ตา หน่อ เนื้อเยื่อหรือเมล็ดพันธุ์ของพืชที่มีลักษณะดีเพียงชนิดเดียวก็สามารถนำมาฉายรังสีให้เกิดการเปลี่ยนแปลงให้มีลักษณะอื่นที่ดีขึ้นได้ ทั้งนี้เพราะรังสีจะเหนี่ยวนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในพืชทำให้เกิดการกลายพันธุ์ ได้ลักษณะใหม่ที่ดีกว่าเดิมขึ้นมา ขั้นตอนของการปรับปรุงพันธุ์พืชวิธีนี้เริ่มจากการคัดสรรเมล็ดพันธุ์ของพืชที่มีลักษณะดี นำมาฉายรังสีในปริมาณที่เหมาะสม ก่อนจะนำไปปลูกเพื่อคัดเลือกต้นที่มีลักษณะตามที่เราต้องการ ทั้งนี้แม้การใช้รังสีจะสะดวกกว่าการปรับปรุงพันธุ์พืชด้วยวิธีมาตรฐานแต่ไม่ได้หมายความว่าจะเห็นผลในทันที ด้วยเหตุเพราะเราไม่สามารถกำหนดลักษณะการกลายพันธุ์ที่จะเกิดขึ้นจากการฉายรังสีได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องอาศัยเวลาในการทดลองปลูกเพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่มีลักษณะตามที่ต้องการ โดยไม่สูญเสียลักษณะที่ดีดั้งเดิมไป และยังต้องตรวจสอบว่าลักษณะที่เราต้องการนั้นสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานรุ่นต่อ ๆ ไปได้หรือไม่อีกด้วย2. มะขามหวานฉายรังสีโดยการใช้วิธีการลดความชื้นโดยการฉายรังสีปริมาณ 1 กิโลเกรย์ สามารถควบคุมเชื้อราและกำจัดแมลงที่ปนเปื้อนมาในมะขามหวานได้หมดสิ้น  มะขามหวานที่ผ่านการฉายรังสีสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานกว่า 8 เดือน โดยยังมีคุณภาพเป็นที่ต้องการของผู้ชิมทางอุตสาหกรรม1. อาหารฉายรังสี อาหารฉายรังสี คือ อาหารที่ผ่านกระบวนการฉายรังสีด้วยรังสีแกมมาในปริมาณรังสีที่เหมาะสมซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสีที่ตกค้าง แต่ประการใดจึงไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศจะต้องมีฉลากแสดงข้อความและเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้ง ของผู้ผลิต ผู้ฉายรังสี และวันเดือนปีที่ฉายรังสี ประโยชน์ของการฉายรังสีอาหาร
1. ลดการสูญเสียของอาหารในระหว่างการเก็บรักษาและรอการจำหน่ายทำให้มีอาหารมากขึ้นสำหรับการบริโภคและการส่งออก เช่น
- ยับยั้งการงอกของหอมหัวใหญ่และมันฝรั่ง
- ชะลอการสุกของมะม่วง มะละกอ และกล้วย
- ควบคุมและกำจัดแมลงในข้าวสาร ปลาแห้ง และปลารมควัน
2. ลดปัญหาการติดเชื้อจากอาหาร เช่น โรคท้องร่วง และโรคพยาธิ เช่น
- ทำลายเชื้อซัลโมเนลลาในกุ้งและเนื้อไก่แช่แข็ง
- ทำลายพยาธิในแหนมและปลาดิบ
3. ลดการใช้สารเคมีเพื่อการเก็บรักษาหรือการป้องกันกำจัดในแปลงปลูกทำลายจุลินทรีย์ในเครื่องเทศ เครื่องปรุงและแมลงวันทองในผลไม้โดยไม่จำเป็นต้องรมควันด้วยสารเคมี
4. ยืดอายุการเก็บรักษาและการวางตลาดสามารถส่งไปจำหน่ายในท้องที่ห่างไกลจากแหล่งผลิตได้มากขึ้น
5. ทำให้ผลิภัณฑ์มีคุณภาพเป็นไปตามข้อกำหนดด้านสุขอนามัย ช่วยลดปัญหาการถูกกักกัน (quarantine) และเพิ่มศักยภาพในการส่งออก
2.น้ำมันที่กลั่นออกจากโรงกลั่นน้ำมัน จำเป็นต้องวิเคราะห์หาปริมาณกำมะถันเพื่อควบคุมทางด้านคุณภาพ ซึ่งวิธีการวิเคราะห์ก็คงมีหลายวิธี แต่ปัจจุบันได้มีการใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีบีตาที่แผ่ออกจากวัสดุกัมมันตรังสีทางชนิดเข้าช่วยวิเคราะห์แล้ว ซึ่งเมืองไทยก็มีใช้อยู่ ๒ โรง 3.การขุดอุโมงค์ใต้ดิน บางครั้งก็ต้องใช้เทคนิคการฉีดน้ำโคลนเข้าไป โดยที่น้ำโคลนที่ฉีดนั้นจะต้องมีความเข้มข้นคงที่ขนาดหนึ่ง ซึ่งการควบคุมความเข้มข้นของน้ำโคลนที่ไหลผ่านท่อเหล็กนั้น ต้องใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากวัสดุกัมมันตรังสีช่วย วิธีการแบบนี้ก็ใช้แล้วในเมืองไทย  4.การผลิตยางรถยนต์ ก็มีการใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีบีตาที่แผ่ออกจากวัสดุกัมมันตรังสีเช่นกัน ประเทศไทยมีโรงงานอยู่แห่งหนึ่งที่ใช้รังสีช่วยในการวัดความหนาของยางที่เคลือบผ้าใบ5.การวิเคราะห์หาความเข้มข้นของแร่ธาตุบางชนิดในตัวอย่างแร่ ก็สามารถใช้วิธีการทางนิวเคลียร์ที่เรียกว่า เอกซเรย์ฟลูโอเรสเซนส์ (X-ray fluorescence) ได้เช่นกัน วิธีนี้ไม่ต้องใช้กรรมวิธีทางเคมี ปัจจุบันสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติก็ได้ใช้วิธีวิเคราะห์แร่ตัวอย่างอยู่เป็นประจำ6.การขจัดประจุไฟฟ้าสถิตบนฟิล์ม เพื่อลดการจับของฝุ่นละอองบนฟิล์ม ก็มีการใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีแอลฟาที่แผ่ออกจากวัสดุกัมมันตรังสีแล้วเช่นกัน ขณะนี้มีใช้อยู่ ๑๐ แห่ง                                                  Referencehttp://km.oaep.go.th/vlibrary/Docdetail.aspx?DocID=43http://km.oaep.go.th/vlibrary/CategoryDetail.aspx?CategoryID=11http://agriqua.doae.go.th/radiation/food.html   
นางสาวสุนันทา บุญช่วย 49662377
การนำรังสีไปใช้ในอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

        การประยุกต์ใช้การนำรังสีมาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมนั้น เป็นเรื่องที่นำนำหลักการทางรังสีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และที่เห็นหลัก ๆ นั้นคือการฉายรังสี  ซึ่งการฉายรังสีเป็นกระบวนการทางฟิสิกส์อย่างหนึ่ง  เป็นเทคโนโลยีที่ได้รับการพิสูจน์ว่าสะอาด  ปลอดภัย  และไม่ก่อให้เกิดมลภาวะกับสิ่งแวดล้อม และนอกจากการฉายรังสีแล้ว  ยังมีการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียสมาใช้ในการตรวจสอบ  และบำรุงรักษาอุปกรณ์การผลิตที่สำคัญ  และสามารถนำมาอธิบายเรื่องการนำรังสีมาใช้ในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมได้    

     การนำรังสีมาใช้ในภาคอุตสาหกรรม  การฉายรังสีในภาคอุตสาหกรรมนั้นสามารถทำได้    หลายอย่าง  เช่น                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                     -      การนำรังสีไปใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษ  จะนำพลังงานนิวเคลียร์ นํามาใช้ในกระบวนการควบคุมการผลิตกระดาษในรูปแบบของรังสีบีตา  การใชวัสดุกัมมันตรังสีในการตรวจสอบกระบวนการผลิตกระดาษ เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยลดต้นทุนในการผลิต ควบคุมคุณภาพของสินค้าและสามารถตรวจสอบการทํางานของเครื่องจักรไดตลอดเวลา โดยไม่ต้องหยุดการผลิต ขณะเดียวกันก็มั่นใจไดถึงความปลอดภัย เนื่องจากเป็นวัสดุกัมมันตรังสีชนิดปิดผนึก ซึ่งติดอยูกับเครื่องจักร มีมาตรการป้องกันยามฉุกเฉิน                                    

 -   การย้อมสีอัญมณีโดยการฉายรังสี    ปัจจุบันมีผู้สนใจการเพิ่มมูลค่าของอัญมณี ด้วยการฉายรังสี ให้มีสีเปลี่ยนไปจากเดิม และมีสีสันสวยงามขึ้น รังสีที่นิยมใช้กันมีอยู่ 3 ชนิด คือ   รังสีแกมมา  จากไอโซโทปโคบอลต์-60 รังสีแกมมาเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การฉายอัญมณีด้วยรังสีแกมมา ไม่ก่อให้เกิดไอโซโทปรังสีใด ๆ ภายในเนื้ออัญมณี   อิเล็กตรอนพลังงานสูง  จากเครื่องเร่งอนุภาค

 -   การฉายรังสีอาหารเป็นการนำอาหารไปรับรังสีจากต้นกำเนิดรังสี ในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสีอาหารนั้น ๆ รังสีที่ใช้ฉายอาหารได้แก่ รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ และรังสีอิเล็กตรอน รังสีดังกล่าวเป็นพลังงานชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีความยาวคลื่นสั้น มีอำนาจทะลุทะลวงผ่านวัตถุได้สูง สามารถใช้ทำลายจุลินทรีย์ พยาธิ และแมลงที่ปนเปื้อนมาในอาหารได้

       การนำรังสีมาใช้ในภาคเกษตรกรรม  เป็นการฉายรังสีแกมมาเข้าไปใน  ผลิตภัณฑ์การเกษตรและผลิตภัณฑ์อื่นๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และเพื่อส่งเสริมการส่งออก  เช่น 

-    การฉายรังสีผลิตผลการเกษตรเพื่อกำจัดแมลง  การใช้รังสีกำจัดแมลง เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ  การฉายรังสี มีผลทำให้แมลงไม่มารถมีชีวิตรอดและแพร่พันธุ์ได้ ไม่มีพิษตกค้าง คุณภาพของผลิตผลเหมือนเดิม สำหรับพืชผัก ผลไม้ จะสุกช้าลง และวิธีการนี้ ยังสามารถใช้ร่วมกับวิธีการอื่น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดแมลงได้ด้วย  ผลิตผลการเกษตรที่อนุญาตให้ฉายรังสี เพื่อควบคุมการแพร่พันธุ์ของแมลง ระหว่างการเก็บรักษาการปรับปรุงพันธุ์พืชด้วยรังสี                  

-    การนำรังสีมาใช้งานปรับปรุงพันธุ์พืช โดยรังสีสามารถชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ รังสีที่นิยมใช้คือรังสีแกมมาและรังสีเอกซ์ เพราะสามารถฉายผ่านทะลุเข้าไปถึงเนื้อเยื่อภายในได้ดี ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับยีนส์ (genes) ซึ่งเป็นหน่วยพันธุกรรมหรือทำให้เกิดการขาดของโครโมโซม ทำให้ได้ลักษณะพันธุ์ใหม่ ๆ ขึ้นมา การใช้รังสีสามารถใช้กับส่วนขยายพันธุ์ต่าง ๆ ของพืช เช่น กิ่งตา หน่อ ไหล แต่ที่นิยมมากคือ เมล็ด เนื่องจากหาได้ง่ายมีปริมาณมากและสะดวกในการขนส่ง แม้ว่าจะต้องใช้รังสีขนาดสูงกว่าส่วนอื่น ๆ ของพืช  รังสีมีประโยชน์ต่องานปรับปรุงพันธุ์พืช ช่วยให้ได้พันธุ์ใหม่ ๆ ออกมาในระยะเวลาสั้น โดยที่ลักษณะดีของพันธุ์เดิมไม่เปลี่ยนแปลง

      จะเห็นได้ว่ากระนำรังสีมาใช้ในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมนั้น  มีความสอดคล้องกันและทำให้เกิดประโยชน์จากการใช้รังสีสูงสุด   และสามารถเพิ่มมูลค่าและคุณภาพให้กับสินค้าได้มากขึ้นอีกด้วย   และมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคอีกด้วย

        reference  :     http://www.oaep.go.th/pr/doc/radio

                         http://www.tint.or.th/application            

                                 http://www.clinictech.most.go.th/techlist  

รังสี คือคลื่นแม่ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่มีความยาวคลื่นสั้นแต่ความถี่สูง รังสีเกิดขึ้นในธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น รังสีนั้นมีทั้งประโยชน์และโทษ

    รังสีสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม คือ

    -  โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนชนิดหนึ่งใช้ความร้อนทำให้น้ำเดือดกลายเป็นไอ ไปหมุนกังหันเพื่อหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าทำการผลิตไฟฟ้าความแตกต่างอยู่ที่แหล่งกำเนิดความร้อน ซึ่งได้มาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์แทนที่จะเป็นการเผาไหม้ ของเชื้อเพลิง น้ำมัน ถ่านหินหรือก๊าซธรรมชาติ

    -  มีการนำเทคโนโลยีทางรังสีมาช่วยการตรวจสอบรอยร้าว รอยเชื่อมของโครงสร้างต่าง ๆ ของโรงงานวิเคราะห์ความผิดปกติของการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมหรือมีการเพิ่มคุณค่าของอัญมณี รวมถึงประเทศไทยของเราที่มีโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 165 แห่งได้มีการพัฒนานำสารกัมมันตรังสีโคบอลต์-60 มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพคุณค่าของงานในโรงงานมี ดังนี้

     1)  การวัดระดับ เช่น โรงงานทอผ้า โรง งานพลาสติก  

      2)  การวัดความหนา เช่น โรงงานโลหะ 

      3)  การวัดความหนานแน่น เช่น โรงงานพลาสติก โรงงานกระเบื้อง

      4)  การสำรวจหลุมเจาะเพื่อเสาะหาแหล่งแร่

      5)  การฉายรังสีเวชภัณฑ์ เช่น เข็มฉีดยา ถุงมือ มีดผ่าตัดและยารักษาโรค

      รังสีที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในทางเกษตรกรรม คือ

      - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในย้งฉางและภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย

     - การใช้รังสีเพื่อกำจัดศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน

     - การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผักและผลไม้ โดยการฉายรังสีเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น  เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดุกาล

    - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ

    - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทุกวิทยาในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร

    - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช  ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค

    - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันพืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutatoin )  เช่น

    1) ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวจ้าวจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ

   2) ข้าวพันธุ์ กข15 ซึ่งเป็นผลมาจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า และมีผลผลิตสูงกว่า ขาวมะลิ15

   3) ปอแก้วเมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า

   4) ถั่วเหลืองที่มีความทนทานต่อราสนิม 

   แหล่งที่มา www.oaeq.go.th  www.oknation.net/print.php?id  www.vibhavadi.com  www.np.ac.th

 

นางสาวกนกวรรณ พรหมเสน รหัสนิสิต 49662759
ประโยชน์ของรังสีที่เกี่ยวกับเกษตรกรรม
- การใช้รังสีแกมมาเพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับชงดื่ม  ด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสมจะช่วยลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับชงดื่ม และยังจะช่วยกำจัดเชื้อแบคทีเรียก่อโรคอาหารเป็นพิษ
- การลดความชื้นร่วมกับการฉายรังสีปริมาณ 1 กิโลเกรย์ สามารถควบคุมเชื้อราและกำจัดแมลงที่ปนเปื้อนมาในมะขามหวานได้หมดสิ้น  มะขามหวานที่ผ่านการฉายรังสีสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานกว่า 8 เดือน
- การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
- การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยง และการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อ ในโค และ กระบือ
- การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืช ซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
- การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่ปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
- การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
- การเอาพลังงานปรมาณูมาใช้ฉายพันธุ์พืช เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม(Induced Mutation) เช่น ข้าวขาวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์ มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนขาวขาวมะลิ
- ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
- การใช้เทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา เพื่อเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดินสำหรับการเกษตร
- การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสีนิวตรอน เพื่อวิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง และธาตุมลพิษ ซึ่งมีความสำคัญ ต่อผู้บริโภค
- เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อปรับปรุง การใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
- การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช ชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
ประโยชน์ของรังสีที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรม
- การผลิตยางรถยนต์ ก็มีการใช้พลังงานปรมาณูในรูปของรังสีบีตาที่แผ่ออกจากวัสดุกัมมันตรังสี
- การใช้รังสีแกมมาตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่วและรอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมาวัดหาปริมาณเถ้าในถ่านหินบนสายพานลำเลียง
- การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ(Neutron activation and X-ray fluorescence analysis)
- การใช้รังสีแกมมาเพื่อหาเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ
- ควบคุมความหนาของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
- ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
- ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
- วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
- ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่างๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
- ใช้ทำสีเรืองแสง
- ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยวิธไม่ทำลายชิ้นงาน มีทั้งการใช้ X-rays, Gamma rays, และ Neutron radiography
- ใช้วัดหาปริมาณเถ้าของลิกไนต์
- วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาปริมาณแร่ที่ดูดผ่าน
- ควบคุมขบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความหนาสม่ำเสมอ
- การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหล หรือสารเคมีในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมาวัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/65/nuclear1/nuceng.html  12/11/50
http://km.oaep.go.th/vlibrary/Docdetail.aspx?DocID=83  12/11/50
http://www.clinictech.most.go.th/techlist/0214/food/00000-512.html  12/11/50
นางสาว อริศรา จิระวรรธนะ รหัสนิสิต 49661639
ประโยชน์ของรังสี ด้านอุตสาหกรรม

       มีการพัฒนา และนำเอาพลังงานนิวเคลียร์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย คือ

1.  อุตสาหกรรมการฉายรังสี

การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้าน การปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์ บางชนิดในอาหาร

เช่น  การฉายรังสีอาหาร (food irradiation)ประเทศไทยเรามีศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ซึ่งเป็นโรงงานต้นแบบ ขึ้นอยู่กับสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ โดยใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 มีกัมมันภาพรังสี ตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ที่สำคัญ คือ เครื่องเทศ สมุนไพร ฝรั่ง ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ และกระเทียม เป็นต้น 

2.   อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์

รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ได้ถูกนำมาใช้ ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรค ในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ อันได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ

3.   อุตสาหกรรมโพลีเมอร์

รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอน สามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยา ในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ เช่น

-  การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อน ที่ถูกอัดด้วยสารโมโนเมอร์ จะกลายเป็นสารโพลิเมอร์ ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับ ทำพื้นปาร์เก้ หรือท่อนไม้ ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง

-  การฉายรังสี เพื่อไปช่วยให้โมโนเมอร์ จับตัวกับโพลิเมอร์ เรียกว่าการต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติ มาฉายรังสี เพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก

-  การฉายรังสี เพื่อไปทำให้โพลิเมอร์ จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และเป็นผลให้ผลิตภัณฑ์ มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก และโฟม

-  การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติ ที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกัน ของโพลิเมอร์เป็นแผ่นยาง

4.   ระบบอุตสาหกรรมใหญ่

โดยนำรังสีแกมมาจากโคบอลต์ - 60  มาใช้ตรวจสภาพภายในของเครื่องกลต่างๆ หรือในระบบอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ดังเช่น โรงกลั่นน้ำมัน

5.   การควบคุมการผลิต

การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่า เทคนิคนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลาย ในประเทศไทย ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้

-  การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์

-  การใช้รังสีแกมมา วัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ

-  การใช้รังสีแกมมา วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ

-  การใช้รังสีแกมมา วัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยาง ที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบเพื่อผลิตยางรถยนต์

-  การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก

-  การใช้รังสีบีตา วัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษ ในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ

-   การใช้รังสีเอกซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม

-  การใช้รังสีนิวตรอน ในการสำรวจแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดิน

-  การใช้รังสีแกมมา ตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว รอยร้าวของวัสดุ

-  การใช้รังสีแกมมา วัดหาปริมาณเถ้า ในถ่านหินบนสายพานลำเลียง

--------------------------------------------------

ประโยชน์ของรังสี ด้านการเกษตร1.   การควบคุมและกำจัดแมลง

โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมันด้วยรังสี จากการค้นพบว่ารังสีแกมมาและรังสีเอกซ์ สามารถทำให้เกิดความเสียหายทางพันธุกรรมต่อระบบสืบพันธุ์ของแมลง

และชักนำให้เกิดการเป็นหมัน นำมาใช้เป็นวิธีควบคุมการเกิดของแมลง ซึ่งเป็นวิธีการควบคุมและกำจัดแมลงศัตรูเฉพาะชนิดที่ไม่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม

2.   ยืดอายุการเก็บรักษาของอาหารสด

เช่น อาหารทะเล เนื้อสัตว์ และผลไม้ มีอายุการเก็บรักษาสั้น เสียคุณภาพเร็ว เนื่องจาก

การเจริญเติบโตของบักเตรี รา และยีสต์ และจากการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางชีวเคมี การฉายรังสีอาหาร

ทะเลและเนื้อสัตว์ด้วยปริมาณรังสี 1-3 กิโลเกรย์ จะช่วยลดบักเตรีลงได้หลายเท่าทำให้เก็บรักษาได้นานขึ้น

แต่ต้องใช้ความเย็นเข้าช่วยด้วยหลังจากการฉายรังสี

3.   ทำลายเชื้อโรคและพยาธิในอาหาร  

โดยการใช้รังสีแกมมากำจัดเชื้อโรคและพยาธิ

4.   การใช้รังสีปรับปรุงพันธุ์พืช

 เช่น ข้าวขาวดอกมะลิ 105,พันธุ์พริกขี้หนู

5.   ควบคุมการงอกของพืชผักในระหว่างการเก็บรักษา

เช่น การฉายรังสีหอมหัวใหญ่ มันฝรั่ง และกระเทียม สามารถควบคุมการงอกและลดการสูญเสียน้ำหนักในระหว่างการเก็บรักษาในห้องเย็น

 

แหล่งที่มา :

http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm

http://www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm

http://km.oaep.go.th/vlibrary/Docdetail.aspx?DocID=28

http://www.pantip.com/cafe/wahkor/article/chaiwat/cwt_bkkbz085.html

 
นายธนพัฒน์ ช่องสาร 49662803

นายธนพัฒน์  ช่องสาร เลขประจำตัวนิสิต 49662803
นิสิตรังสีเทคนิค คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก

รังสีนั้นสามารถนำไปใช้ในทางอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมได้ดังนี้
+ ทางด้านอุตสาหกรรม
    1. ใช้ในการควบคุมความหนาของผลิตภัณฑ์ เช่น แผ่นกระจก แผ่นโลหะ แผ่นยางหรือกระดาษ โดยใช้รังสีแกมมา
    2. ใช้ตรวจหาการรั่วไหลของน้ำมัน จากท่อขนส่งน้ำมัน
    3. ใช้ในการเปลี่ยนสีอัญมณีให้มีสีสันที่สวยงามขึ้น
    4. ใช้เพื่อการแปรรูปและปรับปรุงไม้เนื้ออ่อนให้กลายเป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความแข็งแรงมากขึ้น
    5. ใช้ทำให้โพลิเมอร์จับตัวเป็นร่างแหสามมิติ ช่วยทำให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทนต่อความร้อนและสารเคมี
    6. ใช้สำรวจแหล่งทรัยากรที่มีความจำเป็นต่ออุตสาหกรรม
+ ทางด้านเกษตรกรรม
    1. ใช้เพื่อการถนอมอาหาร ช่วยชะลอการสุก 
    2. ใช้ยับยั้งการงอกของพืชที่งอกง่ายเช่น หอม กระเทียม มันฝรั่ง เป็นต้น
    3. ใช้ปรับปรุงพันธุ์พืช โดยการฉายรังสีที่เมล็ดพันธุ์ แล้วคัดนำเมล็ดพันธุ์ที่มีการพัฒนาที่ดีมาใช้ประโยชน์ (โดยส่วนใหญ่เมล็ด         พันธุ์จะมีการพัฒนาที่เลวลง)
    4. ทำลายพยาธิในเนื้อหมูและแหนม ร่วมทั้งลดแบททีเรียและเชื้อรา
    5. ใช้ควบคุมแมลงและศัตรูพืช ในบางครั้งมีการฉายรังสีกำจัดแมลงที่ทำลายพืชโดยการทำหมันแมลง

แต่ถึงอย่างไรก็ตามการใช้รังสีต้องอยู่ในการควบคุมดูแล และตรวจสอบอยู่ตลอดทั้งขั้นตอนเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความปลอดภัยและไม่ก่อเกิดอันตรายต่อตัวเองและสิ่งแวดล้อม

แหล่งอ้างอิง : http://www.rmutphysics.com/charud/PDF-learning/3/nuclear/nuclear.pdf
      http://clgc.rdi.ku.ac.th/article/tissue/radiation/foodsafe.html
      http://www.kmutt.ac.th/CRDC_symposium/data/62-65.pdf
      http://www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm
      http://www.school.net.th/library/create-web/10000/technology/10000-387.html

นางสาวบริพัฒน์ กัดมั่น รหัส 49662841 ปี 2
โจทย์     รังสีสามารถนำไปใช้ในทางอุตสาหกรรมและการเกษตรได้อย่างไรบ้างตอบอุตสาหกรรม1. การฉายรังสี การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร โดยมีตัวอย่างดังต่อไปนี้ 1.1   การฉายรังสีอาหาร             ประเทศไทยมีศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตร ซึ่งขึ้นอยู่กับสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ โดยเปิดเป็นทางการตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๒ ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ มีกัมมันตภาพรังสีตอนเริ่มต้น ๔๔,๐๐๐ คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรที่สำคัญคือ เครื่องเทศ สมุนไพร ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ กระเทียม แหนม ถั่วเขียว และมะขามหวาน 1.2  อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ รังสีแกมมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ ได้นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ 1.3  อุตสาหกรรมพอลิเมอร์ รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนสามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกพอลิเมอร์ต่างๆ เช่น -  การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่ถูกอัดด้วยสารมอนอเมอร์ จะทำให้กลายเป็นสารพอลิเมอร์ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้      สำหรับทำพื้นปาร์เกต์หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง -  การฉายรังสีเพื่อไปช่วยให้มอนอเมอร์จับตัวกับพอลิเมอร์เรียกว่า การต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยาง      ธรรมชาติมาฉายรังสีเพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก     -  การฉายรังสีเพื่อไปทำให้พอลิเมอร์จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทนต่อความ         ร้อน เช่น ใช้ในการผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติกและโฟม     -  การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกันของพอลิเมอร์เป็นแผ่นยาง       ( rubber vulcanization) 1.4  อุตสาหกรรมอัญมณีปัจจุบันมีการฉายรังสีเพื่อการพัฒนาคุณภาพอัญมณีและเพิ่มมูลค่าของอัญมณีด้วยเพื่อให้สีเปลี่ยนไปจากเดิม และสวยงามขึ้น รังสีที่นิยมใช้กันมีอยู่ 3 ชนิด  คือ 1.  รังสีแกมมา 2. อิเล็กตรอนพลังงานสูง (10-20 MeV)                3. นิวตรอน  ( http://www.bangkokgemstraining.com/zf.htm)2.  การตรวจวัดและควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีซึ่งเรียกว่าเทคนิคนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในระบบตรวจวัดและควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบัน มีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย   คือ - การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหล หรือสารเคมีในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ วัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ    วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระดาษ- การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ - การใช้รังสีเอกซ์วัดหาปริมาณตะกั่ว และกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม 3. อุตสาหกรรมอื่นๆ มีการนำวัสดุกัมมันตรังสีไปใช้ในการวัดระดับของแอซ-ฟ็อลทในการทำถนน    มีการใช้วัสดุกัมมันตรังสีในการถ่ายภาพด้วยรังสีเพื่อตรวจสอบรอยร้าวในท่อส่งกาซ    วัสดุกัมมันตรังสีจะถูกส่งเข้าไปในท่อไปยังตำแหน่งที่ต้องการตรวจสอบโดยใช้เครื่องควบคุม รังสีจะผ่านท่อไปยังฟิล์ม โดยรอยร้าวต่างๆที่อยู่ในท่อจะปรากฏขึ้นหลังจากที่นำฟิล์มดังกล่าวไปล้างตามกรรมวิธี  ( http://www.oaep.go.th/everything/radio.pdf ) - การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดิน การเกษตรประเทศไทยได้มีการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์เพื่อส่งเสริมกิจการเกษตร เพื่อการเพิ่มปริมาณผลผลิต และเพิ่มคุณภาพของผลผลิตดังต่อไปนี้ ๑. การปรับปรุงพันธุ์พืช                การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทย พืชที่สามารถปรับปรุงพันธุ์ได้สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่าง แพร่หลายมีอยู่ ๑๐ ชนิด คือ ข้าวจำนวน ๓ พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ กข๖ กข๑๐ และ กข๑๕ ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ และพืชสวน ได้แก่ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง ๒. การทำหมันแมลง วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลง ให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้ ต่อมานำดักแด้ไปฉายรังสีแกมมาเพื่อให้เป็นหมันแล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้ เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด การควบคุมจำนวนของแมลงโดยวิธีทำหมันด้วยรังสีนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด ไม่มีผลต่อแมลงชนิดอื่นที่เป็นประโยชน์ เช่น ผึ้ง ผีเสื้อ และแมลงปอทางสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการกำจัดแมลงวันผลไม้ ในพื้นที่บริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลสำเร็จอย่างดียิ่ง ทำให้ผลผลิตของผลไม้เมืองหนาว เช่น ลูกพลับ สาลี่ ท้อ และลูกพรุน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก ๓. การถนอมอาหารด้วยรังสี การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาให้พลังงานสูงถึง ๑.๓๓ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน ที่ให้อิเล็กตรอนพลังงานสูงถึง ๑๐ ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลงตาย หรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้น รังสีจะทำให้อัตราการหายใจและกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป ทำให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลง กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้  เช่น    การฉายรังสีกำจัดแมลงวันผลไม้ในมังคุดเพื่อการส่งออก     การยืดอายุการเก็บรักษาและการปรับปรุงคุณภาพทางจุลินทรีย์ของปลาร้าด้วยรังสีแกมมา ( http://km.oaep.go.th/vlibrary/CategoryDetail.aspx?CategoryID=10 )๔. ประโยชน์ทางด้านอื่นๆ ก. เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจ     ต่างๆ เพื่อปรับปรุง การใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ข. การใช้เทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา เพื่อเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดินสำหรับการเกษตร ค. การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ที่ศึกษา    เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช ชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป ง. การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสีนิวตรอน เพื่อวิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการ     ใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง และธาตุมลพิษ ซึ่งมีความสำคัญ ต่อผู้บริโภค ( http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter8/t27-8-l2.htm )แหล่งที่มา( http://www.bangkokgemstraining.com/zf.htm)( http://www.oaep.go.th/everything/radio.pdf )( http://km.oaep.go.th/vlibrary/CategoryDetail.aspx?CategoryID=10 )( http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter8/t27-8-l2.htm )
นางสาวลดาวัลย์ วิชัยมูล 49662179
 การใช้รังสีทางด้านอุตสาหกรรม    
- ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
- ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
- ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตบนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
- ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive 
Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
- การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ
 การใช้รังสีทางเกษตรกรรม
-รังสีแกมมาปริมาณต่ำ ที่มีต่ออายุการเก็บและคุณภาพของกุ้งแช่แข็ง ทำโดยนำกุ้งสดชนิดเด็ดหัวและชนิดปอกเปลือกไปแช่แข็ง และฉายรังสีที่ 2 และ 4 กิโลเกรย์ และนำไปเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 18°ซ เป็นเวลา 7 เดือน-การใช้รังสีแกมมาปรับปรุงคุณภาพรำข้าวเพื่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้ง-การใช้รังสีแกมมาเพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับชงดื่ม- การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม- การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น- การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน reference:  http://www.oaep.go.th/nstkc/content/category

                     http://www.vibhavadi.com

 
นางสาวกรรณิการ์ ยาวิชัย รหัสนิสิต 49662766

ประโยชน์ของรังสีในด้านเกษตรกรรม

 ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมกิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่มมากขึ้น
 - การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบชนิดใดลงไป
 - เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
 - การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
 - การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
 - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
 - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
 - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
 - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation) เช่น
 1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ
 2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
 3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
 4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม

-การปรับปรุงพันธุ์พืช (Mutation Breeding) เช่น พันธุ์ข้าว กข 6 , กข 10 , กข 15 , ถั่วเหลืองพันธ์ดอยคำ , กล้วยหอมทอง KU1
-การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect technique) เช่น กำจัดแมลงวันผลไม้บนดอยอ่างขาง จ.เชียงใหม่
-การถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรของสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ ดังนี้
         - ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง , หอมใหญ่ , กระเทียม , ขิง
         - ชะลอการสุก : มะม่วง , มะละกอ
         - ชะลอการบาน : เห็ด
         - ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู , แหนม
         - ลดแบคทีเรียและเชื้อรา : ปลาสด ,เนื้อสด , กุ้งแช่แข็ง , เครื่องเทศ
         - ควบคุมแมลง : ข้าว,ถั่วเขียว ,ผลไม้แห้ง ,ปลาแห้ง ,มะขามหวาน
ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ผ่านการฉายรังสีมาแล้วนั้นจะไม่มีรังสีตกค้างอยู่เลย ทั้งนี้เนื่องจากรังสีแกมมาที่นำมาใช้ จะไม่แตกตัวและไม่ทำให้ตัวกลางกลายเป็นรังสีแต่อย่างใด ดังนั้นอาหารที่ผ่านการฉายรังสี จึงปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค

ประโยชน์ของรังสีในด้านอุตสาหกรรม
การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์"
เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในกิจการต่าง ๆ ดังนี้

-ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่างๆในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
 -ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
 -ควมคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
 -วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในกระบวนการผลิตกระเบื้อง กระดาษ
 -วัดความหนาแน่นในการดูสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
 -วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
 -ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้สม่ำเสมอ
 -วัดหาปริมาณสารตะกั่วหรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตเลียม
 -ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในกระบวนการผลิตยางรถยนต์
 -ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
 -ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าแบบสถิตบนแผ่นฟิล์ม ฟิล์ภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่างๆ
 -ใช้ตรวจสอบความรั่วซึ่มในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC Semiconductor,Watch module ต่างๆด้วย Clipton-85 ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing:NDT)มีทั้งการใช้ X-ray,Gramma ray and Neutron radiography
 -ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสันิวตรอน
 -ใช้ทำสีเรืองแสง
 -ใช้วัดหาปริมาณถ่านลิกไนต์และปริมาณเถ้า
 -การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวกทรัพยากรในประเทศ (Neutron activation and x-ray fluorescence analysis )
 -การใช้รังสีแกมมาในการฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ

แหล่งอ้างอิง

http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=77864

นางสาวกัญญารัตน์ อิ่มอุระ รหัสนิสิต 49660045
รังสีมีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมอย่างไรบ้าง…………….ตอบ รังสีมีประโยชน์ทั้งในทางอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม คือ 1.อุตสาหกรรมการฉายรังสี เป็นการใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์ บางชนิดในอาหาร เช่น- การฉายรังสีอาหาร (food irradiation) ประเทศไทยเรามีศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ซึ่งเป็นโรงงานต้นแบบ ขึ้นอยู่กับสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เปิดเป็นทางการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 มีกัมมันภาพรังสี ตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ที่สำคัญ คือ เครื่องเทศ สมุนไพร ฝรั่ง ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ และกระเทียม เป็นต้น2.อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ ได้นำรังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 มาใช้ในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ อันได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ มีจำนวนมากกว่า 140 โรงงาน ใน 40 ประเทศ สำหรับประเทศไทย มีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน 5 แห่ง 3.อุตสาหกรรมโพลีเมอร์ ซึ่งรังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอน สามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยา ในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อน ที่ถูกอัดด้วยสารโมโนเมอร์ จะกลายเป็นสารโพลิเมอร์ ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับ ทำพื้นปาร์เก้ หรือท่อนไม้ ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสี เพื่อไปช่วยให้โมโนเมอร์ จับตัวกับโพลิเมอร์ เรียกว่าการต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติ มาฉายรังสี เพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสี เพื่อไปทำให้โพลิเมอร์ จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และเป็นผลให้ผลิตภัณฑ์ มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก และโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติ ที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกัน ของโพลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)
4.การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ ในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นการใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่าเทคนิคนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลาย ในประเทศไทย ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมา วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- การใช้รังสีแกมมา วัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยาง ที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบเพื่อผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตา วัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษ ในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอน ในการสำรวจแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
- การใช้รังสีแกมมา ตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว รอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมา วัดหาปริมาณเถ้า ในถ่านหินบนสายพานลำเลียง
ประโยชน์ในทางการเกษตร เนื่องจากประเทศไทย เป็นประเทศที่มีการเกษตร เป็นอาชีพหลักของประชากร จึงมีใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีนิวเคลียร์ เพื่อส่งเสริม กิจการเกษตร เป็นการเพิ่มผลผลิต การเพิ่มคุณภาพ และการรักษาสิ่งแวดล้อม กำลังได้รับความนิยมแพร่หลาย ไปสู่ชนบทมากขึ้นทั่วประเทศ เช่น การปรับปรุงพันธุ์พืช โดยการกลายพันธุ์ (Mutation Breeding) ในประเทศไทยเรา ได้ใช้รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ปรับปรุงพันธุ์พืช ให้ได้พันธุ์ใหม่ พันธุ์พืชที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันมากกว่า 10 ชนิด คือ ข้าวพันธุ์ กข6, กข10, กข15 ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ เก๊กฮวย KU1 คาร์เนชั่น (ชัยชุมพล) เบญจมาศ พันธุ์ golden cremon และกล้วยหอมทอง KU1 (กรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect Technique) แมลงวันผลไม้ บนดอยอ่างขาง เชียงใหม่ (โดยสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตร)นอกจากนี้ยังมีการถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ แก่ผู้ผลิตและจำหน่าย อาหารและผลิตผลทางการเกษตร ดังนี้ก) ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง, หอมใหญ่, กระเทียม, ขิง
ข) ชะลอการสุก : มะม่วง, มะละกอ
ค) ชะลอการบาน : เห็ด
ง) ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู, แหนม
จ) ลดบักเตรีและเชื้อรา : ปลาสด, เนื้อสด, กุ้งแช่แข็ง, เครื่องเทศ
ฉ) ควบคุมแมลง : ข้าว, ถั่วเขียว, ผลไม้แห้ง, ปลาแห้ง, มะขามหวาน
การใช้เทคนิครังสี เพื่อขยายพันธุ์สัตว์ และการเพิ่มอาหารผม อาหารเนื้อในโคและกระบือ การใช้เทคนิค ด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดิน สำหรับการเกษตร การใช้เทคนิคนิวเคลียร์ วิเคราะห์ดิน เพื่อจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ศึกษา มีความเหมาะสม ต่อการปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป การใช้เทคนิคสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมธาตุ และปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุง การให้น้ำ และปุ๋ย อย่างมีประสิทธิภาพ แหล่งอ้างอิงwww.nst.or.th/article/notes01/article007.htmwww.nst.or.th/article/notes01/article008.htmwww.pumthai.com/news_activities_detail.php?id=240www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm
นางสาวกัญญารัตน์ อิ่มอุระ รหัสนิสิต 49660045
รังสีมีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมอย่างไรบ้าง…………….ตอบ รังสีมีประโยชน์ทั้งในทางอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม คือ 1.อุตสาหกรรมการฉายรังสี เป็นการใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์ บางชนิดในอาหาร เช่น- การฉายรังสีอาหาร (food irradiation) ประเทศไทยเรามีศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ซึ่งเป็นโรงงานต้นแบบ ขึ้นอยู่กับสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เปิดเป็นทางการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 มีกัมมันภาพรังสี ตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ที่สำคัญ คือ เครื่องเทศ สมุนไพร ฝรั่ง ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ และกระเทียม เป็นต้น2.อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ ได้นำรังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 มาใช้ในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ อันได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ มีจำนวนมากกว่า 140 โรงงาน ใน 40 ประเทศ สำหรับประเทศไทย มีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน 5 แห่ง 3.อุตสาหกรรมโพลีเมอร์ ซึ่งรังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอน สามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยา ในการผลิตสารพวกโพลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อน ที่ถูกอัดด้วยสารโมโนเมอร์ จะกลายเป็นสารโพลิเมอร์ ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับ ทำพื้นปาร์เก้ หรือท่อนไม้ ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสี เพื่อไปช่วยให้โมโนเมอร์ จับตัวกับโพลิเมอร์ เรียกว่าการต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติ มาฉายรังสี เพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสี เพื่อไปทำให้โพลิเมอร์ จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และเป็นผลให้ผลิตภัณฑ์ มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก และโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติ ที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกัน ของโพลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)
4.การตรวจวัดและควบคุม โดยเทคนิคนิวเคลียร์ ในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นการใช้วัสดุกัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซึ่งเรียกว่าเทคนิคนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ ในระบบวัด และควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลาย ในประเทศไทย ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์
- การใช้รังสีแกมมา วัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ
- การใช้รังสีแกมมา วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- การใช้รังสีแกมมา วัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยาง ที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบเพื่อผลิตยางรถยนต์
- การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก
- การใช้รังสีบีตา วัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษ ในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ
- การใช้รังสีเอกซ์ วัดหาปริมาณตะกั่วและกำมะถัน ในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม
- การใช้รังสีนิวตรอน ในการสำรวจแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติใต้ดิน
- การใช้รังสีแกมมา ตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่ว รอยร้าวของวัสดุ
- การใช้รังสีแกมมา วัดหาปริมาณเถ้า ในถ่านหินบนสายพานลำเลียง
ประโยชน์ในทางการเกษตร เนื่องจากประเทศไทย เป็นประเทศที่มีการเกษตร เป็นอาชีพหลักของประชากร จึงมีใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีนิวเคลียร์ เพื่อส่งเสริม กิจการเกษตร เป็นการเพิ่มผลผลิต การเพิ่มคุณภาพ และการรักษาสิ่งแวดล้อม กำลังได้รับความนิยมแพร่หลาย ไปสู่ชนบทมากขึ้นทั่วประเทศ เช่น การปรับปรุงพันธุ์พืช โดยการกลายพันธุ์ (Mutation Breeding) ในประเทศไทยเรา ได้ใช้รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 ปรับปรุงพันธุ์พืช ให้ได้พันธุ์ใหม่ พันธุ์พืชที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันมากกว่า 10 ชนิด คือ ข้าวพันธุ์ กข6, กข10, กข15 ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ เก๊กฮวย KU1 คาร์เนชั่น (ชัยชุมพล) เบญจมาศ พันธุ์ golden cremon และกล้วยหอมทอง KU1 (กรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect Technique) แมลงวันผลไม้ บนดอยอ่างขาง เชียงใหม่ (โดยสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตร)นอกจากนี้ยังมีการถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร ของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ แก่ผู้ผลิตและจำหน่าย อาหารและผลิตผลทางการเกษตร ดังนี้ก) ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง, หอมใหญ่, กระเทียม, ขิง
ข) ชะลอการสุก : มะม่วง, มะละกอ
ค) ชะลอการบาน : เห็ด
ง) ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู, แหนม
จ) ลดบักเตรีและเชื้อรา : ปลาสด, เนื้อสด, กุ้งแช่แข็ง, เครื่องเทศ
ฉ) ควบคุมแมลง : ข้าว, ถั่วเขียว, ผลไม้แห้ง, ปลาแห้ง, มะขามหวาน
การใช้เทคนิครังสี เพื่อขยายพันธุ์สัตว์ และการเพิ่มอาหารผม อาหารเนื้อในโคและกระบือ การใช้เทคนิค ด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดิน สำหรับการเกษตร การใช้เทคนิคนิวเคลียร์ วิเคราะห์ดิน เพื่อจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ศึกษา มีความเหมาะสม ต่อการปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป การใช้เทคนิคสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมธาตุ และปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุง การให้น้ำ และปุ๋ย อย่างมีประสิทธิภาพ แหล่งอ้างอิงwww.nst.or.th/article/notes01/article007.htmwww.nst.or.th/article/notes01/article008.htmwww.pumthai.com/news_activities_detail.php?id=240www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm
น.ส.ปัญจนีย์ จันทรประทักษ์ รหัส : 49662872 ชั้นปีที่ 2

รังสีมีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ดังต่อไปนี้

 ด้านอุตสาหกรรม  1. ใช้ตรวจรอยร้าว (crack) ของโลหะต่าง ๆ โดยฉายรังสีเอกซ์ , ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุ       กระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ    และ          ใช้ ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module       ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85 2. ใช้วัดความหนาโดยใช้รังสีเบตา หรือแกมมานี้ส่วนใหญ่จะใช้ในการวัดความหนาของวัตถุและผลิตภัณฑ์กึ่ง      สำเร็จรูปในงานอุตสากรรม  3.  รังสีแอลฟ่า ใช้เป็นส่วนประกอบของอุปกรณ์สายล่อฟ้า (Am-241 , Ra-226) ,อุปกรณ์กำจัดฝุ่นละออง       ในผลิตภัณฑ์ (Po-210) , เป็นส่วน ประกอบของอุปกรณ์ตรวจสอบควันไฟ (Am-241) 4.  รังสีแกมมา ใช้ในการฆ่าเชื้อโรคในเวชภัณฑ์ (Co-60) เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ 5.  โคบอลต์ - 60 มีประโยชนคือ ใช้ตรวจสภาพภายในของเครื่อง หรือระบบอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ เช่น        หอกลั่นน้ำมันในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ,ใช้ในการวัดระดับ เช่น โรงงานทอผ้า , โรงงานพลาสติก ,       ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา,       ใช้ในการสำรวจหลุมเจาะ เพื่อเสาะหาแหล่งแร่6.  ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา7.   ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์ , ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ ,       ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ8.   วัดหาปริมาณสารตะกั่วหรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม ,ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์  9.  ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน  มีทั้งการใช้ X-rays, gamma       rays และ neutron radiography  10.  ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน  และใช้ทำสีเรืองแสง

  11.  การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ

 ด้านเกษตรกรรม  1.  การปรับปรุงพันธุ์พืช (Mutation Breeding) เช่น พันธุ์ข้าว กข 6 , กข 10, ถั่วเหลืองพันธ์ดอยคำ   2.  การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect technique)    3.  การถนอมอาหาร (Food Preservation) เช่น ยับยั้งการงอก , ชะลอการสุก , ชะลอการบาน , ทำลายพยาธิ ,        ลดแบคทีเรียและเชื้อราและควบคุมแมลง เป็นต้น โดยผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ผ่านการฉายรังสีมาแล้วนั้นจะไม่มี       รังสีตกค้างอยู่เลย    ทั้งนี้เนื่องจากรังสีแกมมาที่นำมาใช้  จะไม่แตกตัวและไม่ทำให้ตัวกลางกลายเป็นรังสี         แต่อย่างใด ดังนั้นอาหารที่ผ่านการฉายรังสี จึงปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค  4.  การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูกทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อ       การเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบชนิดใดลงไป  5.  เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจ            ต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น  6.  การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะ       เพื่อการส่งออกจำหน่าย  7.  การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน  8.  การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่ง       ทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล  9.  การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ10.  การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร    11.  การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช        ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค    12.  การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation)        เช่น ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือน       ข้าวขาวมะลิ เป็นต้น 

           ถึงแม้ว่ารังสีจะมีประโยชน์มากมายเพียงใดก็ตาม   แต่โทษของรังสีก็มีเช่นกัน  ดังนั้นการใช้ประโยชน์จากรังสีจึงต้องมีการควบคุมดูแล   เพื่อไม่ให้มีการใช้ปริมาณรังสีที่มากเกินความจำเป็นจนทำให้เกิดอันตรายแก่ผู้ผลิตและผู้บริโภค

 

เว็บไซต์อ้างอิง:http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK1/chapter7/t1-7-l3.htmhttp://www.navy.mi.th/science/Information/Paper/InfoPaper_AlfaBeta.htmlhttp://www.oknation.net/blog/print.php?id=77864http://www.pantip.com/cafe/wahkor/article/chaiwat/cwt_bkkbz085.htmlhttp://www.doa.go.th/th/ShowArticles.aspx?id=2142http://www.geocities.com/wan_dpst/story6.htm

 

 

นายกิตติศักดิ์ วิเชียรสรรค์ 49660083 ปี 2

     ประโยชน์ของรังสีทางด้านการเกษตร และทางด้านอุตสาหกรรมมีดังนี้

      ทางการเกษตร
      1 การปรับปรุงพันธุ์พืช (Mutation Breeding) เช่น พันธุ์ข้าว กข 6 , กข 10 , กข 15 , ถั่วเหลืองพันธ์ดอยคำ , กล้วยหอมทอง KU1
      2 การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect technique) เช่น กำจัดแมลงวันผลไม้บนดอยอ่างขาง จ.เชียงใหม่ 
      3 การถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรของสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ ดังนี้
         ก. ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง , หอมใหญ่ , กระเทียม , ขิง
         ข. ชะลอการสุก : มะม่วง , มะละกอ
         ค. ชะลอการบาน : เห็ด
         ง. ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู , แหนม
         จ. ลดแบคทีเรียและเชื้อรา : ปลาสด ,เนื้อสด , กุ้งแช่แข็ง , เครื่องเทศ
         ฉ. ควบคุมแมลง : ข้าว,ถั่วเขียว ,ผลไม้แห้ง ,ปลาแห้ง ,มะขามหวาน
ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ผ่านการฉายรังสีมาแล้วนั้นจะไม่มีรังสีตกค้างอยู่เลย ทั้งนี้เนื่องจากรังสีแกมมาที่นำมาใช้ จะไม่แตกตัวและไม่ทำให้ตัวกลางกลายเป็นรังสีแต่อย่างใด ดังนั้นอาหารที่ผ่านการฉายรังสี จึงปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค 
      ทางอุตสาหกรรม ในประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 165 แห่ง ทีนำสารกัมมันตรังสี โคบอลต์-60 มาใช้ ดังนี้
      1 การวัดระดับ เช่น โรงงานทอผ้า , โรงงานพลาสติก
      2 การวัดความหนา เช่น โรงงานโลหะ
      3 การวัดความหนาแน่น เช่น โรงงานพลาสติก , โรงงานกระเบื้อง
      4 การสำรวจหลุมเจาะ เพื่อเสาะหาแหล่งแร่
      5 การฉายรังสีเวชภัณฑ์ เช่น เข็มฉีดยา , ถุงมือ , มีดผ่าตัด และยารักษาโรค

นายกิตติศักดิ์ วิเชียรสรรค์ 49660083 ปี 2

ประโยชน์ของรังสี ทางด้านอุตสาหกรรมและการเกษตร
        รังสี สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทั้งทาง อุตสาหกรรม การเกษตรและงานวิจัยต่าง ๆ ดังนี้
-รังสีแอลฟ่า ใช้เป็นส่วนประกอบของอุปกรณ์สายล่อฟ้า (Am-241 , Ra-226) ,อุปกรณ์กำจัดฝุ่นละอองในผลิตภัณฑ์ (Po-210) , เป็นส่วน ประกอบของอุปกรณ์ตรวจสอบควันไฟ (Am-241)
รังสีเบต้า ใช้รักษาโรคต้อเนื้อ (Sr-90) , สารพรายน้ำ (H-3) , สารสะท้อนแสง/เรืองแสง (Pm-147) , ใช้ระงับอาการปวดของมะเร็งที่ลามไปกระดูก(Sm-153)
รังสีแกมมา ใช้รักษาโรคมะเร็ง (Co-60) , การฆ่าเชื้อโรคในเวชภัณฑ์ (Co-60) ,การวินิจฉัยโรคและรักษาโรคต่อมไทรอยด์ (Co-60)(I-125 , I-131) , ตรวจสอบการทำงานของไต (I-131) , การตรวจสอบการทำงานของตับ/ทางเดินน้ำดี/ กล้ามเนื้อหัวใจ (Tc-99m) , ศึกษาการไหลเวียนของเลือดที่ปอด/สมอง (Tc-99m)
รังสีเอกซ์ ใช้ในการถ่ายภาพอวัยวะต่าง ๆ , ตรวจจับวัตถุแปลกปลอม และสารกัมมันตรังสีที่มีบทบาทสำคัญตัวหนึ่งที่จะกล่าวถึงก็คือ โคบอลต์-60 ซึ่งเมื่อกุมภาพันธ์ 2543 ที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดกรณีตัวอย่างที่ทำให้เราได้เห็นโทษมหันต์ของรังสีที่เราไม่ควรมองข้ามเลย โคบอลต์-60 (Co-60) เป็นสารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งที่ไม่มีอยู่ในธรรมชาติ เกิดขึ้นได้จาการนำโคบอลต์-59 ซึ่งเป็นโลหะในธรรมชาติอาบอนุภาคนิวตรอน ในเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณูเกิดเป็นโคบอลต์-60 ซึ่งมีค่าครึ่งชีวิต 5.26 ปี และสลายตัวให้รังสีแกมมาและเบต้า แต่รังสีที่นำมาใช้ประโยชน์มาก คือ รังสีแกมมา ซึ่งใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
   1.
ทางการเกษตร
      1.1
การปรับปรุงพันธุ์พืช (Mutation Breeding) เช่น พันธุ์ข้าว กข 6 , กข 10 , กข 15 , ถั่วเหลืองพันธ์ดอยคำ , กล้วยหอมทอง KU1
      1.2
การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect technique) เช่น กำจัดแมลงวันผลไม้บนดอยอ่างขาง จ.เชียงใหม่
      1.3
การถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรของสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ ดังนี้
        
ก. ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง , หอมใหญ่ , กระเทียม , ขิง
        
ข. ชะลอการสุก : มะม่วง , มะละกอ
        
ค. ชะลอการบาน : เห็ด
        
ง. ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู , แหนม
        
จ. ลดแบคทีเรียและเชื้อรา : ปลาสด ,เนื้อสด , กุ้งแช่แข็ง , เครื่องเทศ
        
ฉ. ควบคุมแมลง : ข้าว,ถั่วเขียว ,ผลไม้แห้ง ,ปลาแห้ง ,มะขามหวาน
ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ผ่านการฉายรังสีมาแล้วนั้นจะไม่มีรังสีตกค้างอยู่เลย ทั้งนี้เนื่องจากรังสีแกมมาที่นำมาใช้ จะไม่แตกตัวและไม่ทำให้ตัวกลางกลายเป็นรังสีแต่อย่างใด ดังนั้นอาหารที่ผ่านการฉายรังสี จึงปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค
   2.
ทางอุตสาหกรรม ในประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 165 แห่ง ทีนำสารกัมมันตรังสี โคบอลต์-60 มาใช้ ดังนี้
      2.1 การวัดระดับ เช่น โรงงานทอผ้า , โรงงานพลาสติก
      2.2 การวัดความหนา เช่น โรงงานโลหะ
      2.3 การวัดความหนาแน่น เช่น โรงงานพลาสติก , โรงงานกระเบื้อง
      2.4 การสำรวจหลุมเจาะ เพื่อเสาะหาแหล่งแร่
      2.5 การฉายรังสีเวชภัณฑ์ เช่น เข็มฉีดยา , ถุงมือ , มีดผ่าตัด และยารักษาโรค

      2.6ใช้ตรวจรอยร้าว (crack) ของโลหะต่าง ๆ โดยฉายรังสีเอกซ์ผ่านโลหะที่ต้องการตรวจไปบนจอ ถ้าวัตถุนั้นร้าวภายใน จะเห็นเป็นรอยในภาพที่ปรากฏบนจอ

แหล่งข้อมูล

www.oknation.net/blog/print.php?id=77864 - 19k

www.google.com

  
นายสาธิต มณีโชติ 49661356 ปี2
ประโยชน์ของรังสีที่ใช้ในการเกษตร1.  การฉายรังสีในการกำจัดแมลงผลไม้ 2. นำแมลงวันไปฉายรังสีเพื่อยับยั้งการขยายพันธุ์  เมื่อทำการปล่อยแมลงวันผลไม้ที่เป็นหมันจำนวนมากๆ ต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ ก็ทำให้จำนวนประชากรแมลงวันผลไม้ในธรรมชาติลดลงหรือหมดไป การควบคุมและกำจัดแมลงโดยวิธีการนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด ไม่มีผลกระทบต่อแมลงที่เป็นประโยชน์ เช่น ผึ้ง ตัวห้ำ และตัวเบียน และไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม()

3.การปรับปรุงพันธุ์พืช การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทย พืชที่สามารถปรับปรุงพันธุ์ได้สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่าง แพร่หลายมีอยู่ ๑๐ ชนิด คือ ข้าวจำนวน ๓ พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ กข๖ กข๑๐ และ กข๑๕ ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ และพืชสวน ได้แก่ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง

 ประโยชน์ของรังสีที่ใช้ในอุตสาหกรรม

1. การฉายรังสีอาหาร

ประเทศไทยมีศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตร ซึ่งขึ้นอยู่กับสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ โดยเปิดเป็นทางการตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๒ ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ มีกัมมันตภาพรังสีตอนเริ่มต้น ๔๔,๐๐๐ คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรที่สำคัญคือ เครื่องเทศ สมุนไพร ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ กระเทียม แหนม ถั่วเขียว และมะขามหวาน

2.   อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์ รังสีแกมมาจากไอโซโทปโคบอลต์-๖๐ ได้นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ โดยมีจำนวนมากกว่า ๑๔๐ โรงงาน ใน ๔๐ ประเทศ สำหรับประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน ๕ แห่ง 3.  อุตสาหกรรมพอลิเมอร์ รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนสามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกพอลิเมอร์ต่างๆ เช่น - การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่ถูกอัดด้วยสารมอนอเมอร์ จะทำให้กลายเป็นสารพอลิเมอร์ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับทำพื้นปาร์เกต์หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง - การฉายรังสีเพื่อไปช่วยให้มอนอเมอร์จับตัวกับพอลิเมอร์เรียกว่า การต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติมาฉายรังสีเพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก - การฉายรังสีเพื่อไปทำให้พอลิเมอร์จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ในการผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติกและโฟม - การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกันของพอลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization) - การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหล หรือสารเคมีในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ - การใช้รังสีแกมมาวัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ - การใช้รังสีแกมมาวัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระดาษ และกระเบื้อง - การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบ เพื่อการผลิตยางรถยนต์ - การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก - การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ - การใช้รังสีเอกซ์วัดหาปริมาณตะกั่ว และกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม - การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดิน - การใช้รังสีแกมมาตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่วและรอยร้าวของวัสดุ - การใช้รังสีแกมมาวัดหาปริมาณเถ้าในถ่านหินบนสายพานลำเลียง -  การเพิ่มคุณค่าอัญมณีด้วยการฉายรังสีแหล่งอ้างอิงhttp://www.clinictech.most.go.th/Nuke/html/modules.php?name=News&file=print&sid=73http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter8/t27-8-l2.htmhttp://www.doa.go.th/th/ShowArticles.aspx?id=2142 
ณัฐวัฒน์ ดอกพิกุล 49660335

1. กิจการอุตสาหกรรม
 การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์"
เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย
ในกิจการต่าง ๆ ดังนี้
 ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
 - ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
 - ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
 - วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
 - วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
 - วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
 - ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
 - วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
 - ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
 - ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
 - ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
 - ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch
module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85
 - ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive
Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
 - ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
 - ใช้ทำสีเรืองแสง
 - ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า
 - การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron
activation and x-ray fluorescence analysis)
 - การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด
ถุงมือ

2. ด้านการเกษตร
 การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษา
เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบชนิดใดลงไป
 - เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืช
เศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุใน
ภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
 - การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
 - การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการ
ขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
 - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
 - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
 - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบ
ศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
 - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced
Mutation) เช่น
 1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอม
 เหมือนข้าวขาวมะลิ
 2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า
 และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
 3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
 4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม
ที่มา
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=77864
http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm
 

นางสาวดวงใจ สีสงปราบ

1. ประโยชน์ของรังสีในด้านอุตสาหกรรม
การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์"
เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย
ในกิจการต่าง ๆ ดังนี้
 - ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
- ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
- ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
- วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
- วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
- ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
- วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
- ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
- ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
- ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
- ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch
module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85
- ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive
Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
- ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
- ใช้ทำสีเรืองแสง
- ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า
- การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron
activation and x-ray fluorescence analysis)
- การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด
ถุงมือ


2.ประโยชน์ของรังสีด้านด้านการเกษตร 
ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริม
กิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่ม
มากขึ้น
- การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษา
เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบชนิดใดลงไป
- เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืช
เศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
- การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุใน
ภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
- การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
- การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการ
ขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
- การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
- การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
- การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบ
ศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
- การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced
Mutation) เช่น
1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอม
เหมือนข้าวขาวมะลิ
2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า
และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม 
   การศึกษาการใช้รังสีแกมมาเพื่อผลผลิตไหมไทยพันธุ์นางเหลือง โดยการฉายรังสีแกมมากับไข่ไหม
ที่สำนักพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ แล้วทำการเลี้ยง และศึกษาคัดเลือกที่ศูนย์วิจัยหม่อนไหม ศรีสะเกษ จนถึง
รุ่นที่ 8 พบว่าปริมาณรังสีที่เหมาะสมสำหรับการปรับปรุงผลผลิตอยู่ระหว่าง 1.5-2.5 เกรย์ ทำให้รังไหมมีเปอร์-
เซ็นต์เปลือกรังเพิ่มขึ้น 80.62 และ 60.10 เปอร์เซ็นต์ ขนาดเส้นของใยไหมเพิ่มขึ้น 11.56 และ 7.37 เปอร์เซ็นต์
ตามลำดับ
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่มีอากาศร้อน ผลเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเน่าเสียจุลินทรีย์
และพยาธิที่ก่อให้เกิดโรค รวมทั้งการทำลายของแมลงที่เกิดขึ้นกับผลผลิตการเกษตร มีปริมาณร้อยละ 30
สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมได้จัดตั้งโรงงาน
ฉายรังสี อาหารและผลิตผลทางการเกษตรประเภทเอนกประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว และเพื่อก่อให้เกิด
ประโยชน์ร่วมกันระหว่างรัฐบาล อุตสาหกรรม และผู้บริโภค ในอันที่จะสร้างตลาดอาหารฉายรังสีภายในประ-
เทศและต่างประเทศ โรงงานฉายรังสีอาหารซึ่งมีความแรงของรังสีเริ่มต้น 450,000 คูรี ดำเนินการโดยเจ้าหน้า-
ที่ของสำนักงาน พปส. ซึ่งเป็นสถาบันที่ได้ดำเนินการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับอาหารฉายรังสี ผลิตผลการเกษตร
พวกผักและผลไม้ เนื้อ ผลิตภัณฑ์หมูและผลิตภัณฑ์ปลา ไก่ ธัญพืช รวมทั้งไม้ตัดดอกเป็นจำนวนถึง 41,000
ตันต่อปี


แหล่งอ้างอิง http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm

นางสาวศิรินิภา พุกโหมด รหัสนิสิต 49661288
รังสีที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการอุสาหกรรมการใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรมซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์ " เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์และใช้กันอย่างแพร่หลายในกิจการต่างๆ ดังนี้1.ใช้วัดระดับของไหลสารเคมีต่างๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา 2.ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่งภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา 3.ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์ 4.วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหินในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ 5.วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเลเพื่อการคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน 6.วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน 7.ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ 8.วัดหาปริมาณสารตะกั่วหรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม 9.ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตรถยนต์ 10.ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ 11.ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์มฟิล์มภาพยนต์หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์เวชภัณฑ์ต่างๆ 12.ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่างๆ ด้วย ก๊าซคริปตอน-85 13.ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบและความชื้นใต้ดิน ด้วยรังสีนิวตรอน 14.ใช้ทำสีเรืองแสง 15.ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์และปริมาณเถ้า 16.การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis) 17.การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือถุงเลือดถุงมือ  รังสีที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการเกษตรกรรมการฉายรังสีอาหาร  คือการนำอาหารที่บรรจุในภาชนะหรือหีบห่อที่เหมาะสมไปผ่านการฉายรังสีแกมมา หรือรังสีเอกซ์หรืออิเล็กตรอนในห้องกำบังรังสีในปริมาณรังสีที่เหมาะสมตามวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี เช่น การฆ่าเชื้อโรคและพยาธิการยับยั้งการทำลายของแมลงการยืดอายุการเก็บรักษาการยับยั้งการงอกและการชะลอการสุก         ซึ่งจะยกตัวอย่างดังต่อไปนี้1.การแช่แข็งกุ้งโดยการใช้รังสีแกมมาปริมาณต่ำ ที่มีต่ออายุการเก็บและคุณภาพของกุ้งแช่แข็ง ทำโดยนำกุ้งสดชนิดเด็ดหัวและชนิดปอกเปลือกไปแช่แข็ง และฉายรังสีที่ 2 และ 4 กิโลเกรย์ และนำไปเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 18          2.การฉายรงสีกระปิ กะปิเป็นอาหารที่ได้จากการหมักเคยหรือกุ้งกับเกลือและไม่มีการใช้ความร้อนฆ่าเชื้อ จึงมีความเสี่ยงที่จะมีการปะปนของเชื้อก่อโรคเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ผลการตรวจวิเคราะห์กะปิ มีเชื้อ Clostridium perfringens  ดันั้นการฉายรังสีกะปิด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสมจะทำให้ผลิตภัณฑ์ปลอดจากเชื้อดังกล่าวและปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค          3.การยืดอายุการเก็บรักษาและการปรับปรุงคุณภาพทางจุลินทรีย์ของปลาร้าด้วยรังสีแกมมา    สำหรับการฉายรังสีแกมมา พบว่ารังสีปริมาณ 8 กิโลเกรย์   เพียงพอที่จะใช้ปรับปรุงคุณภาพทางจุลินทรีย์ของปลาร้าได้  โดยสามารถกำจัด B. cereus และ C. perfringens ที่ปนเปื้อนในปลาร้าให้หมดสิ้นไปได้            4. การฉายรังสีมะขามหวาน  การฉายรังสีปริมาณ 1 กิโลเกรย์ สามารถควบคุมเชื้อราและกำจัดแมลงที่ปนเปื้อนมาในมะขามหวานได้หมดสิ้น  มะขามหวานที่ผ่านการฉายรังสีสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานกว่า 8 เดือน5.การใช้รังสีแกมมาเพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับชงดื่ม  การฉายรังสีเพื่อปรับปรุงพันธุ์พืชจากการคัดสรรเมล็ดพันธุ์ของพืชที่มีลักษณะดี นำมาฉายรังสีในปริมาณที่เหมาะสม ก่อนจะนำไปปลูกเพื่อคัดเลือกต้นที่มีลักษณะตามที่เราต้องการ ทั้งนี้แม้การใช้รังสีจะสะดวกกว่าการปรับปรุงพันธุ์พืชด้วยวิธีมาตรฐานแต่ไม่ได้หมายความว่าจะเห็นผลในทันที ด้วยเหตุเพราะเราไม่สามารถกำหนดลักษณะการกลายพันธุ์ที่จะเกิดขึ้นจากการฉายรังสีได้ การฉายรังสีกำจัดแมลงวันผลไม้ในมังคุดการใช้รังสีแกมมาปรับปรุงคุณภาพรำข้าวเพื่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้ง  โดยการฉายรังสีแกมมาเพื่อลดปัญหาทางด้านจุลินทรีย์ เชื้อรา และแมลง  การใช้รังสีแกมมาในระดับต่ำนี้มีความปลอดภัยสูง ไม่ก่อให้เกิดผลตกค้างในอาหารสัตว์ การใช้รังสีแกมมาเพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับชงดื่ม    

แหล่งที่ค้นหาข้อมูล: km.oaep.go.th/vlibrary/Docdetail.

                                                       11/11/50

นายอภิชัย ใหลเจริญ 49661530 สหเวชศาสตร์ รังสีเทคนิค
ประโยชน์ทางด้านการเกษตรกรรม-         เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสีใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุ และปุ๋ยด้วยต้นไม้และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น-         การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืช ซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย-         การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน-         การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้ โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกล และการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล-         การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยง และการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อ ในโค และ กระบือ-         การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา  ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร-         การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค-         การเอาพลังงานปรมาณูมาใช้ฉายพันธุ์พืช เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม(Induced Mutation) เช่นก.       ข้าวขาวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์ มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนขาวขาวมะลิประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมด้านอุตสาหกรรม ในอุตสาหกรรมการผลิตแผ่นโลหะ จะใช้ประโยชน์จากกัมมันตภาพรังสีในการควบคุมการรีดแผ่นโลหะ เพื่อให้ได้ความหนาสม่ำเสมอตลอดแผ่น โดยใช้รังสีบีตายิงผ่านแนวตั้งฉากกับแผ่นโลหะที่รีดแล้ว แล้ววัดปริมาณรังสีที่ทะลุผ่านแผ่นโลหะออกมาด้วยเครื่องวัดรังสี ถ้าความหนาของแผ่นโลหะที่รีดแล้วผิดไปจากความหนาที่ตั้งไว้ เครื่องวัดรังสีจะส่งสัญญาณไปควบคุมความหนา โดยสั่งให้มอเตอร์กดหรือผ่อนลูกกลิ้ง เพื่อให้ได้ความหนาตามต้องการ

ในอุตสาหกรรมการผลิตถังแก๊ส อุตสาหกรรมก่อสร้าง การเชื่อมต่อท่อส่งน้ำมันหรือแก๊สจำเป็นต้องตรวจสอบความเรียบร้อยในการเชื่อต่อโลหะ เพื่อต้องการดูว่าการเชื่อมต่อนั้นเหนียวแน่นดีหรือไม่ วิธีการตรวจสอบทำได้โดยใช้รังสีแกมมายิงผ่านบริเวณการเชื่อมต่อ ซึ่งอีกด้านหนึ่งจะมีฟิล์มมารับรังสีแกมมาที่ทะลุผ่านออกมา ภาพการเชื่อมต่อที่ปรากฏบนฟิล์ม จะสามารถบอกได้ว่าการเชื่อมต่อนั้นเรียบร้อยหรือไม่ แหล่งอ้างอิง http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=41944http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/65/nuclear1/nuceng.html นายอภิชัย ใหลเจริญ  รหัสนิสิต 49661530  คณะสหเวชศาสตร์ รังสีเทคนิค
นาย ฐิตินันท์ ยมวัน 49660144

การใช้ประโยชน์รังสีในด้านอุตสาหกรรม

จำแนกออกเป็น 3 แบบ ตามวิธีการของเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ดังนี้
1. อุตสาหกรรมด้านพลังงาน
ก. อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการผลิตเรือสินค้า เรือเดินสมุทร เรือตัดน้ำแข็ง เรือดำน้ำที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์
ข. อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

2. อุตสาหกรรมการฉายรังสี
การใช้รังสีพลังงานสูงมาฉายรังสีวัสดุ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทางชีววิทยา และทางกายภาพ เพื่อประโยชน์ในด้านการปรับปรุงคุณภาพของวัสดุ การกำจัดจุลินทรีย์บางชนิดในอาหาร โดยมีตัวอย่างดังต่อไปนี้

ก. การฉายรังสีอาหาร
ประเทศไทยมีศูนย์ฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตร ซึ่งขึ้นอยู่กับสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ โดยเปิดเป็นทางการตั้งแต่ พ.ศ. 2532 ใช้ไอโซโทปโคบอลต์-60 มีกัมมันตภาพรังสีตอนเริ่มต้น 44,000 คูรี สามารถให้บริการฉายรังสีอาหารและผลิตผลการเกษตรที่สำคัญคือ เครื่องเทศ สมุนไพร ผลไม้ กุ้งแช่แข็ง หอมหัวใหญ่ กระเทียม แหนม ถั่วเขียว และมะขามหวาน

ข. อุตสาหกรรมการปลอดเชื้อจุลินทรีย์
รังสีแกมมาจากไอโซโทปโคบอลต์-60 ได้นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการปลอดเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ได้แก่ เวชภัณฑ์ เภสัชภัณฑ์ และเนื้อเยื่อ โดยมีจำนวนมากกว่า 140 โรงงาน ใน 40 ประเทศ สำหรับประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมปลอดเชื้อ จำนวน 5 แห่ง

ค. อุตสาหกรรมพอลิเมอร์
รังสีแกมมาหรืออิเล็กตรอนสามารถไปช่วยเร่งการเกิดปฏิกิริยาในการผลิตสารพวกพอลิเมอร์ต่างๆ เช่น
- การฉายรังสีไม้เนื้ออ่อนที่ถูกอัดด้วยสารมอนอเมอร์ จะทำให้กลายเป็นสารพอลิเมอร์ที่มีความแข็งมากขึ้น ใช้สำหรับทำพื้นปาร์เกต์หรือท่อนไม้ที่ต้องการให้มีความแข็งสูง
- การฉายรังสีเพื่อไปช่วยให้มอนอเมอร์จับตัวกับพอลิเมอร์เรียกว่า การต่อกิ่ง (grafting) เช่น การนำน้ำยางธรรมชาติมาฉายรังสีเพื่อทำกาวให้เหนียวขึ้น หรือทำยางพลาสติก
- การฉายรังสีเพื่อไปทำให้พอลิเมอร์จับตัวกันเป็นร่างแหสามมิติ และส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทนต่อความร้อน เช่น ใช้ในการผลิตฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติกและโฟม
- การฉายรังสีน้ำยางธรรมชาติที่ผสมกับสารเคมี เพื่อให้มีการจับตัวกันของพอลิเมอร์เป็นแผ่นยาง (rubber vulcanization)

3. การตรวจวัดและควบคุมโดยเทคนิคนิวเคลียร์ในโรงงานอุตสาหกรรม
การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีซึ่งเรียกว่า “เทคนิคนิวเคลียร์” มาใช้ประโยชน์ในระบบตรวจวัดและควบคุมต่างๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบัน มี

การใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย มีตัวอย่างคือ การใช้รังสีแกมมาวัดระดับของไหล หรือสารเคมีในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์

การใช้รังสีแกมมาวัดระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง เพื่อการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบ 

 การใช้รังสีแกมมาวัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน เพื่อการผลิตกระดาษ และกระเบื้อง 

การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบ เพื่อการผลิตยางรถยนต์

การใช้รังสีแกมมาวัดและควบคุมความหนาของแผ่นเหล็ก

การใช้รังสีบีตาวัดและควบคุมน้ำหนักของกระดาษในอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ

การใช้รังสีเอกซ์วัดหาปริมาณตะกั่ว และกำมะถันในการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม

การใช้รังสีนิวตรอนในการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใต้ดิน

การใช้รังสีแกมมาตรวจสอบรอยเชื่อมโลหะ การหารอยรั่วและรอยร้าวของวัสดุ

การใช้รังสีแกมมาวัดหาปริมาณเถ้าในถ่านหินบนสายพานลำเลียง

การใช้ประโยชน์รังสีในกิจการเกษตร

1. การปรับปรุงพันธุ์พืช
การใช้รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือรังสีนิวตรอนฉายไปยังเซลล์ของพืช จะทำให้การแบ่งตัวของเซลล์พืชหยุดชะงัก มีการแบ่งตัวของเซลล์ล่าช้า เซลล์มีการกลายพันธุ์ เพื่อสร้างพันธุ์พืชที่มีลักษณะดีตามความต้องการ สำหรับประเทศไทย พืชที่สามารถปรับปรุงพันธุ์ได้สำเร็จและเพาะปลูกกันอย่าง แพร่หลายมีอยู่ 10 ชนิด คือ ข้าวจำนวน 3 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ กข6 กข10 และ กข15 ถั่วเหลืองพันธุ์ดอยคำ และพืชสวน ได้แก่ เก๊กฮวย คาร์เนชัน เบญจมาศ พุทธรักษา ปทุมมา และกล้วยหอมทอง

2. การทำหมันแมลง
วิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยเทคนิคการใช้แมลงที่เป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) เริ่มจากการเพาะเลี้ยงแมลง ให้มีปริมาณมากเพื่อผลิตดักแด้ ต่อมานำดักแด้ไปฉายรังสีแกมมาเพื่อให้เป็นหมันแล้วนำไปปล่อยในธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง การผสมพันธุ์จะไม่สามารถกำเนิดลูกหลานต่อไปได้ เป็นการลดการขยายพันธุ์ ทำให้จำนวนประชากรแมลงลดลงหรือหมดไปในที่สุด การควบคุมจำนวนของแมลงโดยวิธีทำหมันด้วยรังสีนี้เป็นการควบคุมและกำจัดแมลงเฉพาะชนิด ไม่มีผลต่อแมลงชนิดอื่นที่เป็นประโยชน์ เช่น ผึ้ง ผีเสื้อ และแมลงปอทางสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการกำจัดแมลงวันผลไม้ ในพื้นที่บริเวณดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ผลสำเร็จอย่างดียิ่ง ทำให้ผลผลิตของผลไม้เมืองหนาว เช่น ลูกพลับ สาลี่ ท้อ และลูกพรุน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก

3. การถนอมอาหารด้วยรังสี
การถนอมอาหารโดยการฉายรังสี เช่น รังสีแกมมาให้พลังงานสูงถึง 1.33 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ที่สลายตัวมาจากไอโซโทปโคบอลต์-60 หรือการใช้เครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอน ที่ให้อิเล็กตรอนพลังงานสูงถึง 10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ไปทำลายยีน และรบกวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็นผลให้จุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ พยาธิ และแมลงตาย หรือเป็นหมันได้ สำหรับในพืชนั้น รังสีจะทำให้อัตราการหายใจและกระบวนการทางชีวเคมีเปลี่ยนไป ทำให้ผลไม้บางชนิดสุกช้าลง ทำให้มันฝรั่งและหอมหัวใหญ่งอกช้าลง และทำให้เห็ดบานช้าลง กล่าวโดยสรุปคือ การถนอมอาหารโดยการฉายรังสีสามารถควบคุมการแพร่พันธุ์ของเชื้อโรค พยาธิ และแมลง ควบคุมการงอก การสุก และการเน่าเสียของผลิตผลการเกษตรได้

4. ประโยชน์ทางด้านอื่นๆ
ก. เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อปรับปรุง การใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ข. การใช้เทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา เพื่อเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดินสำหรับการเกษตร
ค. การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช ชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป
ง. การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยวิธีอาบรังสีนิวตรอน เพื่อวิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง และธาตุมลพิษ ซึ่งมีความสำคัญ ต่อผู้บริโภค

ที่มา : จาก สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ 27 
http://www.oaep.go.th/nstkc/content/category/4/69/29/

http://www.spiceday.com/teenzone/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&p=878

นางสาวภัทราภรณ์ จำรัส รหัสนิสิต 49660847

1. ทางการเกษตร
      1.1 การปรับปรุงพันธุ์พืช (Mutation Breeding) เช่น ถั่วเหลืองพันธ์ดอยคำ , กล้วยหอมทอง KU1
      1.2 การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect technique) เช่น กำจัดแมลงวันผลไม้บนดอยอ่างขาง จ.เชียงใหม่ 
      1.3 การถนอมอาหาร (Food Preservation) เช่น  ผลไม้แห้ง ,ปลาแห้ง ,มะขามหวาน
 ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ผ่านการฉายรังสีมาแล้วนั้นจะไม่มีรังสีตกค้างอยู่เลย ทั้งนี้เนื่องจากรังสีแกมมาที่นำมาใช้ จะไม่แตกตัวและไม่ทำให้ตัวกลางกลายเป็นรังสีแต่อย่างใด ดังนั้นอาหารที่ผ่านการฉายรังสี จึงปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค
   2. ทางอุตสาหกรรม
 ในประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 165 แห่ง ทีนำสารกัมมันตรังสี โคบอลต์-60 มาใช้ ดังนี้
      2.1 การวัดระดับ เช่น โรงงานทอผ้า , โรงงานพลาสติก
      2.2 การวัดความหนา เช่น โรงงานโลหะ
      2.3 การวัดความหนาแน่น เช่น โรงงานพลาสติก , โรงงานกระเบื้อง
      2.4 การสำรวจหลุมเจาะ เพื่อเสาะหาแหล่งแร่
      2.5 การฉายรังสีเวชภัณฑ์ เช่น เข็มฉีดยา , ถุงมือ , มีดผ่าตัด และยารักษาโรค
อ้างอิง
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=77864
เวลา 17.55 น.  วันพุธ  ที่ 7  พฤศจิกายน  2550


     


     

นางสาวภัทราภรณ์ จำรัส รหัสนิสิต 49660847

ด้านการเกษตร
1.  มีการฉายรังสีอาหารเพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่มีอันตรายกับร่างกายโดยไม่มี
     ผลกระทบกับอาหาร เพื่อชะลอการงอกของเมล็ดพันธ์
2.  ทำลายแมลงที่เป็นอันตรายกับผลไม้ยกตัวอย่างเช่น การทำหมันแมลงวันผลไม้
      และปล่อยไปในธรรมชาติเพื่อให้ผสมพันธ์กับแมลงในธรรมชาติ ทำให้ปริมาณของแมลงลดลง
ด้านอุตสาหกรรม
1.   มีการใช้วัสดุกัมมันตรังสีในการวัดความหนาของวัสดุต่างๆ
2.  อัตราการไหลของของเหลว
3.  วัดระดับของของเหลวในแท็งค์ โดยการถ่ายภาพด้วยรังสี
4.  มีการใช้วัสดุกัมมันตรังสีในอุปกรณ์เฉพาะเพื่อตรวจสอบคุณภาพรอยเชื่อมของท่อส่งกาซ ท่อน้ำมัน
     ระหว่างการก่อสร้าง
5.  มีการใช้รังสีสามารถวิเคราะห์ความแตกต่างของวัสดุต่างๆเพื่อใช้บอก
     โครงสร้างต่างๆใต้พื้นดินเช่น ลักษณะของชั้นหิน น้ำมัน และระดับน้ำใต้ดิน

อ้างอิง
http://www.oaep.go.th/everything/radio.pdf
วันที่ 16  พฤศจิกายน  2550 เวลา 11.35 น.

น.ส.เจนจิรา วรรณประโพธิ์ รหัสนิสิต 49660212
ประโยชน์ของรังสีในด้านอุตสาหกรรมในประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 165 แห่ง ทีนำสารกัมมันตรังสี โคบอลต์-60 มาใช้ ดังนี้
      2.1  การวัดระดับ เช่น โรงงานทอผ้า , โรงงานพลาสติก
      2.2  การวัดความหนา เช่น โรงงานโลหะ
      2.3  การวัดความหนาแน่น เช่น โรงงานพลาสติก , โรงงานกระเบื้อง
      2.4  การสำรวจหลุมเจาะ เพื่อเสาะหาแหล่งแร่
      2.5  การฉายรังสีเวชภัณฑ์ เช่น เข็มฉีดยา , ถุงมือ , มีดผ่าตัด และยารักษาโรค
                นอกจากประโยชน์ข้างต้นแล้วยังมีการนำรังสีมาใช้ประโยชน์รนอุตสาหกรรมด้านอื่นๆอีกมากมาย ดังได้ยกตัวอย่างมานี้       ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา       ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา        ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์        วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ       วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน       วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน        ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ        วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม        ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์       ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ        ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ        ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85 - ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing : NDT)       ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน        ใช้ทำสีเรืองแสง       ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า        การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)       การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด ถุงมือ ประโยชน์ของรังสีในด้านเกษตรกรรม1.1 การปรับปรุงพันธุ์พืช (Mutation Breeding) เช่น พันธุ์ข้าว กข 6 , กข 10 , กข 15 , ถั่วเหลืองพันธ์ดอยคำ , กล้วยหอมทอง KU1
      1.2 การกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยการทำหมัน (Sterile Insect technique) เช่น กำจัดแมลงวันผลไม้บนดอยอ่างขาง จ.เชียงใหม่
      1.3 การถนอมอาหาร (Food Preservation) เช่น
         - ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง , หอมใหญ่ , กระเทียม , ขิง
         - ชะลอการสุก : มะม่วง , มะละกอ
         - ชะลอการบาน : เห็ด
         - ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู , แหนม
         - ลดแบคทีเรียและเชื้อรา : ปลาสด ,เนื้อสด , กุ้งแช่แข็ง , เครื่องเทศ
         - ควบคุมแมลง : ข้าว,ถั่วเขียว ,ผลไม้แห้ง ,ปลาแห้ง ,มะขามหวาน
   ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ผ่านการฉายรังสีมาแล้วนั้นจะไม่มีรังสีตกค้างอยู่เลย ทั้งนี้เนื่องจากรังสีแกมมาที่นำมาใช้ จะไม่แตกตัวและไม่ทำให้ตัวกลางกลายเป็นรังสีแต่อย่างใด ดังนั้นอาหารที่ผ่านการฉายรังสี จึงปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค  นอกจากนี้รังสียังประโยชน์อีกมากมายดังนี้
                    - การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษาเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบางชนิดใดลงไป
                    - เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                    - การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
                    - การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
                    - การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
                    - การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
                    - การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
                    - การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
                    - การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation) เช่น
                    1. ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ
                    2. ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่าและมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
                    3. ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
                    4. ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม
ที่มา          http://www.np.ac.th/NP/Elearning/Scince1/Data/CHP2.ppt

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=77864

http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/choice3.htm
 
  
น.ส.วัชราพรรณ สุราฤทธิ์ รหัสนิสิต 49662896 ชั้นปีที่ 2
ประโยชน์ของรังสีในทางอุตสาหกรรม

            การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์" เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ  ซึ่งมีดังนี้

1. ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา2. ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา3. ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์4. วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ5. วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน6. วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน7. ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ8. วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม9. ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์10. ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ11. ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ12. ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -8513. ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography14. ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน15. ใช้ทำสีเรืองแสง16. ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า17. การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron activation and x-ray fluorescence analysis)18. การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด

ถุงมือ

 ประโยชน์ของรังสีในทางเกษตรกรรม
1. การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษา
เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบางชนิดใดลงไป2. เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น3. การฉายรังสีอาหารเพื่อทำลายและยับยั้งการแพร่พันธุ์ของแมลง การฉายรังสีเพื่อกำจัดแมลง อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ทาง ตามลักษณะการทำลายคือ       - การทำลายแมลงทางตรง เป็นการนำอาหาร หรือผลิตภัณฑ์ ที่มีแมลงปนเปื้อน ไปรับรังสีโดยตรง แมลงจะถูกทำลายด้วยรังสีทันทีไม่ว่าจะอยู่ในระยะใดของการเจริญ เช่น เครื่องเทศชนิดต่าง ๆ ข้าวสาร ถั่วเขียว ถั่วเหลือง และมะขามหวาน  การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุในภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย      - การทำลายโดยทางอ้อม  การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน4. การฉายรังสีเพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ และกำจัดจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค เป็นการนำอาหารไปรับรังสีเพื่อทำลายเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคซึ่งปนเปื้อนในอาหาร เช่น
     - แหนม ฉายรังสีปริมาณ 2 กิโลเกรย์ เพื่อทำลายเชื้อโรคท้องร่วง ซัลโมเนลลา
     - ปลาป่น ใช้รังสีปริมาณ 5 กิโลเกรย์ เพียงพอที่จะลดปริมาณจุลินทรีย์ และกำจัดเชื้อซัลโมเนลลา
5. การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล6. การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ7. การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร8. การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค9. การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธุ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced Mutation) เช่น    - ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอมเหมือนข้าวขาวมะลิ    - ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า    - ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อรา สนิม10. การฉายรังสีอาหารเพื่อชะลอการบานของเห็ด  เช่น เห็ดฟาง พบว่าเห็ดฟางฉายรังสีปริมาณ 1 กิโลเกรย์ เก็บที่อุณหภูมิ 17 องศาเซลเซียส สามารถชะลอการบานของเห็ดและเก็บได้นาน 4 วัน โดยเห็ดยังคงมีสภาพเหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลง11. การฉายรังสีเพื่อชะลอการสุกของผลไม้  ผลไม้ที่นำมาฉายรังสี เพื่อชะลอการสุก ต้องเป็นผลไม้กลุ่มที่ต้องบ่ม หรือปล่อยทิ้งไว้ให้สุกก่อนเท่านั้น จึงจะได้ผล  เช่น กล้วย มะละกอ มะม่วง12. การฉายรังสีเพื่อยับยั้งการงอกระหว่างการเก็บรักษา เป็นการฉายรังสีอาหาร ที่นำไปใช้กับพืช ประเภทหัวสะสมอาหาร ช่วยลดการสูญเสียของอาหารระหว่างการเก็บรักษา

13. การฉายรังสีอาหารเพื่อกำจัดพยาธิ เป็นการใช้วิธีการฉายรังสีทำลายพยาธิในเนื้อสัตว์ ทั้งเนื้อสัตว์ที่เป็นสัตว์บกหรือสัตว์น้ำก็ได้ วิธีการนี้เป็นประโยชน์อย่างมากกับผู้ที่นิยมบริโภคเนื้อดิบ เพราะสามารถทำลายได้ทั้งพยาธิและจุลินทรีย์ที่ก่อโรค โดยที่อุณหภูมิของเนื้อสัตว์ไม่เปลี่ยนแปลง เนื้อสัตว์ยังคงเป็นเนื้อดิบเหมือนเดิม แต่เป็นเนื้อที่ปลอดจากพยาธิและจุลินทรีย์ที่ก่อโรคแล้ว

14. การฉายรังสีวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อการทำหัวเชื้อเห็ดฟาง 

อ้างอิง :

 http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm http://www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm

 http://www.tint.or.th/nkc/nkc5003/nkc5003o.html

 http://www.oaep.go.th/nstkc/content/view/517/29/1/1/

            ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม  สินค้าหลักของประเทศส่วนใหญ่เป็นสินค้าเกษตรกรรม การที่เราจะให้ได้สินค้าที่มีปริมาณมากขึ้นและคุณภาพที่ดีด้วยนั้น  เราจะต้องนำเอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยี  เข้ามาช่วยอีกทางหนึ่ง

                 ปัจจุบันได้นำเอาความรูเรื่องรังสีมาใช้  นอกจากทางด้านการแพทย์แล้วยังมีด้านอื่นๆอีก  เช่นทางด้ายอุตสาหกรรม

          -ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
- ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
- ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
- วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
- วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
- วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
- ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
- วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
- ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
- ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
- ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
- ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch
module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85
- ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive
Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
- ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
- ใช้ทำสีเรืองแสง
- ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า
- การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron
activation and x-ray fluorescence analysis)
- การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด
ถุงมือ

 

ทางด้านเกษตรกรรม

การถนอมอาหาร (Food Preservation) โดยศูนย์ฉายรังสีอาหาร และผลิตผลการเกษตร

ของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ได้ให้บริการ แก่ผู้ผลิตและจำหน่าย อาหารและผลิตผลทางการเกษตร ดังนี้

- ยับยั้งการงอก : มันฝรั่ง, หอมใหญ่, กระเทียม, ขิง
-ชะลอการสุก : มะม่วง, มะละกอ 
- ชะลอการบาน : เห็ด 
- ทำลายพยาธิ : เนื้อหมู, แหนม 
- ลดบักเตรีและเชื้อรา : ปลาสด, เนื้อสด, กุ้งแช่แข็ง, เครื่องเทศ 
- ควบคุมแมลง : ข้าว, ถั่วเขียว, ผลไม้แห้ง, ปลาแห้ง, มะขามหวาน

                       การใช้เทคนิครังสี เพื่อขยายพันธุ์สัตว์ และการเพิ่มอาหารผม อาหารเนื้อในโคและกระบือ การใช้เทคนิค ด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำใต้ดิน สำหรับการเกษตร การใช้เทคนิคนิวเคลียร์ วิเคราะห์ดิน เพื่อจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่า พื้นที่ศึกษา มีความเหมาะสม ต่อการปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยชนิดใดลงไป การใช้เทคนิคสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมธาตุ และปุ๋ยของต้นไม้ และพืชเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อการปรับปรุง การให้น้ำ และปุ๋ย อย่างมีประสิทธิภาพ

                          อย่างไรก็ตามรังสึซึ่งให้ประโยชน์มากมาย  มันก็สามารถให้โทษที่มากไม่แพ้ประโยชน์ของมันเช่นกัน  ดังนั้น คนเราควรที่จะรู้จักระมัดระวัง   รู้จักควบคุมอันตรายเหล่านี้ด้วยครับ

 

ที่มา:

http://www.nst.or.th/article/notes01/article008.htm

http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm

 

นายพิชัย พันธ์พืช รหัสนิสิต 49661806 ชั้นปีที่ 2

ด้านอุตสาหกรรม
 การใช้วัสดุกัมมันตรังสีและเทคนิคทางรังสีในทางอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า "เทคนิคเชิงนิวเคลียร์"
เป็นการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ สำหรับประเทศไทยได้มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย
ในกิจการต่าง ๆ ดังนี้
 1.  ใช้วัดระดับของไหล สารเคมีต่าง ๆ ในขบวนการผลิตในโรงงานเส้นใยสังเคราะห์ด้วยรังสีแกมมา
 2.  ใช้ตรวจสอบระดับเศษไม้ในหม้อนึ่ง ภายใต้ความดันสูงในการผลิตไม้อัดแผ่นเรียบด้วยรังสีแกมมา
 3.  ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์
 4.  วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ
 5.  วัดความหนาแน่นในการดูดสินแร่ในทะเล เพื่อคำนวณหาแร่ที่ดูดผ่าน
 6.  วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน
 7.  ควบคุมขบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องแก้วให้มีความสม่ำเสมอ
 8.  วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม
 9.  ควบคุมความหนาแน่นของเนื้อยางที่เคลือบบนแผ่นผ้าใบในขบวนการผลิตยางรถยนต์
 10.ควบคุมน้ำหนักของกระดาษต่อหน่วยพื้นที่ในอุตสาหกรรมผลิตกล่องกระดาษ
 11.ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
                            ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ
 12.ใช้ตรวจสอบความรั่วซึมในการผนึกแน่นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ IC, Semiconductor, Watch
                            module ต่าง ๆ ด้วยก๊าซคริปตอน -85
 13.ใช้ตรวจสอบและถ่ายรอยเชื่อมโลหะ หาความสึกหรอโดยไม่ทำลายชิ้นงาน (Non-Destructive
                           Testing : NDT) มีทั้งการใช้ X-rays, gamma rays และ neutron radiography
 14.ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน
 15.ใช้ทำสีเรืองแสง
 16.ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า
 17.การวิเคราะห์แร่ธาตุด้วยเทคนิคเชิงนิวเคลียร์ สำหรับการสำรวจทรัพยากรในประเทศ (neutron
                           activation and x-ray fluorescence analysis)
 18.การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด
                           ถุงมือ

ด้านการเกษตร
 ประเทศไทยมีการเกษตรเป็นอาชีพหลักของประชากร โครงการใช้นิวเคลียร์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริม
กิจการเกษตร เป็นต้นว่าการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลผลิต ซึ่งกำลังแพร่ขยายออกไปสู่ชนบทเพิ่ม
มากขึ้น
 1. การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก ทำให้ทราบว่าพื้นที่ที่ศึกษา
                          เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชชนิดใด ควรเพิ่มปุ๋ยบชนิดใดลงไป
 2. เทคนิคการสะกดรอยด้วยรังสี ใช้ศึกษาเกี่ยวกับการดูดซึมของแร่ธาตุ และปุ๋ยโดยต้นไม้ และพืช
                          เศรษฐกิจต่าง ๆ เพื่อการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 3. การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุใน
                         ภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย
 4. การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยวิธีทำให้ตัวผู้เป็นหมัน
 5. การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นานยิ่งขึ้น เป็นประโยชน์ในการ
                         ขนส่งทางไกลและการเก็บอาหารไว้บริโภคนอกฤดูกาล
 6. การใช้เทคนิครังสีเพื่อการขยายพันธุ์สัตว์เลี้ยงและการเพิ่มอาหารนม อาหารเนื้อในโคและกระบือ
 7. การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร
 8. การใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยวิธีอาบรังสี วิเคราะห์สารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจากการใช้ยาปราบ
                          ศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้บริโภค
 9. การเอาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ฉายพันธ์พืชเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (Induced
                         Mutation) เช่น
   - ข้าวมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวเจ้าจากผลการฉายรังสี มีการกลายพันธุ์มาเป็นข้าวเหนียว มีกลิ่นหอม
      เหมือนข้าวขาวมะลิ
   - ข้าวพันธุ์ กข 15 ซึ่งก็เป็นผลจากการฉายรังสีข้าวขาวมะลิ 105 แต่เป็นพันธุ์ที่เก็บเกี่ยวได้ไวกว่า
      และมีผลผลิตสูงกว่าขาวมะลิ 15
   - ปอแก้ว เมื่อนำเมล็ดมาฉายรังสีได้พันธุ์ที่มีความทนทานต่อโรคโคนเน่า
   - ถั่วเหลือง ที่มีความทนทานต่อราสนิม
 
 การศึกษาการใช้รังสีแกมมาเพื่อผลผลิตไหมไทยพันธุ์นางเหลือง โดยการฉายรังสีแกมมากับไข่ไหม
ที่สำนักพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ แล้วทำการเลี้ยง และศึกษาคัดเลือกที่ศูนย์วิจัยหม่อนไหม ศรีสะเกษ จนถึง
รุ่นที่ 8 พบว่าปริมาณรังสีที่เหมาะสมสำหรับการปรับปรุงผลผลิตอยู่ระหว่าง 1.5-2.5 เกรย์ ทำให้รังไหมมีเปอร์-
เซ็นต์เปลือกรังเพิ่มขึ้น 80.62 และ 60.10 เปอร์เซ็นต์ ขนาดเส้นของใยไหมเพิ่มขึ้น 11.56 และ 7.37 เปอร์เซ็นต์
ตามลำดับ
 ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่มีอากาศร้อน ผลเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเน่าเสียจุลินทรีย์
และพยาธิที่ก่อให้เกิดโรค รวมทั้งการทำลายของแมลงที่เกิดขึ้นกับผลผลิตการเกษตร มีปริมาณร้อยละ 30
สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมได้จัดตั้งโรงงาน
ฉายรังสี อาหารและผลิตผลทางการเกษตรประเภทเอนกประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว และเพื่อก่อให้เกิด
ประโยชน์ร่วมกันระหว่างรัฐบาล อุตสาหกรรม และผู้บริโภค ในอันที่จะสร้างตลาดอาหารฉายรังสีภายในประ-
เทศและต่างประเทศ โรงงานฉายรังสีอาหารซึ่งมีความแรงของรังสีเริ่มต้น 450,000 คูรี ดำเนินการโดยเจ้าหน้า-
ที่ของสำนักงาน พปส. ซึ่งเป็นสถาบันที่ได้ดำเนินการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับอาหารฉายรังสี ผลิตผลการเกษตร
พวกผักและผลไม้ เนื้อ ผลิตภัณฑ์หมูและผลิตภัณฑ์ปลา ไก่ ธัญพืช รวมทั้งไม้ตัดดอกเป็นจำนวนถึง 41,000
ตันต่อปี

อ้างอิง
www.googlr.com
202.143.141.162/web_offline/nucleus/choice3.htm - 4k

นางสาวกนกพร ทนทาน รหัสนิสิต 49661851

            ปัจจุบันมีการนำรังสีเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวันมากขึ้น แม้ว่ารังสีจะมีโทษมหันต์ แต่ถ้านำมาใช้ให้ถูกวิธีและรู้หลักการในการควบคุมแล้ว ก็จะเกิดประโยชน์อย่างมหาศาล นอกจากการนำรังสีมาใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ ยังมีการศึกษาวิจัยเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ด้านอื่นอีก ได้แก่ ทางการเกษตร และทางด้านอุตสาหกรรม

ตัวอย่าง

                             ด้านการเกษตร

-  การใช้เทคนิคนิวเคลียร์วิเคราะห์ดิน เพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูก

 -  การฉายรังสีแกมมาเพื่อฆ่าแมลงและไข่ในเมล็ดพืชซึ่งเก็บไว้ในยุ้งฉาง และภายหลังจากบรรจุใน
ภาชนะเพื่อการส่งออกจำหน่าย

-  การใช้รังสีเพื่อการกำจัดแมลงศัตรูพืชบางชนิด

-  การถนอมเนื้อสัตว์ พืชผัก และผลไม้โดยการฉายรังสีเพื่อเก็บไว้ได้นาน

-  การนำเทคนิคทางรังสีด้านอุทกวิทยา ในการเสาะหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตร

                            ด้านอุตสาหกรรม

-  ควบคุมการไหลผ่านของส่วนผสมในการผลิตปูนซีเมนต์

-  วัดความหนาแน่นของน้ำปูนกับเส้นใยหิน ในขบวนการผลิตกระเบื้องกระดาษ

-  วัดและควบคุมความหนาแน่นของน้ำโคลนที่จะใช้ในการขุดเจาะอุโมงค์ส่งน้ำใต้ดิน

-  วัดหาปริมาณสารตะกั่ว หรือธาตุกำมะถันในผลิตภัณฑ์น้ำมันปิโตรเลียม

-  ใช้เป็นเครื่องขจัดประจุกระแสไฟฟ้าสถิตย์บนแผ่นฟิล์ม ฟิล์มภาพยนตร์ หลอดแก้วที่ใช้บรรจุ
ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์ต่าง ๆ

-  ใช้ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบ ความชื้นใต้ดิน ฯลฯ ด้วยรังสีนิวตรอน

-  ใช้ทำสีเรืองแสง

-  ใช้วัดหาปริมาณของถ่านลิกไนต์ และปริมาณเถ้า

-  การใช้รังสีแกมมาเพื่อฆ่าเชื้อในเครื่องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบวนการฉีดยาสายน้ำเกลือ ถุงเลือด
ถุงมือ

  จะเห็นไดว่า  รังสีมีประโยชน์มากในด้านเกษตรและอุตสาหกรรม  แต่เราก็ควรเลือกใช้รังสีให้ถูกต้องและเหมาะสมกับงานนั้นๆ  และควรคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลักด้วย

ที่มา:


http://clgc.rdi.ku.ac.th/article/tissue/radiation/foodsafe.html

http://202.143.141.162/web_offline/nucleus/story6.htm



 

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท