การตีความกฎหมาย


เทคนิค

เทคนิคการตีความ  ให้ความเห็นทางกฎหมาย

 การตีความ  หมายความว่า

            การค้นหาคว่ามหมายของกฎหมายที่มีถ้อยคำไม่ชัดเจน

หลักการตีความในกฎหมายทั่วไป  มี 2  ประเภท

         1.  ตีความตามตัวอักษร

             -   บทกฎหมายใช้ภาษาธรรมดา  /   ต้องเข้าใจว่ามีความหมายธรรมดาที่คนทั่วไปเข้าใจกัน

           -    บทกฎหมายใช้ภาษาเทคนิค หรือ วิชาการ  /  ต้องเข้าใจความหมายตามที่เข้าใจกันในทางเทคนิคหรือทางวิชาการนั้น

          -     บทกฎหมายต้องการให้บางคำมีความหมายพิเศษ (มักจะบัญญัตฺ นิยาม ความหมายของคำนั้นๆ ) /  ต้องพิจารณาความหมายจากคำนิย

         2.  ตีความตามเจตนารมณ์  มี 2 ทฤษฎีคือ

              1.  ทฤษฎีอำเภอจิต  ( Subject  Theory )

                  ค้นหาเจตนารมณ์ของกฎหมายจากผู้บัญญัติ กฤหมาย เช่น รายงานการประชุมในชั้น   การตรวจพิจารณาร่างกฤหมาย

              2. ทฤษฎีอำเภอการณ์  (Objective  Theory)

                 ค้นหาเจตนารมณ์ของกฎหมายจากบทกฑหมายนั้น ๆเองว่ามีความมุ่งหมายอย่างไร ( มีลักษณะเป็นพลวัตร คำนึงถึงความเหมาะสมในปัจจุบัน )

     สรุป   ควรนำทั้งสองทฤษฎีมาใช้ในการตีความกฤหมาย  เพราะทั้งสองทฤษฎีต่างก็มีทั้งข้อดีข้อเสีย

                      วิธีทราบเจตนารมณ์ของกฎหมาย

                       -   ดูจากพระราชปรารภ

                       -  ดูจากบันทึกหลักการและเหตุผลของร่างพระราชบัญญัติ

                      -  ดูจากสถานะก่อนวันที่กฎหมายฉบับนั้นมีผลใช้บังคับ

                     - ดูจากกฎหมายหลาย ๆ ฉบับในเรื่องเดียวกัน

                     -  ดูจากบทมาตราหลาย ๆ มาตราในกฎหมายฉบับเดียวกันเทียบเคียง

                    -  ตีความไปในทางที่ให้มีผลใช้บังคับได้

  การตีความตามกฎหมายเฉพาะ

 เช่น กฎหมายอาญา  ให้ตีความโดยเคร่งครัด  ตีความโดยขยายเป็นการลงโทษ  หรือเพิ่มโทษผู้กระทำไม่ได้

หากมีการตีความตามตัวอักษร  และตีความตามเจตนารมณ์  ขัดแย้งกัน  ควรที่ต้องถือว่า  ตีความตามเจตนารมณ์เป็นหลัก

               

                

หมายเลขบันทึก: 160265เขียนเมื่อ 20 มกราคม 2008 14:14 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 มิถุนายน 2012 15:35 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)
  • ขอบคุณค่ะ เจ๊เปี๊ยก
  • ... ทำให้รู้ไปด้วยว่า งานพัสดุก็ต้องละเอียดอย่างนี้นี่เอง

เพราะความยาก  และซับซ้อนของงาน พร้อมกับต้องมีความรู้รอบ

รู้จริงในระเบียบ กฎหมาย พัสดุ และระเบียบอื่นๆๆที่เกี่ยงข้อง

จำเป็นที่สุด ที่ต้องมีความละเอียด ถี่ถ้วนจ๊ะ

พี่เปี๊ยกคะ

  • ขอบคุณนะคะที่เข้าไปเยี่ยมblog
  • ไม่ได้เข้านานมากแล้วค่ะ
  • หลังจากปีใหม่มานี่..งานก็เข้ามาเพียบเลย
  • อยากไปมากสำหรับKMที่นานๆ จะจัดสักที
  • แต่หลบงานตรวจราชการไม่ได้จริงๆค่ะ
  • แต่ก็ดีนะคะ...จะได้รู้ว่า..มีคนคิดถึง..เรานะคะ
  • คิดถึงกันจริงหรือต่อว่า..คะ 555

คิดถึงจริงๆๆๆๆคะ   หยากให้หมอเล่าเทคนิคของการเกิด ลปรร ของศูนย์  ที่ถือ note book    แล้ว เกิด blog go to know  เล่ามาเลยนะคะ    อยากรู้  ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท