ประวัติเครื่องดนตรีพื้นบ้าน


เครื่องดนตรีพื้นบ้าน

เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย

       ชาติไทยเป็นชาติเก่าแก่ที่มีศิลปวัฒนธรรมอันสูงส่งหลายสาขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งดนตรีและการละเล่น ซึ่งมีทั้งส่วนที่เป็นศิลปพื้นบ้าน และส่วนที่พัฒนาไปเป็นศิลปแบบฉบับประจำชาติ 

       ในส่วนของดนตรีและการละเล่นพื้นบ้านมีอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ ผิดแผกแตกต่างกันออกไปตามความเป็นอยู่ ความเชื่อและวัฒนธรรมประจำถิ่น ที่เกิดในท้องถิ่นนั้นๆ เองก็มี ที่ถ่ายทอดอิทธิพลซึ่งกันและกันระหว่างท้องถิ่นก็มี บ้างก็ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้าน แต่ได้นำมากปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับวัฒนธรรมของตน ดนตรีทั้งหลายเหล่านั้นส่วนใหญ่มีกำเนิดยาวนานนับเป็นร้อยๆ ปีและบางอย่างก็เกิดขึ้นใหม่ตามสภาพความเปลี่ยนแปลงของสังคม

        ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านเหล่านี้ นับวันแต่จะสูญสิ้นหรือเปลี่ยนแปลงไป ด้วยสาเหตุแห่งการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของมนุษย์ในสังคม จนทำให้รูปแบบดั้งเดิมสูญหายไป 

 

                                            

 

                                          

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 201694เขียนเมื่อ 17 สิงหาคม 2008 17:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 19:26 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (15)

ดีมากเลยที่นำความรู้เกี่ยวกับดนตรีพื้นมาบอกกล่าว อยากเล่นดนตรีไทยเป็นจังเลย แต่สงสัยคงหมดสิทธิ เพราะหัดที่ไรก็ไม่ประสบความสำเร็จสักที แต่ชอบมากนะ ดนตรีไทย

เก่งมาก คับ

น่าฟัง จัง

เสียง ไพเราะ เสนาะ หู

คิคิ

อิอิ

ฮ่า ร้ากเมืองชลคับ บ่อทอง รวม มิตร

ดีมาก...เลยคะ

ควรจะอนุรักษ

.......................................และสบสาน

ฉงน สงสัย

นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย

29 เมษายน - 13 มิถุนายน 2553

ห้องนิทรรศการชั้น 7 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

ผู้จัด : หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

ศิลปิน: ปิติวรรธน์ สมไทย พศุตม์ กรรณรัตนสูตร ศุภฤกษ์ คณิตวรานันท์ และนภดล วิรุฬห์ชาตะพันธ์

"โลกก้าวหน้าได้เพราะมีคนช่างคิด ปรัชญาอันยิ่งใหญ่เกิดขึ้นได้ ก็เพราะความช่างสงสัยที่ถูกติดตามหาคำตอบ"

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร นำเสนอผลงานของศิลปินร่วมสมัย 4 ท่าน แสดงประเด็นของความฉงนสงสัย ตั้งคำถามและสมมติฐาน ทั้งต่อสิ่งที่อยู่ภายในตนเองและสิ่งแวดล้อมรอบตัว ศิลปินได้ร่วมสืบค้นความหมายใหม่ต่อสิ่งที่คุ้นเคยด้วยกระบวนการสร้างสรรค์ที่แตกต่างและถ่ายทอดสู่ผู้ชมผ่านผลงานประติมากรรม ศิลปะการจัดวาง ภาพยนตร์สั้น และวิดีโออาร์ต

ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นรอบตัว นิทรรศการกระตุ้นให้ผู้เข้าชมร่วมรับรู้ผลงานด้วยวิธีการค้นหา ตรวจสอบอารมณ์ความรู้สึกที่เกิดขึ้นทั้งจากตัวตนและจากสิ่งรอบด้านผ่านงานศิลปะ เพื่อเป็นต้นเหตุของการนำไปสู่ความคิดที่รอบด้าน การสร้างสรรค์ รวมถึงทัศนคติใหม่ๆ ที่อาจส่งผลทั้งต่อการดำเนินชีวิตส่วนบุคคล และการดำรงอยู่ในสังคม นิทรรศการ “ฉงน สงสัย” เปิดให้ผู้สนใจเข้าชม ระหว่างวันที่ 22 เมษายน 2553 ถึง 13 มิถุนายน 2553 ณ ห้องนิทรรศการชั้น 7 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร สี่แยกปทุมวัน เวลาทำการระหว่าง 10.00 น. – 21.00 น. วันอังคารถึงวันอาทิตย์ (หยุดทุกวันจันทร์)

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์หมายเลข 02-214 6630-8 www.bacc.or.th

Be Skeptical

A contemporary art exhibition searching for new definitions

Exhibition period: 29 April – 13 June 2010

Venue: Gallery 7th Bangkok Art and Culture Centre

Organizer: Bangkok Art and Culture Centre

Artists: Pitiwat Somthai, Pasut Kranrattanasuit, Suparirk Kanitwaranun, and Noppadol Viroonchatapun

Bangkok Art and Culture Centre presents artworks from four Thai contemporary artists exploring doubts, raising questions, setting hypothesis both of inner self and outer surrounding. Pitiwat Somthai, Pasut Kranrattanasuit, Suparirk Kanitwaranun, and Noppadol Viroonchatapun together explore new meaning of ordinary with diverse artistic techniques resulting in sculpture, installation, film and video art.

In the midst of changes, the exhibition encourages visitors to examine their feelings and emotions through artworks that stimulate insights, cultivate new creative ideas and outlooks that benefit their personal and social lives. Be Skeptical contemporary art exhibition is on view from 22 April to 13 June 2010 at Gallery 7th Bangkok Art and Culture Centre, Pathumwan Junction, from 10 am to 9pm, closed on Mondays.

For more information, please contact 02 2146630-2 www.bacc.or.th

Noppadol_Monday_m.jpg

Pasut_Rotate_m.jpg

Pitiwat_Somthai_m.jpg

Suparirk_Delusion_m.jpg

Suparirk_RedRoof_m.jpg

ชาติไทยเป็นชาติเก่าแก่ที่มีศิลปวัฒนธรรมอันสูงส่งหลายสาขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งดนตรีและการละเล่น ซึ่งมีทั้งส่วนที่เป็นศิลปพื้นบ้าน และส่วนที่พัฒนาไปเป็นศิลปแบบฉบับประจำชาติ

ในส่วนของดนตรีและการละเล่นพื้นบ้านมีอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ ผิดแผกแตกต่างกันออกไปตามความเป็นอยู่ ความเชื่อและวัฒนธรรมประจำถิ่น ที่เกิดในท้องถิ่นนั้นๆ เองก็มี ที่ถ่ายทอดอิทธิพลซึ่งกันและกันระหว่างท้องถิ่นก็มี บ้างก็ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้าน แต่ได้นำมากปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับวัฒนธรรมของตน ดนตรีทั้งหลายเหล่านั้นส่วนใหญ่มีกำเนิดยาวนานนับเป็นร้อยๆ ปีและบางอย่างก็เกิดขึ้นใหม่ตามสภาพความเปลี่ยนแปลงของสังคม

ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านเหล่านี้ นับวันแต่จะสูญสิ้นหรือเปลี่ยนแปลงไป ด้วยสาเหตุแห่งการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของมนุษย์ในสังคม จนทำให้รูปแบบดั้งเดิมสูญหายไป

ชาติไทยเป็นชาติเก่าแก่ที่มีศิลปวัฒนธรรมอันสูงส่งหลายสาขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งดนตรีและการละเล่น ซึ่งมีทั้งส่วนที่เป็นศิลปพื้นบ้าน และส่วนที่พัฒนาไปเป็นศิลปแบบฉบับประจำชาติ

ในส่วนของดนตรีและการละเล่นพื้นบ้านมีอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ ผิดแผกแตกต่างกันออกไปตามความเป็นอยู่ ความเชื่อและวัฒนธรรมประจำถิ่น ที่เกิดในท้องถิ่นนั้นๆ เองก็มี ที่ถ่ายทอดอิทธิพลซึ่งกันและกันระหว่างท้องถิ่นก็มี บ้างก็ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้าน แต่ได้นำมากปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับวัฒนธรรมของตน ดนตรีทั้งหลายเหล่านั้นส่วนใหญ่มีกำเนิดยาวนานนับเป็นร้อยๆ ปีและบางอย่างก็เกิดขึ้นใหม่ตามสภาพความเปลี่ยนแปลงของสังคม

ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านเหล่านี้ นับวันแต่จะสูญสิ้นหรือเปลี่ยนแปลงไป ด้วยสาเหตุแห่งการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของมนุษย์ในสังคม จนทำให้รูปแบบดั้งเดิมสูญหายไป

สำหีฮาก่อ 55555+ ป่าออย

I LOVE YOU กูทูที่ป่าออย ทำค่อยๆ เดีย

ขอให้ทูกคนได้มีความรุ

ขอให้มีความสุขนะ 555+

ใครอ่านขอให้มีความรู้มากๆนะคราฟ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท