เตรียมเขียนโครงร่างงานวิจัย..เพื่อนำเสนอผลงานชิ้นที่ 2


Research methodology and Biostatistics

หลังจากอ่านๆงานวิจัยที่เราค้นมา เรื่อง ดนตรีบำบัดเพื่อลดปวด

1. ถึงแม้ใน Cochrane จะมี Systematic review: Music for pain relief แต่เมื่ออ่านข้อเสนอแนะของผู้วิจัย

Authors' conclusions:

Listening to music reduces pain intensity levels and opioid requirements, but the magnitude of these benefits is small and, therefore, its clinical importance unclear

2. อ่านงานวิจัยอื่นๆ (Primary research)

Study

Beck 1991


Methods

Randomized cross over study.
Method of randomization or allocation concealment were not described.


Participants

Adults with cancer pain.
Music group = 15 patients.
Control group = 14 patients.


Interventions

One group exposed to music, the control group received a 60 cycle hum.
Subject selected the type of music.


Outcomes

Pain evaluated with VAS.
3/15 subjects in the music group and 1/14 in the control group had at least 50% of pain relief.


Notes

Analysis based on treatment received not intention to treat.
Treatment groups were similar.


Allocation concealment

D – Not used

เรื่องที่ 2
 

Study

Kwekkeboom 2003


Methods

RCT.
Method of randomization or allocation concealment were not described.
Patients or evaluators were not blinded.


Participants

Adults with procedural pain (biopsy, line removal).
Music group = 24 patients. Control group = 20 patients.


Interventions

One group exposed to music, the control group to usual treatment.
Exposure during procedure.
Subjects selected the type of music.


Outcomes

Pain evaluated with numerical rating scale.
Mean pain during procedure.
Music group 2.33 ± 0.37.
Control group 1.47 ± 0.4.


Notes

Analysis based on treatment received.
Treatment groups were similar.


Allocation concealment

D – Not used

เรื่องที่ 3

Study

McCaffrey 2003


Methods

RCT.
Patients or evaluators were not blinded.


Participants

Adult patients with chronic pain.
Music group = 33 patients. Control group = 33 patients.


Interventions

One group exposed to music, the control group to routine care.
Subjects did not select the type of music.


Outcomes

Pain evaluated with VAS.
Authors reported difference in pain intensity between group.


Notes

Authors followed patients for 14 days.
We used data from the first 24 hours to be able to pool results.
Treatment groups were similar.
No information to determine if the analysis was on intention to treat or treatment received.


Allocation concealment

D – Not used

เรื่องที่ 4

Study

Zimmerman 1996


Methods

RCT.
Method of randomization or allocation concealment were not described.
Patients and evaluators were not blinded.


Participants

Adults with acute postoperative pain.
Music group = 32 patients. Control group = 32 patients.


Interventions

One group exposed to music the control group scheduled rest.
Subjects selected the type of music.
Exposure after procedure.


Outcomes

Pain evaluated with numerical rating scale.
Pain intensity levels the first postoperative day.
Music group 0.9 ± 1.7.
Control group 1.79 ± 2.3.


Notes

Treatment groups were not similar at baseline.
No information to determine if the analysis was on intention to treat or treatment received.


Allocation concealment

D – Not used

สำหรับงานวิจัยเรื่อง Cancer pain ในเมืองไทย 

1.   Effects of Music Therapy on Anxiety and Pain in Cancer Patients*

 

Jirapee Soonthornkul Na Cholburi, Somchit Hanucharurnkul, Waraporn Waikakul

: It is concluded that music therapy clearly provides an effective means of reducing anxiety among cancer patients experiencing pain; however, as for the effects of music therapy on relieving pain itself, the results remain inconclusive.

Recommendation

  • From this study, the investigator suggests that nurses can utilize music therapy as a non-pharmacological intervention for managing anxiety and pain in cancer patients who experience pain. 

  • However, a peaceful environment is needed to increase the effectiveness of music therapy on relaxation outcomes. 

  • For further research, the effect of music therapy on pain in cancer patients should be replicated with a design that has greater control of the extraneous variables. 

  • Also, the duration, frequency and schedule of the therapeutic dose of music therapy  for various groups of patients should be tested.  

ประเด็นที่สามารถทำวิจัย

  • การลดปวดในผู้ป่วยมะเร็งโดยใช้ดนตรีบำบัด จะต้องทำวิจัย โดยการปรับเรื่อง ดนตรีบำบัดที่ใช้ ระเบียบวิธีวิจัยจะต้องพัฒนา

 

Thai J Nurs Res 2004 ; 8(3) 173-181

หมายเลขบันทึก: 209605เขียนเมื่อ 18 กันยายน 2008 07:57 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 พฤษภาคม 2012 18:52 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (15)

วิจัยประเด็นนี้น่าสนใจ  เพราะทุกอย่างขึ้นอยู่กับ การจัดการอารมร์เป็นอย่างมาก

เจ็บปวดเพียงไหน หากกำลังใจดี ก็สู้กันต่อ

น่าสนใจครับ

สรุปค่ะ

ตอนนี้กำลังเขียนงานวิจัย

Effects of Music Therapy on Pain in Cancer Patients.

 

Study

Juangpanich,U


Methods

Randomized cross over study.
Method of randomization or allocation concealment


Participants

Adults with cancer pain.
Music group = .... patients.
Control group = ....patients.


Interventions

One group exposed to Esan music, the control group no music Subject selected the type of music.


Outcomes

Pain evaluated with VAS.


Notes

.................................

Allocation concealment

.............................................

 

P

พี่อ่านพบงานวิจัย ดนตรีบำบัดของภาคเหนือ เขาใช้ดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือน่าสนใจมาก

พี่จึงคิดว่าเราน่าจะหาดนตรีพื้นเมืองอิสานบ้าง ซึ่งตอนนี้พี่มีดนตรีโปงลางผ่านการ test จากผู้เชี่ยวชาญแล้วค่ะ เคยทดลองใช้ ผู้ป่วยชอบมากค่ะ

งานวิจัยดนตรีของภาคเหนือค่ะ

กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยสูงอายุโรคมะเร็ง รพ.มหาราชเชียงใหม่  ที่มีความปวดระดับปานกลาง จำนวน 15 ราย 3 ครั้งแรกเป็นกลุ่มควบคุม จึงเริ่มทดลองโดยให้ฟังดนตรีบำบัด จำนวน 3 ครั้ง

        ตัวแปรต้น: เพลงพื้นเมืองเชียงใหม่  (Sooting music) เพลงน้อยใจยา  ล่องแม่ปิง ปั่นฝ้าย  กุหลาบเชียงใหม่ ฤาษีหลงถ้ำ อื่อ ปุมเหม้น  จังหวะเพลง 60-80 ครั้ง/นาที บรรเลง 30 นาที

         ตัวแปรตาม: คะแนนความปวด

         ผล กลุ่มทดลองมีคะแนนความปวดลดลงหลังฟังดนตรีมากกว่า

สวัสดีค่ะ พี่แก้ว

แหม่มเพิ่งเข้ามาดู ขอให้กำลังในการเขียนโครงร่างการวิจัยนะค่ะ สู้ สู้ ค่ะ

สวัสดีค่ะ พี่แก้ว

  • ทำเร็วๆเลยค่ะ...ติ๋วจะเอามาใช้ในผู้ป่วยblockซะที...อยากทำมานานแล้วค่ะ
  • ขอบคุณค่ะ

P

รอติดตามดูนะคะ วันนี้พี่ทั้งอ่านทั้งเขียนทั้งวันค่ะ

วันนี้เขียนได้ถึง..ทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

เพื่อ Justification to do the study

มีปัญหา การนำ ref มาอ้างอิงท้ายบท

แก้ไขโดย

เริ่มทำ EndNote Library โดยนำงานที่ค้นได้ จาก pubmed&Scopus ใส่ไว้ก่อน และทำให้เป็น Ref Vancuvor

แล้วไป coppyมาไว้ท้ายบทค่ะ

ที่จริงอาจารย์สอน How to make bibiography with EndNote

but I can't do this.

รอเรียนใหม่อีกที

How to make bibiography with EndNote

การทำ ref ไม่ยากอย่างที่คิดค่ะ

ลองฝึกดูแล้ว

ทำแบบ Cite while you write

วิธีที่ 1

  • แทรกเอกสารอ้างอิงโดยไม่ต้องออกจากโปรแกรม MS word
  • เมื่อถึงตำแหน่งที่ต้องการแทรกเอกสารอ้างอิง
  • เลือกเมนู tool- EndNote- Find citation
  • พิมพ์คำที่ต้องการค้นอ้างอิงในช่อง Find (ผู้แต่ง คำสำคัญ)
  • Search
  • เมือ่พบเอกสาร เลือก click Insert
  • เอกสารที่ถูกเลือกจะถูกแทรกในตำแหน่งที่ต้องการพร้อมทั้งเอกสารอ้างอิงท้ายบท

วิธีที่ 2

  • เปิด EndNote library
  • click เลือกเอกสารที่ต้องการ
  • ที่ MS word ให้วาง cursor ไว้ในตำแหน่งที่ต้องการอ้างอิง
  • หลังจากนั้นเลือก tool- EndNote-Insert selected citation
  • จะเห็นเอกสารอ้างอิงที่เลือกไว้ได้ถูกใส่ให้แล้วในตำแหน่งที่ Cursor อยู่ พร้อมทั้งมีการเรียงเอกสารไว้ที่ท้ายบทความอย่างถูกต้องตามรูปแบบที่เลือกไว้ใน EndNote
  • แบบ  New England Journal of Medicine (ตัวเลขกำกับจะยกขึ้น)

ที่รพ.เสาไห้ มีการใช้ดนตรีบำบัด แต่ไม่ใช่สำหรับโรคมะเร็งนะคะ ส่วนใหญ่เป็นภาวะเครียดค่ะ แต่อาจจะยังไม่ได้มีการวิจัย และอีกแห่งที่ศูนย์มใหวชิราลงกรณ์ ค่ะ มีหอผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง มีการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้อย่างน่าชื่นชมค่ะ

  • พี่แก้วอย่าลืมสรพันยะ (เขียนถูก?) ที่อาจารย์แนะนำนะคะ
  • ตอนเย็นเกศได้ยิยคุณยายข้างบ้านสวดบ่อยๆ ค่ะ เพราะดี
  • เนื้อหาสาระเข้ากับวิถีชีวิต "คนไทยอีสาน"

 

P

ขอบคุณน้องพอลล่า

พี่ใช้ดนตรีบำบัด ลดความวิตกกังวลและลดปวดค่ะ

โดยกำลังหาดนตรีที่เหมาะสม อาจใช้ดนตรีอิสานค่ะ

P

เกศ

พี่กำลังรอน้องอรนุช ศรีสารคาม ที่กำลังทำแผ่น CD สรภัญญะค่ะ

My Proposal

  • Effects of Preferred Music Therapy on Anxiety and Pain in Cancer Patients 

My proposal is completed and can be sumitt paper on research question mtethodology&meaurement on time 23th Sebtember 2008.



Presentation on group 1or 2 

2-3 th October 2008 

research question mtethodology&meaurement 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท