AAR PMQA สิชล Part2


AAR PMQA Onsite 25 ธันวาคม 2551 สรุปรวบยอดข้อคิดเห็น

สรุปการเยี่ยมสำรวจเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (PMQA)  อำเภอสิชล  จังหวัดนครศรีธรรมราช

ในโครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพเครือข่ายปฐมภูมิในจังหวัดนำร่อง

วันที่ 25 ธันวาคม 2551 เวลา 08.30-16.00 น.

  ห้องประชุม 2   โรงพยาบาลสิชล

 

1.    แนะนำโรงพยาบาลสิชล โดย ทีมนำCUP สิชล

-              แนะนำพื้นที่และลักษณะภูมิทัศน์ของ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช

-              แนะนำจำนวนประชากร ลักษณะของประชากร และลักษณะการประกอบอาชีพ

-              แนะนำโครงสร้างทางกายภาพและการบริหารงานของโรงพยาบาลสิชล

-              แนะนำเครือข่ายบริการปฐมภูมิของอำเภอสิชล

2.    การจัดบริการเครือข่ายปฐมภูมิ อำเภอสิชล โดย ทีมนำCUP สิชล

-                     การบริหารจัดการเครือข่ายบริการปฐมภูมิของอำเภอสิชล

-                     ศักยภาพในการจัดระบบบริการ

-                     แนวทางในการให้บริการตามสิทธิประโยชน์ในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

-                     แผนยุทธศาสตร์หลักของเครือข่ายบริการปฐมภูมิของอำเภอสิชล

-                     โครงการต่าง ๆ ในปีงบประมาณ 2551

-                     ประโยชน์และผลดีของการดำเนินกิจกรรม

-                     จุดอ่อนของการดำเนินงาน

-                     ปัญหาและอุปสรรค

-                     สิ่งที่จะพัฒนาต่อไป

3.    การมีส่วนร่วมของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ  โดยสาธารณสุขอำเภอสิชล

-                     การมีส่วนร่วมของเครือข่าย

-                     องค์ความรู้ในการนำไปใช้ในการปฏิบัติงานในชุมชน

-                     ประโยชน์ที่ได้รับในการทำงานของหน่วยบริการปฐมภูมิ

4.    สรุปการเยี่ยม โดยสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.)

-                     ชื่นชมเจ้าหน้าที่และ อสม. ที่มีความเข้มแข็งในการปฏิบัติงาน

-                     เจ้าหน้าที่มีความตั้งใจ ทำงานเป็นทีม และชุมชนให้ความร่วมมือ

-                     คนรับผลงานได้ประโยชน์

-                     ต้องมีทีมนำ/ทีมคิดที่ชัดเจน มีคนรับผิดชอบรายหมวดให้ชัดเจนขึ้น

-                     ให้เครือข่าย PMQA ทำความเข้าใจกับบริบทให้ชัดเจน วิเคราะห์ปัจจัยบวก จุดอ่อน  จุดแข็ง และปัจจัยเอื้อ

-                     การบันทึกการดำเนินงานตามโครงสร้างเพื่อการขับเคลื่อน

-                     กระบวนการพัฒนาทุกเรื่องคือเรื่องเดียวกัน

-                     ช่วงแรกอาจจะเน้นงานบริการในกลุ่มที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพ แต่ควรจัดกิจกรรมให้ถึงกลุ่มคนที่มีสุขภาพดีด้วย

-                     หน่วยงานต้องมีการทบทวนตนเอง ตาม PDCA หรือ ADLI

-                     ต้องมีทีมช่วยหรือทีมประเมินภายในเครือข่ายเพื่อการเข้าไปสุ่มดูในแต่ละพื้นที่

-                     ข้อมูลต้องชัดเจน

-                     การจัดสรรทรัพยากร /งบประมาณ ให้เกิดความสมดุลย์

-                     จุดอ่อนเรื่องกำลังคน

-                     แผนการทำงาน การกำหนดเป้าหมาย ช่องว่างของการพัฒนา ความท้าทาย ยุทธศาสตร์  ปัจจัยภายนอกที่จะส่งผล

-                     แผนการดำเนินงานก่อนและหลังไม่เกิดความแตกต่าง จึงไม่เกิดความคิดใหม่ ได้กิจกรรมเดิม ๆ

-                     กลุ่มเป้าหมาย และ Stakeholder  ดูความต้องการและความจำเป็นทางด้านสุขภาพ

-                     ระบบข้อมูล Family folder การเชื่อมโยงข้อมูล ความครบถ้วนและความถูกต้องของข้อมูล

-                     การ Feedback ให้กับชุมชน จะทำให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม

-                     การเยี่ยมบ้านเป็นการดำเนินงาน Health Promotion ที่เป็นรูปธรรม

-                     การใช้ระบบ Internet ในการรับส่งข้อมูล

-                     มีระบบ support ด้านวิชาการ ซึ่งเป็นจุดแข็ง

-                     ในแต่ละเรื่องทำให้เกิดผลลัพธ์อะไร มีผลดีหรือไม่

5.    ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมประชุม

-                     การทำ PMQA ทำให้สามารถพัฒนางานได้

-                     PMQA ทำให้การทำงานเป็นระบบ เป็นแนวทางเดียวกัน รู้จุดอ่อนจุดแข็งในการพัฒนา

-                     PMQA ทำให้การทำงานดีขึ้นในทุก ๆ ด้าน และสามารถเชื่อมโยงกับการทำ HA ได้

 

หมายเลขบันทึก: 233922เขียนเมื่อ 7 มกราคม 2009 15:13 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 11:25 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท