การเข้าสู่ทะเบียนราษฎร สถานการณ์ที่ 1 : คนต่างด้าวที่มีสิทธิอาศัยชั่วคราว


6 สถานการณ์ ของคนต่างด้าวที่มีสิทธิร้องขอเข้าสู่ทะเบียนราษฎรของรัฐไทย

 

โจทย์วิจัย: มีคนต่างด้าวในสถานการณ์ใดบ้าง ที่กฎหมายการทะเบียนราษฎรไทย
กำหนดให้สิทธิที่จะได้รับการบันทึกในทะเบียนราษฎรไทย?  
และคนเหล่านี้เข้าสู่ทะเบียนราษฎรได้อย่างไร?

ข้อค้นพบ: 6 สถานการณ์ ของคนต่างด้าวที่มีสิทธิร้องขอเข้าสู่ทะเบียนราษฎรของรัฐไทย

สถานการณ์

มูลเหตุ

ก.ม.ระหว่างประเทศ

ก.ม.ภายใน

กระบวนการเข้าสู่ทะเบียนราษฎร

กรณีศึกษา

กม.คนเข้าเมือง

กม.ทะเบียนราษฎร

1.คนต่างด้าวที่มีสิทธิอาศัยชั่วคราว

(เข้าสู่ ท.ร. 13)

-    มีสิทธิอาศัยชั่วคราว

-    กม.ให้สิทธิขอเพิ่มชื่อ

-    หลักความยินยอมของรัฐ(consent of state)

-    หลักต่างตอบแทนระหว่างรัฐ ในกรณีต่างด้าวเข้าเมือง

 

-    สิทธิเข้าเมือง

-    ม.12 พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 (กรณีทั่วไป)

-    สิทธิอาศัย

-    ม.34+35 และ 17 พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522

-    สิทธิในการเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร

-    ม. 38 พรบ.ทะเบียนราษฎร 2534

-    ม. 38 วรรคหนึ่ง พรบ.ทะเบียนราษฎร 2534

 

-    เพิ่มชื่อในท.ร.13ตามข้อ 106 ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง 2535

-    DPI – ขึ้นต้นด้วย “6”

-    เข้าเมืองถูกกม.

-นายบุญยืน สุขเสน่ห์
(คนสัญชาติอเมริกัน)

-  เกิดไทยแต่ถูกถือว่าเข้าเมืองผิดกม.

—น.ส.นนท์ ปัญญา

- เข้าเมืองผิด ก.ม.

 

หมายเลขบันทึก: 255407เขียนเมื่อ 14 เมษายน 2009 00:57 น. ()แก้ไขเมื่อ 8 มิถุนายน 2012 09:20 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท