การเข้าสู่ทะเบียนราษฎร สถานการณ์ที่ 2 : คนต่างด้าวที่มีสิทธิอาศัยถาวร


6 สถานการณ์ ของคนต่างด้าวที่มีสิทธิร้องขอเข้าสู่ทะเบียนราษฎรของรัฐไทย

 

โจทย์วิจัย: มีคนต่างด้าวในสถานการณ์ใดบ้าง ที่กฎหมายการทะเบียนราษฎรไทย
กำหนดให้สิทธิที่จะได้รับการบันทึกในทะเบียนราษฎรไทย?  
และคนเหล่านี้เข้าสู่ทะเบียนราษฎรได้อย่างไร?

ข้อค้นพบ: 6 สถานการณ์ ของคนต่างด้าวที่มีสิทธิร้องขอเข้าสู่ทะเบียนราษฎรของรัฐไทย

สถานการณ์

มูลเหตุ

ก.ม.ระหว่างประเทศ

ก.ม.ภายใน

กระบวนการเข้าสู่ทะเบียนราษฎร

กรณีศึกษา

กม.คนเข้าเมือง

กม.ทะเบียนราษฎร

2.คนต่างด้าวที่มีสิทธิอาศัยถาวร

(เข้าสู่ ท.ร. 14)

-    มีถิ่นที่อยู่ในไทย

-    มีสิทธิอาศัยถาวร

-    กม.ให้สิทธิขอเพิ่มชื่อ

-     

-    หลักความยินยอมของรัฐ(consent of state)

-    หลักต่างตอบแทน

 

-    สิทธิเข้าเมือง

-    ม.12 พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522
(กรณีทั่วไป)

-    สิทธิอาศัย

-    ม.40-51 และ 17พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522

-    สิทธิในการเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร

-    ม. 36 วรรคหนึ่ง พรบ.ทะเบียนราษฎร 2534

ม. 36 วรรคหนึ่ง พรบ.ทะเบียนราษฎร 2551

-    เพิ่มชื่อในท.ร.14ตาม ระเบียบสำนักทะเบียนกลาง 2535

-    ข้อ 100—ต่างด้าวมีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว

-    ข้อ 101—

ต่างด้าวมีใบสำคัญถิ่นที่อยู่

โดยมูลนิติธรรมประเพณี (ก่อน 11 ก.ค.2470)

นางจุ้ยม่วย

-    โดยก.ม.เข้าเมืองที่เป็นลายลักษณ์อักษร
(ตั้งแต่ 11 ก.ค.2470)

????

หมายเลขบันทึก: 255409เขียนเมื่อ 14 เมษายน 2009 01:02 น. ()แก้ไขเมื่อ 7 มิถุนายน 2012 20:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท