การเข้าสู่ทะเบียนราษฎร สถานการณ์ที่ 3 : แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ พม่า-ลาว-กัมพูชา ซึ่งเข้าเมืองผิดกฎหมาย


6 สถานการณ์ ของคนต่างด้าวที่มีสิทธิร้องขอเข้าสู่ทะเบียนราษฎรของรัฐไทย

 

โจทย์วิจัย: มีคนต่างด้าวในสถานการณ์ใดบ้าง ที่กฎหมายการทะเบียนราษฎรไทย
กำหนดให้สิทธิที่จะได้รับการบันทึกในทะเบียนราษฎรไทย?  
และคนเหล่านี้เข้าสู่ทะเบียนราษฎรได้อย่างไร?

ข้อค้นพบ: 6 สถานการณ์ ของคนต่างด้าวที่มีสิทธิร้องขอเข้าสู่ทะเบียนราษฎรของรัฐไทย

สถานการณ์

มูลเหตุ

ก.ม.ระหว่างประเทศ

ก.ม.ภายใน

กระบวนการเข้าสู่ทะเบียนราษฎร

กรณีศึกษา

กม.คนเข้าเมือง

กม.ทะเบียนราษฎร

3.แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ พม่า-ลาว-กัมพูชา ซึ่งเข้าเมืองผิดกฎหมาย

(เข้าสู่ ท.ร.38/1)

-    ความต้องการ
แรงงานไร้ฝีมือ

-    แรงงานไร้สัญชาติที่เดินทางข้ามมาจากประเทศเพื่อนบ้าน ที่มีอาณาเขตติดต่อกัน

-    โดยผลของความตกลงทวิภาคี

 

-    หลักความยินยอมของรัฐ(consent of state)

-    หลักต่างตอบแทน-แม้จะไม่ใช่การต่างตอบแทนทางตรง เช่น ให้แรงงานไร้ฝีมือจากรัฐไทยเข้าไปเป็นแรงงานในพม่า-ลาว-กัมพูชา แต่เป็นต่างตอบแทนทางอ้อมซึ่งอาจแลกเปลี่ยนโดยการให้นักธุรกิจไทยเข้าไปลงทุนในประเทศเหล่านั้น

-    MOU;สนธิสัญญาทวิภาคีไทย-ลาว

,ไทย-พม่า,ไทย-กัมพูชา

 

-    สิทธิเข้าเมือง

-    ม.17 พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522

-    สิทธิอาศัย

-    ได้รับการผ่อนผันม.17 พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522

-    สิทธิในการเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร

-    ม. 38 พรบ.ทะเบียนราษฎร 2534

ม. 38 วรรคสอง พรบ.ทะเบียนราษฎร 2551

-    เพิ่มชื่อในทะเบียนประวัติตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนประวัติของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ พ.ศ. 2547

 

-    แรงงานแท้ นางมาต ลุงยอน

-    แรงงานเทียม

น.ส.คำแสง นาเฮง (แรงงานเทียม—เด็กในสถาน ศึกษาไทย)

 

หมายเลขบันทึก: 255412เขียนเมื่อ 14 เมษายน 2009 01:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 1 พฤษภาคม 2012 18:22 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท