ธรรมหรรษา
รศ.ดร. พระมหา หรรษา นิธิบุณยากร

ขอบข่ายเนื้อหา:วิชาสัมมนาพระพุทธศาสนากับสันติวิธี


ขอบข่ายเนื้อหา
วิชาสัมมนาพระพุทธศาสนากับสันติวิธี
ปริญญาเอก/พระพุทธศาสนา ปีที่ ๑/๒๕๕๒
โดย
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส, ผศ.ดร.
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
ผู้อำนวยการสำนักงานสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานาชาติ

 

สัปดาห์/ประเด็น (Issues)/กรอบในการศึกษาและสัมมนา

๑. กรอบและทิศทางการสัมมนาตลอดหลักสูตร
    Introduction

    อาจารย์และนิสิตมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนแนวทาง และทิศทางของการสัมมนาในแต่ละห้อข้อ และการศึกษาดูงาน และสัมมนาทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้ได้มุมมองและหลักการปฏิบัติเกี่ยวกับความขัดแย้งและการจัดการความ ขัดแย้งโดยสันติวิธี

๒. ทฤษฎีสันติวิธี
   Theory of Peaceful Means

   ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีสันติวิธีของศาสนาต่าง เช่น ศาสนาคริสต์ และอิสลาม หรือสำนักต่างๆ ในประเทศตะวันตกและตะวันออก เช่น มาติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ และมหาตมะ คานธี โดยเปรียบเทียบกับทฤษฎีพุทธสันติวิธีในพระไตรปิฎก เน้นศึกษาความหมาย ความเป็นมา คุณค่าและความสำคัญของสันติวิธีต่อมนุษย์และสังคม รวมไปถึงการศึกษา และเรียนรู้รูปแบบของพุทธสันติวิธีในรูปแบบต่างๆ ในแต่ละกรณี ตลอดจนปัจจัยหรือเงื่อนไขที่นำไปสู่การสร้างความสำเร็จในการใช้พุทธสันติ วิธีรูปแบบต่างๆ อันจะนำไปสู่การนำหลักพุทธสันติวิธีในพระไตรปิฎกมาประยุกต์ใช้ในสังคม ปัจจุบัน

๓. การจัดการความขัดแย้ง: หลักการและเครื่องมือ
    Conflict Management: Concept and tools

    ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแย้ง โดยครอบคลุมเรื่องความหมาย สาเหตุ ระดับ ประเภท และวงจรของความขัดแย้ง ตลอดจนความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับปัญหาอื่นๆ หรือผลกระทบที่เกิดจากความขัดแย้ง รวมทั้งศึกษาแนวคิด กระบวนการและเครื่องมือที่นำไปสู่การจัดการความขัดแย้ง การฟื้นฟูเยียวยาจากปัญหาความขัดแย้งและความรุนแรงตามวิถีพุทธ โดยเน้นกระบวนการที่เกิดขึ้นทั้งในระดับปัจเจก ชุมชน และสังคมในสถานการณ์ต่างๆ เพื่อสร้างสันติภาพและความสมานฉันท์ให้เกิดขึ้นในทุกระดับ

๔. ความขัดแย้งและความรุนแรงในสังคมสมัยใหม่
    Conflict and Violence in Modern Societies

    ศึกษาสถานการณ์ หรือปรากฏการณ์ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งและความรุนแรงในมิติต่างๆ เช่น มิติด้านการเมือง เศรษฐกิจ ศาสนา วัฒนธรรม สาธารณสุข การศึกษา สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร เป็นต้น ทั้งในระดับบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร สังคม ภูมิภาค และระดับโลก เช่น ปัญหาการแย่งชิงทรัพยากร สงครามระหว่างศาสนาและความเชื่อ ลัทธิการก่อการร้าย รวมไปถึงการวิเคราะห์แนวคิด อุดมการณ์ต่างๆ และวิธีการในการสร้างความขัดแย้งและความรุนแรงของบุคคล หรือกลุ่มบุคคล หรือองค์กร

๕. การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลางอย่างมีสติ
     Mindful Mediation

     ศึกษาแนวคิด ความสำคัญ รูปแบบ กระบวนการและเครื่องมือการไกล่เกลี่ยตามแนวตะวันตก และในทางพระพุทธศาสนา เพื่อนำไปประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือ สำหรับสร้างความสมานฉันท์ให้แก่คู่กรณีที่ขัดแย้งกันในกรณีต่างๆ ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม โดยให้นำแนวทางที่ศึกษามาออกแบบเครื่องมือและฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริงและ สถานการณ์จำลอง

๖. สานเสวนา/สุนทรียสนทนา
    Dialogue

    ศึกษาแนวความคิด ความสำคัญ รูปแบบ และกระบวนการของสานเสวนาตามแนวตะวันตกและตะวันออก รวมทั้งตามหลักการของพระพุทธศาสนา โดยนำหลักการตามที่ได้ศึกษามาบูรณาการและประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือ เพื่อสร้างความสมานฉันท์ให้แก่บุคคล หรือกลุ่มบุคคล ในการสร้างความสมดุลทางความคิด การพูด และการกระทำ หรือเพื่อลดปัญหาหรือแก้ไขเยียวยาความขัดแย้งในสังคมทุกระดับ รวมถึงเพื่อการพัฒนาจิตวิญญาณของแต่บุคคลเพื่อสันติภาพภายใน

๗. การสื่อสารเชิงสันติ
    Communication for peace

     ศึกษาหลักคำสอนและวิธีการในพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับการสื่อสาร โดยศึกษากระบวนการสื่อสารรูปแบบต่างๆ ของพระพุทธเจ้า และเหล่าสาวก เช่น การเยียวยาอารมณ์ของนางกีสาโคตรมี การไกลเกลี่ยกรณีพระญาติทะเลาะกัน และการที่พระภิกษุชาวเมืองโกสัมพีขัดแย้งกัน หรือรูปแบบอื่นๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ทั้งในลักษณะวัจนภาษาและอวัจนภาษาซึ่งนำไปสู่การจัดการความขัดแย้งและความ รุนแรง ตั้งแต่การป้องกันหลีกเลี่ยง การคลี่คลายแก้ไขปัญหา การบรรลุข้อตกลงร่วมกัน รวมถึงการฟื้นฟูเยียวยาทั้งทางด้านกายภาพและด้านจิตใจ

๗. การจัดการความขัดแย้งในภูมิปัญญาไทย
    Conflict Management in Thai Wisdom

    ศึกษากรณีความขัดแย้งและความรุนแรงในกรณีต่างๆ ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวหรือกลุ่มบุคคล องค์กร ชุมชน ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย โดยเน้นศึกษาสถานการณ์ สาเหตุ ผลกระทบ และวิธีการจัดการความขัดแย้งในลักษณะต่างๆ เช่น ประเพณีจัดการความขัดแย้งแบบเจ้าโคตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และประเพณีการแบ่งปันน้ำโดยแก่เหมืองแก่ฝายในภาคเหนือ

๙. บทบาทขององค์กรทางศาสนาในการจัดการความขัดแย้ง
    Roles of Religious Organization in Conflict Management

ศึกษาบทบาท ทัศนะและแนวทางปฏิบัติของผู้นำองค์กรหรือกลุ่ม องค์กรทางศาสนา หรือชุมชนชาวพุทธที่มีต่อประเด็นปัญหาความขัดแย้ง ตลอดจนการแสดงบทบาท ความรับผิดชอบ พร้อมทั้งปฏิบัติการในการจัดการความขัดแย้งในรูปแบบและกระบวนวิธีต่างๆ เพื่อจัดการความขัดแย้ง

๑๐. ปฏิบัติการจัดการความขัดแย้ง
     Conflict Management Practice

     ฝึกปฏิบัติการจัดการความขัดแย้งในสถานการณ์จริง เน้นให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติด้วยการประยุกต์หลักพุทธสันติวิธี และความรู้ด้านการจัดการความขัดแย้งเชิงพุทธ ตลอดจนศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขและเยียวยาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างคู่กรณี ทั้งที่เป็นกรณีความขัดแย้งในลักษณะคู่ความในศาลหรือสถานการณ์อื่นๆ ในชีวิตประจำวัน หรือในระดับสังคมตามความเห็นชอบจากผู้สอนพร้อมทั้งบันทึกการฝึกปฏิบัติและผล จากการฝึกปฏิบัติเพื่อนำเสนอ

๑๑. กระบวนการยุติธรรมเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้ง
      Justice Process on Conflict Management

     ศึกษาแนวคิดกระบวนการยุติธรรมเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้ง เช่น แนวคิดกระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ แนวคิดยุติธรรมชุมชน กระบวนการทางศาลรวมถึงกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความขัดแย้ง ที่ปรากฏในกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และกฎหมายอาญา เช่น กฎหมายเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ย กฎหมายเกี่ยวกับการประนีประนอมข้อพิพาท และกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพ

๑๒. การสัมมนาเชิงวิชาการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

      เจ้าโคตร:บทบาทผู้นำท้องถิ่นในการประยุกต์หลักพุทธธรรมเป็นเครื่องมือจัดการความขัดแย้ง

๑๓. การสัมมนาเชิงวิชาการภาคใต้

     บทบาทผู้นำท้องถิ่นในการประยุกต์หลักพุทธธรรมเป็นเครื่องมือจัดการความขัดแย้ง: กรณี ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้

๑๔. การสัมมนาเชิงวิชาการภาคกลาง

      บทบาทผู้นำท้องถิ่นในการประยุกต์หลักพุทธธรรมเป็นเครื่องมือจัดการความขัดแย้ง:ศึกษากรณีแพรกหนามแดง

๑๕. การสัมมนาเชิงวิชาการภาคเหนือ

      แก่เหมืองแก่ฝาย:บทบาทผู้นำท้องถิ่นในการประยุกต์หลักพุทธธรรมเป็นเครื่องมือจัดการความขัดแย้ง

๑๖. การสัมมนาเชิงวิชาการประเทศกัมพูชา

     สงครามและสันติภาพ

เอกสารและงานวิจัยเพื่ออ่านประกอบ

ก. เอกสารชั้นปฐมภูมิ

๑.เอกสารภาบาลี

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฏกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๐๐.

๒. เอกสารภาษาไทย

มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช- วิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

มหามกุฎราชวิทยาลัย. พระไตรปิฏกและอรรถกถา ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ ๔.กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.

ข. เอกสารทุติยภูมิ

๑. เอกสารภาษาบาลี

มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. อรรถกถาภาษาบาลี ฉบับ ฉบับมหาจุฬาอฏฺฐกถา. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒.

มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ฎีกาภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๖.

มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปกรณวิเสสภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พิมพ์ครั้ง ที่ ๑. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘.

มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ฎีกาปกรณวิเสสภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๖.

๒. เอกสารภาษาไทย

คริสโตเฟอร์ มัวร์ เขียน. วันชัย วัฒนศัพท์ แปล. กระบวนการเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง. ขอนแก่น: สถาบันสันติศึกษา, ๒๕๔๒.

โค รินทร์ เฟื่องเกษม. สงครามและสันติภาพในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้: การวิเคราะห์โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีการเมืองระหว่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมศาสตร์, ๒๕๓๑.

จิมมี่ คาร์เตอร์. ศรีเพ็ญ ศุภพิทยากุล แปล. สนทนาเรื่องสันติภาพ: วิสัยทัศน์สำหรับคนรุ่นใหม่, กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, ๒๕๔๒.

เจมส์ แอล เครตัน เขียน. วันชัย วัฒนศัพท์ แปล. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ ๔, (นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, ๒๕๔๗), หน้า ๒๕–๒๘.

เจมส์ โค และคณะ ผู้แต่ง. วันชัย วัฒนศัพท์ และคณะ ผู้แปล. คู่มือการเพิ่มพลังความสามารถกระบวนการจัดการข้อพิพาท. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, ๒๕๔๕.

ฉัตรสุมาลย์ กบิลสงห์ แปล. อัตชีวประวัติขององค์ทะไลลามะ: อิสรภาพในการลี้ภัย. พิมพ์ครั้งที่ ๒.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ประพันธ์สาสน, ๒๕๓๘.

ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ. ทฤษฏีไร้ระเบียบกับทางแพร่งของสังคมสยาม. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิภูมิปัญญา, ๒๕๔๒.

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. อาวุธมีชีวิต. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน, ๒๕๔๖.

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. ท้าทายทางเลือก: ความรุนแรง และการไม่ใช้ความรุนแรง. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง, ๒๕๓๓.

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. สันติทฤษฏี/วิถีวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์, ๒๕๓๙.

ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร และคณะ แปล. พระพุทธเจ้าสอนอะไร. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐.

เด ชา ตั้งสีฟ้า (เรียบเรียง). ความไร้ระเบียบของโลก: ทางเลือกในทศวรรษ 1990. สุวรรณา-ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ (บรรณาธิการ). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ข่าวสารสันติภาพ, ๒๕๓๖.

ธีรยุทธ บุญมี. Road Map ประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สายธาร, ๒๕๔๗.

นิธิ สุริยะ. การระงับข้อพิพาทของรัฐโดยสันติวิธี. กรุงเทพมหานคร, ธรรมศาสตร์, ๒๕๒๖.

บวร ศักดิ์ อุวรรณโณ, ถวิลวะดี บุรีกุล. ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม, หลักสูตรประกาศนียบัตรแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้งด้าน นโยบายสาธารณะโดยสันติวิธี, มปป.

ประเวศ วะสี. สันติวิธีกับสิทธิมนุษยชน. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ: สำนักงานสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๔๕.

ปรีชา เอี่ยมสุทธา. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองภาคสันติ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมศาสตร์, ๒๕๒๕.

พร วิไล เลิศวิชา และอรุณรัตน์ วิเชียรเขียว. ชุมชนหมู่บ้านลุ่มน้ำขาน: โครงการวิจัยพลวัตเศรษฐกิจชุมชน ๓ ลุ่มน้ำในประเทศไทย พ.ศ.๒๕๔๓–๒๕๔๕. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๔๖.

พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต). สลายความขัดแย้ง. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก, ๒๕๔๖.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). วิถีสู่สันติภาพ. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก, ๒๕๔๖.

พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต). การศึกษาเพื่อสันติภาพ. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๓๘.

พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต). สิทธิมนุษยชน สร้างสันติสุขหรือสลายสังคม. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๔๑), หน้า ๓

พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต). มองสันติภาพโลก ผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิก จำกัด. ๒๕๔๒.

พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต). สลายความขัดแย้ง. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๔๖.

พระมหาประยูร ธมฺมจิตฺโต. พุทธวิธีสร้างสันติภาพ. กรุงเทพมหานคร: อมรินท์พริ้นติ้งกรุ๊พ, ๒๕๓๒.

พระสุธีวรญาณ (ณรงค์ จิตฺตโสภโณ). พุทธศาสตร์ปริทรรศน์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.

พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร์ สระคำ). ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในอินเดีย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๐๖.

พุทธทาสภิกขุ. สันติภาพของโลก. ไชยา: ธรรมทานมูลนิธิ, ๒๕๓๑.

ไพศาล วงศ์วรสิทธิ์. สร้างสันติด้วยมือเรา: คู่มือสันติวิธีสำหรับนักปฏิบัติการไร้ความรุนแรง, กรุงเทพมหานคร: กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม, ๒๕๓๓.

มหาตมะ คานธี. กรุณา-เรืองอุไร กุศลาสัย แปล. โลกทั้งผองพี่น้องกัน. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร: ดอกหญ้า, ๒๕๔๕.

มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด และคณะ. แนวนโยบายการจัดการน้ำสำหรับประเทศไทย เล่ม ๒ กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, ๒๕๔๔.

ยีน ชาร์ป เขียน. ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ และคมสันต์ หุตะแพทย์ แปล. อำนาจและยุทธวิธีไร้ความรุนแรง กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง, ๒๕๒๙.

ยุค ศรีอาริยะ. มายาโลกาภิวัตน์. กรุงเทพมหานคร: โครงการวิถีทรรศน์, ๒๕๔๑.

รอฮีม ปรามาส. สงครามอนาคต และนวัตกรรมทางการทหาร. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ มติชน, ๒๕๔๗.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุคส์พับลิเคชันส์, ๒๕๔๖.

ราชบัณฑิตยสถาน. ศัพท์รัฐศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔.

วี ระ สมบูรณ์, ไพศาล วงศ์วรสิทธิ์. ปฏิบัติการแห่งความรัก: ยุคสมัยแห่งความรุนแรง. กรุงเทพมหานคร: กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม, ๒๕๒๒.

วันชัย วัฒนศัพท์ และคณะ แปลและเรียบเรียง. คู่มือการเพิ่มพลังความสามารถกระบวนการจัดการข้อพิพาท. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, ๒๕๔๕.

วันชัย วัฒนศัพท์. คู่มือเกี่ยวกับความขัดแย้ง: หลักการ และเครื่องมือแก้ปัญหา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สันติวิธีและธรรมาภิบาล, ๒๕๔๗.

วันทนา ศิวะ. เขียน. ศิริลักษณ์ มานะวงศ์เจริญ แปล. สงครามน้ำ. กรุงเทพมหานคร: สวนเงินมีมา, ๒๕๔๖.

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. การประเมินผลโครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลี่ยงเซียง, ๒๕๓๗.

สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง. กรุงเทพมหานคร : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พัลลิชชิ่ง จำกัด, ๒๕๔๕.

สม พงษ์ ชูมาก, “ข้อพิพาทระหว่างประเทศและการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศ”, เอกสารประกอบการสอนชุดวิชากฎหมายระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศหน่วยที่ ๖–๑๐. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สารมวลชน, ๒๕๓๐.

สมพงษ์ ชูมาก. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๐.

สมภาร พรมทา. ไตร่ตรองมองตน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์พุทธชาด, ๒๕๓๕.

สันติ อิศโรวุธกุล แปล. สันติภาพนิรันดร์ เล่ม ๒: บทรวบรวมสุนทรพจน์ของไดซากุ อิเคดะ.กรุงเทพมหานคร: ส่องศยาม จำกัด, ๒๕๓๗.

สิทธิพงศ์ สิทธิขจร, การบริหารความขัดแย้ง. กรุงเทพมหานคร: จงเจริญการพิมพ์, ๒๕๓๕.

สี ลาภรณ์ บัวสาย. เอกสารประกอบงาน บวชป่าชุมชนลุ่มน้ำแม่ตาช้าง สายธารแห่งชีวิตชุมชน. เชียงใหม่: คณะกรรมการศึกษาฟื้นฟูและจัดการลุ่มน้ำแม่ตาช้าง ร่วมกับสถาบันสิทธิชุมชน, ๒๕๔๗.

เสถียร โพธินันทะ. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๒๐.

สำนักระงับข้อพิพาท กระทรวงยุติธรรม. คู่มือระงับข้อพิพาทสำหรับประชาชน. กรุงเทพมหานคร: จิรรัชการพิมพ์, ๒๕๔๗.

อนันต์ จันทรโอภากร. กฎหมายอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๓๘.

อมรา พงศาพิชญ์. ความหลากหลายทางวัฒนธรรม: กระบวนทัศน์และบทบาทในประชาสังคม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๕.

อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว และคณะ. สิทธิชุมชนท้องถิ่นพื้นเมืองดั้งเดิมล้าน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๖.

อรุณ ภาณุพงษ์. กฎหมายระหว่างประเทศ. พระนคร: ม.ป.พ.,๒๔๙๔.

อุทัย หิรัญโต. หลักสังคมวิทยา. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์. ๒๕๒๒.

อรุณ รักธรรม. ความขัดแย้งในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาเฉพาะระดับเขต. เอกสารอัดสำเนาเย็บเล่ม, สำนักวิจัยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๓๘.

เอก วิทย์ ณ ถลาง. ภูมิปัญญาชาวบ้านสี่ภูมิภาค: วิถีชีวิตและกระบวนการเรียนรู้ของชาวบ้านไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๑.

สัมภาษณ์

สัมภาษณ์ กำนันเฉลิม อันวิเศษ, ประธานคณะกรรมการลุ่มน้ำแม่ตาช้าง, ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๗.

สัมภาษณ์ กำนันอินทร ทิพย์คำมา, คณะกรรมการลุ่มน้ำ, ๒๑ มกราคม ๒๕๔๘.

สัมภาษณ์ จำเริญ ต้นบัว, คณะกรรมการลุ่มน้ำ, ๒๑ มกราคม ๒๕๒๘.

สัมภาษณ์ จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์, อาจารย์ประจำคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ๑๓ มกราคม ๒๕๔๗.

สัมภาษณ์ จำเนียร บุญเข็ม, หัวหน้าหน่วยจัดการต้นน้ำนาไทร, ๒๐ มกราคม ๒๕๔๘.

สัมภาษณ์ ชัยพันธ์ ประภาสะวัต, ผู้อำนวยการสถาบันเพื่อสิทธิชุมชน, ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๗.

สัมภาษณ์ โชติช่วง ทัพวงศ์, ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอุทธรณ์, ๓๑ มกราคม ๒๕๔๘.

สัมภาษณ์ เทียบ อวุ้นอ้วน, คณะกรรมการลุ่มน้ำ, ๒๑ มกราคม ๒๕๒๘.

สัมภาษณ์ ถวิลวะดี บุรีกุล, ผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย และพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า, ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๔๗.

สัมภาษณ์ นิธิ เอียวศรีวงศ์, ประธานสถาบันเพื่อสิทธิชุมชน, ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๗

สัมภาษณ์ บรรจบ บรรณรุจิ, อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๗ มกราคม ๒๕๔๘.

สัมภาษณ์ พระดวงดี สนฺติกโร, เจ้าอาวาสวัดประชาเกษม อ.หางดง, ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๗, ๒๐ มกราคม ๒๕๔๘.

สัมภาษณ์ พระครูวิทิตศาสนกิจ, เจ้าอาวาสวัดดอยปุย อ.เมือง, ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘.

สัมภาษณ์ พ่อหลวงไตรภพ แซ่ย่าง, คณะกรรมการลุ่มน้ำ, ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘.

สัมภาษณ์ พ่อหลวงอินสม สิงห์คำ, คณะกรรมการลุ่มน้ำ, ๒๐ มกราคม ๒๕๔๘.

สัมภาษณ์ พัชร สายแก้วใย, คณะกรรมการลุ่มน้ำ, ๒๑ สิงหาคม ๒๕๔๗.

สัมภาษณ์ ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม, ประธานกรรมการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน, ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๗.

สัมภาษณ์ มารค ตามไท, อาจารย์บรรยายพิเศษสถาบันพระปกเกล้า, ๑๗ เมษายน ๒๕๔๗.

สัมภาษณ์ วันชัย วัฒนศัพท์, ผู้อำนวยการศูนย์สันติวิธีและธรรมาภิบาล, ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๖.

สัมภาษณ์ สมภาร พรมทา, อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘.

สัมภาษณ์ สีลาภรณ์ บัวสาย, สำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ, ๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๗.

สัมภาษณ์ สุพจน์ ขันทะสินธุ์, คณะกรรมการลุ่มน้ำ, ๒๗ มกราคม ๒๕๔๗.

สัมภาษณ์ เสรี อาจสาคร, เจ้าหน้าที่กองงานพระไตรปิฎก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๗.

บทความ

โค ทม อารียา. “ข้อชวนพิจารณาเรื่องสันติภาพ”. ใน ประมวลความรู้เรื่องสันติภาพ. ประชุมสุข อาชวอำรุง, ยุพิน พิพิธกุล บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๐.

จินตนา ยูนิพันธ์ และลิลิต ศรีทรัพย์อนันต์. “การจัดการศึกษาทางการพยาบาลกับคุณภาพบัณฑิต”. ใน วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีราชบุรี. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี, ๒๕๔๒.

ฉันทนา บรรพศิริโชติ. “ความขัดแย้งในสังคมไทย: ช่องว่างของการรับรู้และความเข้าใจ”. ใน ความขัดแย้งในสังคมไทยยุควิกฤติเศรษฐกิจ. พัชรี สิโรรส บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์คบไฟ, ๒๕๔๒.

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. “การวิจัยสันติภาพ: ข้อพิจารณาเชิงวิพากษ์” ใน วารสารวิจัย ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๒ (ก.ค. – ธ.ค. ๒๕๒๙): ๑๐๖.

ชัย วัฒน์ สถาอานันท์. “ความรุนแรงกับมายาการแห่งเอกลักษณ์”. ใน สันติศึกษากับการแก้ปัญหาความขัดแย้ง. วลัย อารุณี บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๙.

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. “การไม่ใช้ความรุนแรง”. ใน สันติศึกษา เล่มที่ ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๑.

เทียนฉาย กีระนันท์. “อันเนื่องมาจากความแตกต่างทางเศรษฐกิจ และสังคม”. ใน สันติศึกษากับการแก้ปัญหาความขัดแย้ง. วลัย อรุณี บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๐.

นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์. “อินไซด์ แคนคูนล้มเหลวจริงหรือ”. มติชนรายสัปดาห์ (๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๖): ๑๗.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. “ความสำเร็จ หรือความล้มเหลวของลุ่มน้ำแม่ตาช้างที่เชียงใหม่”. ใน ศิลปวัฒนธรรม (ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๑๐): สิงหาคม ๒๕๔๖: ๖๘–๖๙.

บุญยง ว่องวาณิช. “เพื่อให้ได้มาซึ่งสันติภาพ”. โกศล สุขปลื้มถาวร (สรุปความ). ไทย-ญี่ปุ่นศึกษา. (มกราคม-มีนาคม ๒๕๒๙): ๑๒–๓๓.

ประชุม สุข อาชวอำรุง. “การวิจัยสันติภาพ”. ใน ประมวลความรู้เรื่องสันติภาพ. ประชุมสุข อาชวอำรุง, ยุพิน พิพิธกุล บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๐.

ประเวศ วะสี. “ความสำคัญของสันติวิธีในเชิงยุทธศาสตร์”. ใน สันติวิถี: ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อความมั่นคง. สถาบันยุทธศาสตร์ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (รวบรวม). กรุงเทพมหานคร: สถาบันยุทธศาสตร์ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ, ๒๕๔๒.

ประเวศ วะสี. “สันติวรบท: เอกสภาวธรรม”. ใน สู่ศานติเสรี: ๕๐ ปี สันติภาพไทย. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์, ๒๕๓๘.

พระ ไพศาล วิสาโล. “สันติภาพโดยสันติวิธี”, ใน สื่อในสันติภาพ สันติภาพในสื่อ. กาญจนา แก้วเทพ บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๐.

พระไพศาล วิสาโล. “องค์รวมแห่งสันติภาพ”. ใน สู่ศานติเสรี: ๕๐ ปี สันติภาพไทย. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์, ๒๕๓๘.

พระ ไพศาล วิสาโล. “สันติภาพโดยสันติวิธี”. ใน สื่อในสันติภาพ สันติภาพในสื่อ. กาญจนา แก้วเทพ บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๐.

พระ โสภณคณาภรณ์. “ความขัดแย้งในจิตมนุษย์”. ใน สันติศึกษากับการแก้ปัญหาความขัดแย้ง, วลัย อรุณี บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๐.

ม.ร.ว.พฤทธิสาณ ชุมพล. “สันติภาพภายใต้เงื่อนไขของความขัดแย้งทางสังคมและการเมือง”. ใน มนุษย์กับสันติภาพ. ศรีเพ็ญ ศุภพิทยากุล บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓.

มารค ตามไท. “ความสามัคคี”. ใน สันติวิถี: ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อความมั่นคง. สถาบันยุทธศาสตร์ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (รวบรวม). กรุงเทพมหานคร: สถาบันยุทธศาสตร์ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ, ๒๕๔๒.

มารค ตามไท. “ข้อคิดเกี่ยวกับความมั่นคงกับการเตรียมพร้อมเมื่อชาติมีภัย”. ใน สันติวิถี: ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อความมั่นคง. สถาบันยุทธศาสตร์ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ.กรุงเทพมหานคร: สถาบันยุทธศาสตร์ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ, ๒๕๔๒.

มารค ตามไท. “การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี”. ใน สันติวิถี: ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อความมั่นคง. สถาบันยุทธศาสตร์ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันยุทธศาสตร์ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ, ๒๕๔๒.

วิจิตร ศรีสอ้าน. “การจัดการศึกษาเพื่อสันติภาพ”.ใน สันติศึกษากับการแก้ปัญหาความขัดแย้ง. วลัย อารุณี บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๙.

สมพงศ์ ชูมาก. “บทบาทของรัฐและองค์การระหว่างประเทศในการแก้ไขข้อขัดแย้งระหวางประเทศโดย สันติวิธี และในการรักษาสันติภาพ”. ใน มนุษย์กับสันติภาพ. ศรีเพ็ญ ศุภพิทยากุล บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๔.

สมภาร พรมทา. “กิน: มุมมองของพุทธศาสนา”. ใน วารสารพุทธศาสน์ศึกษา ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๔๖): ๕๐-๕๗.

สายหยุด เกิดผล. “สันติภาพสร้างสรรค์ได้ หรือต้องรอคอย”. ใน สันติศึกษากับการแก้ปัญหาความขัดแย้ง. วลัย อารุณี บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๙.

เสาวนีย์ ธรรมสถิติ. “เหตุผลที่ต้องต่อต้านพืช GMO”. มติชนสุดสัปดาห์ (๑๗ กันยายน ๒๕๔๗): ๒๘.

สุทัศน์ ยกส้าน. “วารีวิกฤติ: ปัจจุบัน และอนาคต”. ผู้จัดการรายวัน (๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๖): ๙.

สุมน อมรวิวัฒน์. “การรุก และการปะทะกันทางวัฒนธรรม”. ใน สันติศึกษากับการแก้ปัญหา ความขัดแย้ง. วลัย อรุณี บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๐.

สุรชาติ บำรุงสุข. “สงครามข้ามรัฐ-สงครามในรัฐ: จากสถานการณ์โลกถึงภาคใต้”. ใน มติชน สุดสัปดาห์ (ฉบับที่ ๑๒๔๙): ๓๓.

สุ ลักษณ์ ศิวรักษ์. “พุทธศาสนากับอหิงสธรรม”. ใน ปฏิบัติการแห่งความรัก: ยุคสมัยแห่ง ความรุนแรง. วีระ สมบูรณ์ และไพศาล วงศ์วรวิสิทธิ์ บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม, ๒๕๒๒.

หนังสือพิมพ์

หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ (๑ เมษายน ๒๕๔๗) : ๒๐.

หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ (๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๖): ๘.

หนังสือพิมพ์มติชน (๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๖): ๒๒.

หนังสือพิมพ์สยามรัฐ (๑๖ มีนาคม ๒๕๔๗): ๒๐.

วิทยานิพนธ์

ชวลี ไชยธีระพันธ์. “อหิงสาในความคิดของมหาตมะ คานธี”. อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๒.

ดวง เด่น นุเรมรัมย์. “พุทธจริยศาสตร์กับแนวคิดเรื่องสงครามที่เป็นธรรม: กรณีศึกษาทรรศนะของนักวิชาการในบริบทสังคมไทยร่วมสมัย”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจริยศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๕.

พ.ต.ชวัติ สุทธิพันธุ์. “วิธีระงับข้อพิพาทโดยสันติของสหประชาชาติ”, วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ม.ป.ป..

พยัฆ ศิริ. “การศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดเรื่องสันติภาพของพระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต) และมาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์”. ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศาสนาเปรียบเทียบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๖.

พีรพล คดบัว. “การดื้อเพ่งกับการลงโทษ: การวิเคราะห์เชิงปรัชญา”. ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๕.

เพียรเลิศ ถิรจำนงค์ . “การมีส่วนร่วมของประชาชนในการรักษาป่าต้นน้ำลำธาร ต้นน้ำแม่สะงะ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่”. ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการมนุษย์สิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาลัยวิทยาเชียงใหม่, ๒๕๔๓.

มนตรี มาลีพันธุ์. “ญิฮาดในอิสลาม: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ในแง่มุมของสันติวิธีและการใช้ความรุนแรง”. ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๔.

ศลิษา พึ่งแสงแก้ว. “การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ป่าไม้: ศึกษาเฉพาะกรณีป่าชุมชนห้วยแก้ว อำเภอสันกำแพง จ.เชียงใหม่”. ปริญญาพัฒนบัณฑิตบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม), สาขาการวิเคราะห์และวางแผนทางสังคม, สถาบันพัฒนบัณฑิตบริหารศาสตร์, ๒๕๓๗.

อินเตอร์เน็ต

BBC News (๑๒ December 2003) in <http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/africa/3313893.stm>

BBC news (๕ march ๒๐๐๓) in <http://news.bbc.co.uk/1/hi/sci/tech/2820831.stm>

http://www.ess.uwe.ac.uk/ genocide.htm.

http://www.rotten.com/library/bio/nazi/adolf-hitler/.

http://www.spaceline.org/bumper/ bumper8.html”.

http://www.ess.uwe.ac.uk/Kosovo/CdhrfMar2000.htm.

http://www.des. ucdavis.edu/staff/ pelkey/ cauvery.htm.

http://www.des. ucdavis.edu/staff/pelkey/cauvery.htm.

http://www.midnightuniv.org/midnight2544/newpage3.html.

http://www.manager.co.th/around/ViewNews.aspx?newsid=4782781350015.

http://www.ombudsman.go.th/ articles_ main.asp?id=100080.

http://www.pub-law.net/article/ac120447.html.

http://www.geocities.com/midnightuniv/ newpage77.htm.

http://pirun.ku.ac.th/~fagisvtc/buddhism/ boon/index5.htm.

http://www.santipap.com/kotom.htm.

http://www.santipap.com/kotom.htm.

http://www.dailystar.com.lb/article.asp edition_id=10&categ_id= 5&article_id=7638.

http://encyclopedia.thefreedictionary.com/pacifism.

http://encyclopedia.thefreedictionary.com/non-violent%20resistance.

http://www.spartacus.schoolnet.co.uk/USApacifists.htm.

http://www.manager.co.th/politics/ politicsview.asp?NewsID=4784958016275.

http://www.bangkokbiznews.com/2004/03/08/pol/ index.php?news=pol1.html.

http://www.thairath.co.th/thairath1/2547/ breaking.news/bknews.php?id=9284.

http://www.des. ucdavis.edu/staff/ pelkey/cauvery .htm.

http://www.midnightuniv.org/midnight2544/newpage3.html.

http://www.manager.co.th/around/ViewNews.aspx newsid=4782781350015.

http://www.zmag.org/terrorframe.htm 221144release date CPMPWBContents P. Member P.

http://www.geocities.com/midnightuniv/newpage77.htm.

http://www.matichon.co.th/weekly/weekly.phpsrctag=0415170947&srcday= 2004/09/17&search=no.

http://www.matichon.co.th/ Apec/show.php ndate = 2003/10/27&news = &cshow = 01for03271046.

http://www.matichon.co.th/weekly/weekly.php?srctag=0415170947&srcday= 2004/09/17 &search=no>.

http://www.matichon.co.th/ Apec/show.php?ndate=2003/10/27&news=1&cshow= 01for03271046.

ภาษาอังกฤษ

A.Beer, Francis. Peace Against War: The Ecology of International Violence. San Francisco: W.H. Freeman and Company, 1981.

B.Leas, Speed. “Choosing a Conflict Management Strategy”. in Discover Your Conflict Management Style. ed. Speed B. Leas . New York: The Alban Institute, 1984.

Bondurant, John. Conquest of Violence. Berkley: University of California Press, 1965.

Boutros-Ghali. “An Agenda for Democratization,” in Grobal Democracy. Barry Holden (ed). New York: Routledage, ๒๐๐๐.

Coleman, Peter T.. “Power and Conflict”. in The Handbook Conflict Resolution: Theory and Practice. Morton Deutsch and Peter T. Coleman (Editors). San Francisco: Jossey-Bass Publishers, 2000.

Corney, Roderic. The Human Agenda. New York: Bantam, 1973.

Dahrendorf, Ralf. Class and Class Conflict in Industrial Society. California: Standford University Press, 1959.

Deutsch, Morton. T.Coleman, Peter (Editors). Handbook of Conflict Resolution: Theory and Practice. San Francisco: Jossey-Bass Publishers, 2000.

Eagleton, Clyde. International Government. New York: The Ronald Press Company, 1948.

Encyclopedia Britannica. The New Encyclopedia Britannica, Volume 13. U.S.A.: Encyclopedia Britannica, 1978.

Fred, C. Ikle. How Natons Negotiate. New York: Harper&Row, 1964.

Gandhi, M.K.. My Non-

หมายเลขบันทึก: 328265เขียนเมื่อ 15 มกราคม 2010 13:39 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 21:24 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

สันติ คือทางแก้ไข ทุกปัญหา เหตุจากการแย่งมวลชน

ทำไมชาวใต้ถึงฟังกลุ่ม บีอาร์เอ็น มากกว่า รัฐ (จากการ สรุปโดย พล.อ เอกชัย ศรีวิลาศ ผอ. สถาบันสันติวิธี)) เพราะ กลุ่ม บีอาร์เอ็น สามารถแสดงออกอย่างเปิดเผยว่า พวกเขากตัญญูสูงสุดได้. เพราะเขากตัญญูต่อเจ้าเมืองธรรมชาติ ที่ให้ออกซิเจนพระพุทธเจ้า หายใจ มันคือการใฝ่หาของมนุษย์โดยพื้นฐานว่า เขาจะฟังผู้กตัญญู และ จะต่อต้านผู้มีจิต เนรคุณ นั่นเอง. จงกตัญญูให้เท่าเทียมผู้ที่ท่าน จะเข้าพัฒนาเขา

ลองปรับกันซักนิด จะครองใจชาวบ้านได้ง่ายขึ้น. ด้วยการมีพระเจ้าเป็นสิ่งกตัญญู แทนการมีเป็นสิ่งปฏิเสธ ถึง เนรคุณ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท