การวิเคราัะห์การวิจัยทั่วไป อย่างง่าย


ในตอนนี้ ให้ดูจากวัตถุประสงค์งานวิจัยและกรอบแนวคิดเป็นหลักก่อนที่จะตัดสินใจว่า จะหาความสัมพันธ์ของตัวใดบ้าง

 

การวิเคราัะห์งานวิจัยมั่วไป
1.ข้อมูลส่วนบุคคล  เช่น เพศ อายุ การศึกษา ฯลฯ
  ใช้ frequencies 
  ในกรณีที่อายุใช้เป็นเติมตอบให้ใช้ descriptive หรือทำการจัดกลุ่มก่อน แล้วกลับมาใช้ frequencies ได้
2.ตอนที่เป็นพฤติกรรมหรือทัศนคติ ในตอนนี้มักจะแบ่งเป็นหัวข้อย่อย ดังนั้นต้องทำการค่าหาเฉลี่ยรวมของแต่ละตอนก่อนโดยการ
  2.1 compute 
        คำสั่งนี้ใช้ในการ ทำการหาค่าเฉลี่ยรวมเช่น แบบสอบตอนนี้มี 4 ด้าน เราต้องทำการหาค่าเฉลี่ยรวมก่อน 
        จากนั้น จึงทำการหาค่าเฉลี่ย ทั้งหมดอีกครั้งโดยใช้คำสั่ง descriptive
2.2 descriptive 
        หาค่าเฉลี่ยทั้งหมดทุกข้อ เช่นแบบสอบถามในด้านพฤติกรรมหรือทัศนคติมีทั้งหมด 20ข้อ 4 ตอน  เราทำการหาค่าเฉลี่ย จะได้ทั้งหมด 20 ข้อ +กับ 4 ข้อที่ได้มาจากการ compute 
3. การหาความสัมพันธ์ หาความแตกต่าง
    ในตอนนี้ ให้ดูจากวัตถุประสงค์งานวิจัยและกรอบแนวคิดเป็นหลักก่อนที่จะตัดสินใจว่า จะหาความสัมพันธ์ของตัวใดบ้าง
   3.1 ตัวแปรเชิงกลุ่ม                เทียบกับ   ตัวแปรเชิงกลุ่ม                 -- ใช้ Chi square
   3.2 ตัวแปรเชิงกลุ่ม 2 ตัว         เทียบกับ  ตัวแปรเชิงปริมาณ              --  ใช้ t-test
   3.3 ตัวแปรเิชิงกลุ่ม 3 ตัวขึ้นไป เทียบกับ  ตัวแปรเชิงปริมาณ              -- ใช้ one-way anova
   3.4 ตัวแปรเชิงปริมาณ            เทียบกับ  ตัวแปรเชิงปริมาณ              --  correlation
4. เพิ่มเติมการหาค่าความเชื่อมั่น reliability 
    เป็นการหาว่าแบบสอบถามด้านการวัดทัศนคตินั้น มีความเชื่อมั่นขนาดไหน ที่เราจะไปเก็บจากกลุ่มตัวอย่างจริง
    โดยที่กลุ่มที่เก็บคือกลุ่มตัวอย่างที่คล้ายกับกลุ่มตัวอย่างจริง เช่น กลุ่มตัวอย่างจริงคือ นักเรียนชั้น ม.3 ทั้งในอำเภอหาดใหญ่ เราควรจะไปเก็บตัวอย่างจาก นักเรียน ม.3 ในอ.เมือง สงขลาแทน เป็นต้น
    4.1 ใช้คำสั่ง reliability analysis 
         

 

การวิเคราัะห์งานวิจัยทั่วไป


1.ข้อมูลส่วนบุคคล  เช่น เพศ อายุ การศึกษา ฯลฯ  ใช้ frequencies   ในกรณีที่อายุใช้เป็นเติมตอบให้ใช้ descriptive หรือทำการจัดกลุ่มก่อน แล้วกลับมาใช้ frequencies ได้

2.ตอนที่เป็นพฤติกรรมหรือทัศนคติ ในตอนนี้มักจะแบ่งเป็นหัวข้อย่อย ดังนั้นต้องทำการค่าหาเฉลี่ยรวมของแต่ละตอนก่อนโดยการ

  2.1 compute         คำสั่งนี้ใช้ในการ ทำการหาค่าเฉลี่ยรวมเช่น แบบสอบตอนนี้มี 4 ด้าน เราต้องทำการหาค่าเฉลี่ยรวมก่อน         จากนั้น จึงทำการหาค่าเฉลี่ย ทั้งหมดอีกครั้งโดยใช้คำสั่ง descriptive

2.2 descriptive         หาค่าเฉลี่ยทั้งหมดทุกข้อ เช่นแบบสอบถามในด้านพฤติกรรมหรือทัศนคติมีทั้งหมด 20ข้อ 4 ตอน  เราทำการหาค่าเฉลี่ย จะได้ทั้งหมด 20 ข้อ +กับ 4 ข้อที่ได้มาจากการ compute 

3. การหาความสัมพันธ์ หาความแตกต่าง    ในตอนนี้ ให้ดูจากวัตถุประสงค์งานวิจัยและกรอบแนวคิดเป็นหลักก่อนที่จะตัดสินใจว่า จะหาความสัมพันธ์ของตัวใดบ้าง

3.1 ตัวแปรเชิงกลุ่ม                เทียบกับ   ตัวแปรเชิงกลุ่ม    -- ใช้ Chi square  

3.2 ตัวแปรเชิงกลุ่ม 2 ตัว         เทียบกับ  ตัวแปรเชิงปริมาณ  --  ใช้ t-test  

3.3 ตัวแปรเิชิงกลุ่ม 3 ตัวขึ้นไป เทียบกับ  ตัวแปรเชิงปริมาณ  -- ใช้ one-way anova  

3.4 ตัวแปรเชิงปริมาณ            เทียบกับ  ตัวแปรเชิงปริมาณ   --  correlation

4. เพิ่มเติมการหาค่าความเชื่อมั่น reliability     เป็นการหาว่าแบบสอบถามด้านการวัดทัศนคตินั้น มีความเชื่อมั่นขนาดไหน ที่เราจะไปเก็บจากกลุ่มตัวอย่างจริง    โดยที่กลุ่มที่เก็บคือกลุ่มตัวอย่างที่คล้ายกับกลุ่มตัวอย่างจริง เช่น กลุ่มตัวอย่างจริงคือ นักเรียนชั้น ม.3 ทั้งในอำเภอหาดใหญ่ เราควรจะไปเก็บตัวอย่างจาก นักเรียน ม.3 ในอ.เมือง สงขลาแทน เป็นต้น
    4.1 ใช้คำสั่ง reliability analysis          

 

 

พอดีรีบเขียนไปหน่อยครับ เลยไม่ได้จัดแต้งอะไร 

ไว้โอกาสหน้าจะตกแต้งดีกว่านี้ครับ และจะแทรกภาพการแปลผลไปด้วยครับ

หมายเลขบันทึก: 341150เขียนเมื่อ 2 มีนาคม 2010 15:49 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 มิถุนายน 2012 23:03 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท