ส่งงาน online (อาทิตย์ เช้า)


ส่งงาน

นักศึกษาสามารถส่งงาน Online (เฉพาะงานที่กำหนดให้ส่ง online เท่านั้นค่ะ)

อย่าลืม!

กรุณาบอกรหัสประจำตัว 3 ตัวหลัง และวันที่เรียน จะได้เช๊คชื่อได้ถูกต้องค่ะ

คำสำคัญ (Tags): #ส่งงาน
หมายเลขบันทึก: 349497เขียนเมื่อ 4 เมษายน 2010 10:30 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 เมษายน 2012 13:59 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (82)

คำถาม online ครั้งที่ 1

จงยกตัวอย่างโจทย์เพื่อคำนวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ พร้อมแสดงวิธีคำนวณ

1) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

หรือ

2) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น (ความยืดหยุ่นไขว้)

หมายเหตุ: กำหนดโจทย์และตัวเลขด้วยตนเอง แต่ห้ามซ้ำกันค่ะ

****วันหยุดสงกรานต์ขอให้มีความสุขและเดินทางโดยสวัสดิภาพค่ะ (^_^)*****

รหัส 229 น้ำฝน จีนเอม เรียน อาทิตย์เช้า

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่รายได้

สมมติ นาย ไก่ มีเงินได้เท่ากับ 2,000 บาท เขาซื้อปลาได้ 10 ตัว พอเขามีรายได้เพิ่มจากการทำงานพิเศษได้เพิ่มขึ้นเป็น 3,000 บาท เข้าซื้อปลาเพิ่มอีก 15 ตัว จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

        จากสูตร Edi=%

<table border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" width="151">

<colgroup span="1"><col span="1" width="87"></col><col span="1" width="64"></col></colgroup>

<tbody>

<tr height="17">

<td width="87" height="17" align="left" valign="top">

<table cellspacing="0" cellpadding="0">

<tbody>

<tr>

<td width="87" height="17" align="left">Edi=%&nbsp; Q &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</td>

</tr>

</tbody>

</table>

</td>

<td width="64">&nbsp;</td>

</tr>

<tr height="17">

<td height="17" align="left" valign="top">

<table cellspacing="0" cellpadding="0">

<tbody>

<tr>

<td width="87" height="17" align="left">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; %&nbsp; Q&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</td>

</tr>

</tbody>

</table>

</td>

<td>&nbsp;</td>

</tr>

<tr height="17">

<td height="17" align="left" valign="top">

<table cellspacing="0" cellpadding="0">

<tbody>

<tr>

<td width="87" height="17" align="left">&nbsp;&nbsp;&nbsp; = Q1-Q2</td>

</tr>

</tbody>

</table>

</td>

<td align="left">&nbsp;&nbsp; Y1+Y2</td>

</tr>

<tr height="17">

<td height="17" align="left">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Q2+Q2</td>

<td align="left">&nbsp;&nbsp; Y2-Y2</td>

</tr>

<tr height="17">

<td height="17">&nbsp;</td>

<td>&nbsp;</td>

</tr>

<tr height="17">

<td height="17" align="left" valign="top">

<table cellspacing="0" cellpadding="0">

<tbody>

<tr>

<td width="87" height="17" align="left">&nbsp;&nbsp;&nbsp; = 10-15</td>

</tr>

</tbody>

</table>

</td>

<td class="xl27">2000+3000</td>

</tr>

<tr height="17">

<td height="17" align="left">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 10+15</td>

<td align="left">2000-3000</td>

</tr>

<tr height="17">

<td height="17">&nbsp;</td>

<td>&nbsp;</td>

</tr>

<tr height="17">

<td height="17" align="left" valign="top">

<table cellspacing="0" cellpadding="0">

<tbody>

<tr>

<td class="xl25" width="87" height="17">&nbsp;&nbsp;&nbsp; = &nbsp;-5</td>

</tr>

</tbody>

</table>

</td>

<td class="xl26">5,000</td>

</tr>

<tr height="17">

<td class="xl25" height="17">25</td>

<td class="xl24">-1000</td>

</tr>

<tr height="17">

<td height="17" align="left">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; =&nbsp;&nbsp;</td>

<td class="xl24">-0.2</td>

</tr>

<tr height="17">

<td height="17" align="left" valign="top">

<table cellspacing="0" cellpadding="0">

<tbody>

<tr>

<td width="87" height="17" align="left">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; =&nbsp;&nbsp;</td>

</tr>

</tbody>

</table>

</td>

<td class="xl24">4000</td>

</tr>

<tr height="17">

<td height="17" align="left">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; =&nbsp;&nbsp;</td>

<td class="xl24">-800</td>

</tr>

</tbody>

</table>

ทำข้อมูล save ไม่ได้นะคะ ต้องทำอย่างงั้ยค่ะ

คุณน้ำฝน ลองทำในเอกสาร Word ก่อน แล้วค่อย copy มาแปะดีมั้ยค่ะ ลองทำดูค่ะ

(^_^)

ลองทำแล้วค่ะมัน cop มาวางไม่ได้ แบบนี้ได้ไหมค่ะ Edi=% Q % Q = Q1-Q2*Y1+Y2 Q2+Q2*Y2-Y2 = 10-15*2,000+3,000 10+15*2,000-3,000 = -5 * 5,000 25 *-1,000 = 1 ขอบคุณคะ

โจทย์

ใช้สูตรEdc= Qx 1-Qx2 * Py1+py2

Qx1+Qx2 Py1-Py2

ระดับรายได้ ปริมาณการซื้อ A ปริมาณการซื้อ B

3,000 60 200

4,000 50 220

จงหาค่าความยึดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ของสินค้า A และ B และระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด

ส้นค้าปกติ หรือสินค้าด้อย

โจทย์

ใช้สูตรEdc= Qx 1-Qx2 * Py1+py2

Qx1+Qx2 Py1-Py2

ระดับรายได้ ปริมาณการซื้อ A ปริมาณการซื้อ B

3,000 60 200

4,000 50 220

จงหาค่าความยึดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ของสินค้า A และ B และระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด

ส้นค้าปกติ หรือสินค้าด้อย

นางสาว สีดา จันทรา รหัส 250 เรียนวันอาทิตย์ เช้า

 โจทย์

ใช้สูตรEdc= Qx 1-Qx2 * Py1+py2

Qx1+Qx2 Py1-Py2

ระดับรายได้ ปริมาณการซื้อ A ปริมาณการซื้อ B

3,000 60 200

4,000 50 220

จงหาค่าความยึดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ของสินค้า A และ B และระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด

ส้นค้าปกติ หรือสินค้าด้อย

นางสาว สีดา จันทรา รหัส 250 เรียนวันอาทิตย์ เช้า

นางสาวเกศรินทร์ หงษ์ใจ รหัส 310 เรียนอาทิตย์-เช้า ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ สมมุติ น้ำชามีรายได้ 2600 บาท เขาซื้อแผ่นซีดีเดือนละ 80 แผ่นเมื่อน้ำชามีรายได้เพิ่มขึ้น 3000 บาท เขาซื้อแผ่นซีดีลดลงเหลือ 50 แผ่น จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ และระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด จากสูตร Edi = % การเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอซื้อ/ % การเปลี่ยนแปลงของรายได้ = Q1-Q2 * Y1+Y2 Q1+Q2 *Y1-Y2 = 80-50 * 2600 +3000 80+50 * 2600-3000 = 30 * 5600 130* -400 = 16800 /-52000 = - 4 ดังนั้น ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ คือ - 4 สินค้านี้เป็นสินค้าด้อย

คุณหนุงหนิง

มีแต่โจทย์อย่างเดียวหรือค้ะ ลืมแสดงวิธีคำนวณรึเปล่า? (^_^)

อาจารย์คะ ตอนทำมันย่อหน้าได้ แต่ตอนบันทึกทำไมประโยคมันติดกันหมดเลย ส่งแบบนี้ได้มั้ยค่ะ (*_*)

นางสาวจารุวรรณ คารีขันธ์ รหัส 295 เรียน อาทิตย์ – เช้า

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

สมมุติ

อ้อมมีรายได้ 3000 บาท อ้อมซื้อกระเป๋าเดือนละ 60 ใบ แต่เมื่ออ้อมมีรายได้เพิ่มขึ้น 5000 บาท อ้อมซื้อกระเป๋าลดลง 40 ใบ

จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ และระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด

จากสูตร Edi = % การเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอซื้อ/

% การเปลี่ยนแปลงของรายได้

=Q1-Q2 *Y1+Y2

Q1+Q2* Y1-Y2

=60-40* 3000+5000

60+40 * 3000 - 5000

=20 * 8000

100 * - 2000

=160000/

- 200000

= - 1

** ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ คือ - 1

สินค้านี้เป็นสินค้าด้อย

โจทย์ ขอเปลี่ยนโจทย์ค่ะอาจารย์

ใช้สูตรEdc= Qx 1-Qx2 * Py1+py2

Qx1+Qx2 Py1-Py2

ระดับรายได้ ปริมาณการซื้อ A

3,000 60

4,000 50

จงหาค่าความยึดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ของสินค้า A และระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด

ส้นค้าปกติ หรือสินค้าด้อย

นางสาว สีดา จันทรา รหัส 250 เรียนวันอาทิตย์ เช้า

ใช้สูตรEdc= Qx 1-Qx2 * Py1+py2

Qx 1-Qx2 * Py1+py2

= 50-60 * 3000 +4000

50+60 3000 -4000

= -10 * 7000

110 -1000

= - 70000

-110000

= 0.63

ค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรายได้ = 0.63

สินค้านี้เป็นสินค้าปกติ

รหัส 240 เรียน วันอาทิตย์ ตอนเช้าค่ะ

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น

ข้อ 2. ราคาสบู่ ปริมาณการซื้อสบู่ ปริมาณการซื้อครีมอาบน้ำ

10 15 10

15 10 20

จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ของครีมอาบน้ำ ต่อราคาสินค้าสบู่

วิธีทำ สูตร Edc = ( Qx1 - Qx2 / Qx1 + Qx2 ) * ( Py1 + Py2 / Py1 - Py2 )

แทนค่า = ( 10 - 20 / 10 + 20 ) * ( 10 +15 / 10 - 15 )

= ( -5 / 30 ) * ( 25 / -5 )

= ( -0.16 ) * ( -5 )

= 0.80

ตอบ หากราคาสบู่เปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณซื้อครีมอาบน้ำจะเปลี่ยนแปลงไป 0.80 % ในทิศทางเดียวกัน

สบู่และครีมอาบน้ำเป็นสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน

นางสาว สุวัชรา บุญวาสนา รหัส 25143312 เรียนวันอาทิตย์ เช้า

โจทย์

เก๋ มีรายได้เดือนละ 2000 บาท เขาซื้อร้องเท้า 10 คู่ แต่เมื่อเก๋มีรายได้เพิ่มขึ้น 3000 บาท

เขาซื้อร้องเท้าเพิ่มขึ้น 12 คู่ จงหาความยืดหยุ่ของอุปสงค์ต่อรายได้และระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด

สูตร Edi = Q1-Q2/Q1+Q2*Y1+Y2/Y1-Y2

Q1= 10

Q2= 12

Y1= 2000

Y2= 3000

วิธีทำ

10-12/10+12*2000+3000/2000-3000

-2/22*5000/-1000

-10000/-22000

0.45

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้= 0.45

สินค้านี้เป็นสินค้าปกติ

โฉมณภา   สุขยานี  รหัส 225  เรียน อาทิตย์-เช้า

1. กาญจนาทำงานบริษัทแห่งหนึ่งได้ค่า OT วันละ 200 บาท เขาซื้อเครื่องดื่มบำรุงสุขภาพ เดือนละ 10 ขวด ถ้ากาญจนาได้ค่า OT เพิ่มขึ้นเป็นวันละ 300 บาท เขาซื้อเครื่องดื่มบำรุงสุขภาพ เดือนละ 15 ขวด จงหาค่าความยึดหยุนของอุปสงค์ต่อรายได้

 สูตร Edi = Q1 - Q2 / Q1 + Q2   *  Y1 + Y2 / Y1 - Y2

            =  10 - 15 / 10  + 15   *  200 + 300 / 200 -  300

            =  -5 / 25    *    500 / -50

            =  -2500 / -1250     

            =   2

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ = 2

สินค้านี้เป็นสินค้าปกติ

วิภานันท์  เกตุโชติ  245 เรียน วันอาทิตย์ (เช้า)

1.) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

โจทย์ : ทับทิม มีรายได้ 5000 บาท ทับทิมได้ซื้อหนังสือ จำนวน 12 เล่ม ถ้าทับทิมมีรายได้เพิ่มขึ้นเป็น 7000 บาท  ทับทิมซื้อหนังสือเพิ่มขึ้นเป็น  20 เล่ม จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

สูตร : Edi  = Q1 - Q2/ Q1 + Q2 *  Y1 + Y2 / Y1 - Y2

               = 12 - 20 / 12 + 20 * 5000 + 7000 / 5000 - 7000

               = -8 / 32 * 1200 / -2000

               = -96000 / -64000

               = 1.5

ตอบ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ เท่ากับ 1.5 

       สินค้านี้เป็นสินค้าปกติ

                 

                  

                  

 

 

โฉมณภา สุขยานี รหัส 225 เรียน อาทิตย์-เช้า (ขอแก้ไขใหม่)

1. กาญจนาทำงานบริษัทแห่งหนึ่งได้ค่า OT วันละ 200 บาท เขาซื้อเครื่องดื่มบำรุงสุขภาพ เดือนละ 10 ขวด ถ้ากาญจนาได้ค่า OT เพิ่มขึ้นเป็นวันละ 300 บาท เขาซื้อเครื่องดื่มบำรุงสุขภาพ เดือนละ 15 ขวด จงหาค่าความยึดหยุนของอุปสงค์ต่อรายได้

สูตร Edi = Q1 - Q2 / Q1 + Q2 * Y1 + Y2 / Y1 - Y2

= 10 - 15 / 10 + 15 * 200 + 300 / 200 - 300

= -5 * 500 / 25 * -50

= -2500 / -1250

= 2

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ = 2

สินค้านี้เป็นสินค้าปกติ

อาจารย์ค่ะ ขอแก้ไขคะ ความเห็นที่ 19 ยกเลิกนะคะ

วิภานันท์ เกตุโชติ 245 เรียน วันอาทิตย์ (เช้า)

1.) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ โจทย์ : ทับทิม มีรายได้ 5000 บาท ทับทิมได้ซื้อหนังสือ จำนวน 12 เล่ม ถ้าทับทิมมีรายได้เพิ่มขึ้นเป็น 7000 บาท ทับทิมซื้อหนังสือเพิ่มขึ้นเป็น 20 เล่ม จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

สูตร : Edi = Q1 - Q2/ Q1 + Q2 * Y1 + Y2 / Y1 - Y2

              = 12 - 20 / 12 + 20 * 5000 + 7000 / 5000 - 7000

              = -8 * 12000 / 32 * -2000

              = -96000 / -64000

              = 1.5

ตอบ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ เท่ากับ 1.5

       สินค้านี้เป็นสินค้าปกติ

ขอส่งการบ้าน เรียน วันอาทิตย์ เวลา 8.30 - 11.00 รหัส 251 ค่ะ

1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ โจทย์- ภาณี มีรายได้ 300 บาท เธอซื้อน้ำผลไม้ 4 กล่อง พอเธอมีรายได้เพิ่มเป็นเงิน

350 บาท เธอซื้อน้ำผลไม้เพิ่มเป็น 6 กล่อง จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

สูตร Edi = Q1 - Q2/Q1 + Q2 * Y1 + Y2/Y1 - Y2

= 4 - 6/ 4 + 6 * 300 + 350/300 - 350

= -2/10 * 650/-50

= 1300/500

= 2.6

เพราะฉะนั้น ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ เท่ากับ 2.6

หมายความว่าสินค้านี้เป็นสินค้าปกติ

ขอส่งการบ้าน เรียน วันอาทิตย์ เวลา 8.30 - 11.00 รหัส 35143136 ค่ะ

***คำนวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand)

ระดับรายได้ของนายสมศักดิ์ ปริมาณการซื้อ/ส้มโอทองดี ปริมาณการซื้อ/ส้มเซ้ง

2,500 บาท 10 กิโลกรัม 15 กิโลกรัม

3,500 บาท 14 กิโลกรัม 17 กิโลกรัม

Edi = Q1-Q2 x Y1+Y2

Q1+Q2 Y1-Y2

=10-14 x 2,500+3,500

10+14 2,500-3,500

= - 4 x 6,000

24 -1,000

= -24,000

-24,000

Edi = 1

***หมายความว่า ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้เท่ากับ 1 ซึ่งเป็นสินค้าปกติ Ans.

(อาจารย์ค่ะอันแรกคำนวณผิดส่งใหม่นะคะ) นางสาวเกศรินทร์ หงษ์ใจ รหัส 310 เรียนอาทิตย์-เช้า

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

สมมุติ น้ำชามีรายได้ 2600 บาท เขาซื้อแผ่นซีดีเดือนละ 80 แผ่นเมื่อน้ำชามีรายได้เพิ่มขึ้น 3000 บาท เขาซื้อแผ่นซีดีลดลงเหลือ 50 แผ่น จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ และระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด

จากสูตร Edi=Q1-Q2 *y1+y2 /Q1+Q2* Y1-Y2

                =80-50*2600+3000 / 80+50* 2600-3000

                =30*5600/130*(-400)

                =168000/(-52000)

                = (-4)

ดังนั้น ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ คือ - 4 สินค้านี้เป็นสินค้าด้อย

ส่งการบ้าน วันอาทิตย์ เช้า 08.30 - 11.00 นางสาวนิจวรรณ ใบ๋สกุล รหัส 230

ราคาเกลือ ปริมาณการซื้อน้ำปลา ปริมาณการซื้อเกลือ

15 50 100

20 80 50

จงหาค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ของน้ำปลาต่อราคาเกลือ และระบุว่าน้ำปลาและเกลือมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

สูตร Edc = (Qx1 - Qx2 / Qx1 + Qx2) * (Py1 + Py2 / Py1 - Py2)

= (50 - 80 / 50 + 80) * (15 + 20 / 15 - 20)

= - 30 / 130 * 35 / -5

= - 3 / 13 * 7 / -1

= - 21 / - 13

= 1.62

หากราคาเกลือเปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณซื้อน้ำปลาจะเปลี่ยนแปลงไป 1.62% ในทิศทางเดียวกัน

น้ำปลาและเกลือเป็นสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน

ศรัญญา รักษมณี 247 เรียนอาทิตย์-เช้า

นายสมชายทำงานได้เงินเดือน เดือนละ 7000 บาท เขาซื้ออุกรณ์กีฬา 300 บาท ถ้าเขาได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นเป็นเดือนละ 9000 บาทเขาซื้ออุปกรณ์กีฬา 500 บาท จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ราคาต่อรายได้

สูตร Edi = Q1 - Q2 / Q1 + Q2 * Y1 + Y2 / Y1 - Y2

= 300 - 500 / 300 + 500 * 7,000 + 9,000 / 7,000 - 9,000

= - 200 * 16,000 / 800 * - 2,000

= -3,200,000/-1,200

= 2.66

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ = 2.66

สินค้านี้เป็นสินค้าปกติ

1. หาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

ระดับรายได้ ปริมาณการซื้อ ก ปริมาณการซื้อ ข

3000 40 80

6000 25 100

วิธีทำ

การซื้อ ก การซื้อ ข

สูตร Q1-Q2 x Y1+Y2

Q1+Q2 Y1-Y2

40-25 x 3000+6000 80-100 x 3000+ 6000

40+25 3000- 6000 80+100 3000- 6000

15 x 9000 -20 x 9000

65 -3000 180 -3000

(0.23)x(-3) (-0.11)x(-3)

= -0.69 = 0.33

รายได้มากขึ้นซื้อน้อยลง รายได้มากขึ้นซื้อมากขึ้น

เป็นสินค้าด้อย เป็นสินค้าปรกติ

2. หาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น

ราคาดอกไม้สด ปริมาณการซื้อดอกไม้ประดิษฐ์

90 100

120 140

วิธีทำ

% การเปลี่ยนแปลงปริมาณการเสนอซื้อสินค้า x (%∆Q×)

%การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า Y (%∆Py)

Edc = Qx1 – Qx2 x Py1 + Py2

Qx1 + Qx2 Py1 - Py2

100 – 140 x 90 + 120

100 + 140 90 - 120

-40 x 210

240 -30

-0.17 x -7

= 1.19

- การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและปริมาณการซื้อมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน

- ราคาดอกไม้สดเปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณการซื้อดอกไม้ประดิษฐ์จะเปลี่ยนแปลงไป 1.19 % ในทิศทางเดียวกัน

เรียนวันอาทิตย์ เวลา 8.30 -11.00 น. รหัส 236 ทำ2ข้อเพื่อถูก ผิด คะ

1 หาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

ระดับรายได้               ปริมาณการซื้อ ก                 ปริมาณการซื้อ ข

    3000                            40                                  80

    6000                            25                                 100

 

  การซื้อ ก                                                                    การซื้อ ข

                        สูตร  Q1-Q2 x Y1+Y2

                               Q1+Q2    Y1-Y2


40-25 x 3000+6000                                 80-100 x 3000+ 6000

40+25   3000- 6000                                 80+100   3000- 6000

 

15 x 9000                                               -20 x 9000

65   -3000                                              180   -3000

 

(0.23)x(-3)                                             (-0.11)x(-3)

 

= -0.69                                                   = 0.33

 

รายได้มากขึ้นซื้อน้อยลง                                      รายได้มากขึ้นซื้อมากขึ้น

เป็นสินค้าด้อย                                                      เป็นสินค้าปรกติ

 

2 หาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น

  ราคาดอกไม้สด                                         ปริมาณการซื้อดอกไม้ประดิษฐ์

        90                                                                   100           

       120                                                                  140

                    % การเปลี่ยนแปลงปริมาณการเสนอซื้อสินค้า x (%∆Q×)

                          %การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า Y (%∆Py)

          Edc  =    Qx1 – Qx2    x      Py1 + Py2

                       Qx1 + Qx2           Py1 -  Py2

 

                       100 – 140     x      90 + 120

                       100 + 140            90 -  120

 

                       -40  x  210

                       240     -30

                        -0.17 x -7

                       =  1.19

-  การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและปริมาณการซื้อมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน

-  ราคาดอกไม้สดเปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณการซื้อดอกไม้ประดิษฐ์จะเปลี่ยนแปลงไป 1.19 % ในทิศทางเดียวกัน

 เรียนวันอาทิตย์ เวลา 8.30 -11.00 น. รหัส 236    ทำ2ข้อเพื่อถูก ผิด คะ

(ขอแก้ไข ความเห็นที่ 27 ค่ะเนื่องจากcopyมาวางแล้ว ไม่สามารถอ่านเข้าใจเหมือนต้นฉบับที่ทำ)

ขอบคุณค่ะ

อรุณรัตน์ ฉัตรชินรัตน์  รหัส  255    ( อาทิตย์    เช้า )

 2)หาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น

    โจทย์

ในตลาดแห่งหนึ่งเนื้อหมูได้มีการเปลี่ยนแปลงจากกิโลกรัมละ 30 บาท เป็นกิโลกรัมละ 40 บาททำให้ผู้บริโภคหันไปซื้อเนื้อไก่แทน ทำให้เดิมเนื้อไก่ขายได้  50 กิโลกรัม เป็น 60 กิโลกรัม

จงพิจารณาคำนวณหาค่าความยืดหยุ่นไขว้ของอุปสงค์สำหรับเนื้อหมูในตลาดแห่งนี้

 

โดยให้     X        แทนปริมาณเนื้อหมู             Qx1 = 30      Qx2 = 40

             Y        แทนปริมาณเนื้อไก่              Py1 = 50       Py2 = 60

 

แทนค่า               Edc          =   Qx1 – Qx2     x    Py1 + Py2

                                            Qx1 + Qx2          Py1 – Py2

                               

                                       =      30 – 40    x   50 + 60

                                              30 + 40        50 - 60

 

                                       =     -10   x    110

                                              70          -10

 

                                       =   1.58

 

-  จากการคำนวณสรุปได้ว่า เมื่อราคาเนื้อหมูสูงขึ้นทำให้ผู้บริโภคหันไปซื้อปลาแทน ซึ่งในกรณีนี้ทำให้สินค้าสามารถทดแทนกันได้

ภัคนันท์ โอสถ รหัส 234 เรียน (อาทิตย์ เช้า)

โจทย์

พัชราภามีเงิน 6,000 บาท จ่ายค่าหนังสือเรียน 500 บาท ถ้าพัชราภามีเงินเพิ่ม 8,000 บาท พัชราภาจ่ายค่าหนังสือเรียน 700 บาท จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ราคาต่อรายได้

วิธีทำ

แทนค่า Edc = Qx1 – Qx2 x Py1 + Py2

Qx1 + Qx2 Py1 – Py2

= 500 – 700 x 6000 + 8000

500 + 700 6000 - 8000

= -200 x 14000

1200 -2000

= 0.16 x 12

= 1.92

อุปสงค์มีความยือหยุ่นคงที่

รหัส  227   เรียน วันอาทิตย์  เช้า

โจทย์   เอ็มมี่ ได้รับเงินเดือน เดือนละ  6,500  บาท  ซื้อเครื่องสำอางค์ จำนวน 3  ชิ้น ถ้าเอ็มมี่ได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นเป็น เดือนละ  8,200  บาท  ซื้อเครื่องสำอางค์เพิ่มขึ้นเป็น  5  ชิ้น  จงหาค่าความยึดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

 

    สูตร             Edi       =    Q1 – Q2    X   Y1 + Y2

                                          Q1 + Q2         Y1 - Y2                               

                                   =    3 – 5    X   6,500 + 8,200

                                         3 + 5         6,500  -  8,200 

                                   =    -2   x    1,4700

                                           8         -1,700

                                   =    - 29,400

                                          - 13,600                                      

                                   =    2.16

ดังนั้น  ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ เท่ากับ  2.16  เป็นสินค้าปกติ

แก้ไขใหม่ค่ะ

รหัส  227   เรียน วันอาทิตย์  เช้า

โจทย์   เอ็มมี่ ได้รับเงินเดือน เดือนละ  6,500  บาท  ซื้อเครื่องสำอางค์ จำนวน 3  ชิ้น ถ้าเอ็มมี่ได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นเป็น เดือนละ  8,200  บาท  ซื้อเครื่องสำอางค์เพิ่มขึ้นเป็น  5  ชิ้น  จงหาค่าความยึดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

     สูตร             Edi       =    Q1 – Q2    X   Y1 + Y2

                                          Q1 + Q2         Y1 - Y2                               

                                   =    3 – 5    X   6,500 + 8,200

                                         3 + 5         6,500  -  8,200 

                                   =    -2   x    14,700

                                           8         -1,700

                                   =    - 29,400

                                          - 13,600                                      

                                   =    2.16

ดังนั้น  ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ เท่ากับ  2.16  เป็นสินค้าปกติ

รหัส  294   เรียน วันอาทิตย์  เช้า

โจทย์   อะตอม มีรายได้ เดือนละ  5,000  บาท  ซื้อนิตยสาร จำนวน  6  เล่ม  ถ้า อะตอม มีรายได้เพิ่มขึ้นเป็น เดือนละ  7,500  บาท  ซื้อนิตยสารเพิ่มขึ้นเป็น  12  เล่ม  จงหาค่าความยึดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

    สูตร             Edi       =    Q1 – Q2    X   Y1 + Y2

                                         Q1 + Q2         Y1 - Y2                               

                                   =    6 – 12    X   5,000 + 7,500

                                         6 + 12         5,000  -  7,500 

                                   =    -6   x    12,500

                                         18         -2,500

                                   =    - 75,000

                                          - 45,000                                      

                                   =    1.67

ดังนั้น  ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ เท่ากับ  1.67  เป็นสินค้าปกติ

นางสาวภัทรมล รักไมตรี รหัส 304 เรียน วันอาทิตย์ เช้า

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

โจทย์  วิลาสินีมีรายได้ 7,000 บาท วิลาสินีซื้อโลชั่นทาผิวเดือนละ 50 ขวด แต่เมื่อวิลาสินีมีรายได้เพิ่มขึ้น 3,000 บาท เขาซื้อโลชั่นลดลง 20 ขวด จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ และระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด

สูตร          Edi     =     Q1 – Q2 x Y1 + Y2

                               Q1 + Q2    Y1 – Y2

                        =     50 – 30 x 7,000 + 3,000

                               50 + 30   7,000 – 3,000

                        =     20 x 10,000

                               80    4,000

                        =     200,000

                               320,000

                        =     0.625

ดังนั้น ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ คือ 0.625 สินค้านี้เป็นสินค้าปกติ Ans.

ปิยะภรณ์ ยะ แก้วไธสง

นางสาวปิยะภรณ์ แก้วไธสง รหัส 306 เรียน วันอาทิตย์ เช้า

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

โจทย์ บริษัท M&J มีการส่งเสริมการขาย HDD จากข้อมูลรายเดือน

เกี่ยวกับยอดขาย HDD มีดังนี้

Q = 1200 - 100 P

Q = ยอดขาย HDD (หน่วย : ตัว)

P = ราคาของ HDD

// ถ้าราคา HDD ตัวละ 2.50 บริษัทจะขาย HDD ได้กี่ตัว

ตอบ Q = 1200 - 200 P , แทนค่า P = 2.50

Q = 1200 - 200 ( 2.50 ) = 700

ถ้าราคา HDD ตัวละ 2.50 บริษัทจะขาย HDD ได้ 700 ตัว

***แก้ไขข้อความที่ 29 ค่ะ***

อรุณรัตน์ ฉัตรชินรัตน์ รหัส 255 ( อาทิตย์ เช้า )

2)หาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น

โจทย์

ในตลาดแห่งหนึ่งเนื้อหมูได้มีการเปลี่ยนแปลงจากกิโลกรัมละ 30 บาท เป็นกิโลกรัมละ 40 บาททำให้ผู้บริโภคหันไปซื้อเนื้อไก่แทน ทำให้เดิมเนื้อไก่ขายได้ 50 กิโลกรัม เป็น 60 กิโลกรัม

จงพิจารณาคำนวณหาค่าความยืดหยุ่นไขว้ของอุปสงค์สำหรับเนื้อหมูในตลาดแห่งนี้

โดยให้ X แทนปริมาณเนื้อหมู Qx1 = 50 Qx2 = 60

Y แทนปริมาณเนื้อไก่ Py1 = 30 Py2 = 40

แทนค่า Edc = Qx1 – Qx2 x Py1 + Py2

Qx1 + Qx2 Py1 – Py2

= 50 – 60 x 30 + 40

50 + 60 30 - 40

= -10 x 70

110 -10

= 1.58

- จากการคำนวณสรุปได้ว่า เมื่อราคาเนื้อหมูสูงขึ้นทำให้ผู้บริโภคหันไปซื้อปลาแทน ซึ่งในกรณีนี้ทำให้สินค้าสามารถทดแทนกันได้

จิราพร กลมมล รหัส 224 (อาทิตย์เช้า)

โจทย์

สาวมีเงิน 1,000 บาท ซื้อกระเป๋า 2 ใบ ถ้าสาวมีเงินเพิ่มขึ้น 2,000 บาท ซื้อกระเป๋าเพิ่ม 3 ใบ จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้และระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด

Edc = Qx1 – Qx2 x Py1 + Py2

Qx1 + Qx2 Py1 - Py2

2 – 3 x 1,000 + 2,000

2 + 3 2,000 - 1,000

-1 x 3,000

5 -1,000

= -0.2 x -2

= 2.2

ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์คือ 2.2 สินค้านี้เป็นสินค้าปกติ

จิราพร กลมมล รหัส 224 (เรียนอาทิตย์ เช้า)

โจทย์

สาวมีเงิน 1,000 บาท ซื้อกระเป๋า 2 ใบ ถ้าสาวมีเงินเพิ่มขึ้น 2,000 บาท ซื้อกระเป๋าเพิ่ม 3 ใบ จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้และระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด

Edi = Q1 – Q2 x Y1 + Y2

Q1 + Q2 Y1 – Y2

= 2 – 3 x 1,000 + 2,000

3 + 2 2,000 – 1,000

= -1 x 3,000

5 -1,000

= -0.2 x -2

= 2.2

ดังนั้น ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ คือ 2.2 สินค้านี้เป็นสินค้าปกติ Ans.

นางสาวชลธิชา   พันธุ์เพ็ง   รหัส 296  เรียน วันอาทิตย์ เช้า

โจทย์  หงส์ฟ้ามีรายได้ 9,000 บาท หงส์ฟ้าได้ซื้อเสื้อจำนวน 10  ตัว ถ้าหงส์ฟ้ามีรายได้เพิ่ม  10,000  บาท  หงส์ฟ้า ซื้อเสื้อเพิ่มขึ้นเป็น  15  ตัว  จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

สูตร        Edi    =     Q1-Q2     x    Y1 + Y2

                            Q1+Q2           Y1 - Y2

 

                        =    10-15       x     9,000+10,000  

                              10+15             9,000- 10,000  

 

                           =   -5        x     19,000

                                25               -1,000                              

                           =    -95,000                  

                                 -25,000

 

                           =    3.80

ดังนั้น  ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ เท่ากับ  3.80  เป็นสินค้าปกติ

 

สวัสดีหลังสงกรานต์ค่ะ

หวังว่าทุกคนจะได้พักผ่อนและเที่ยวอย่างสนุกสนานฉ่ำปอด  ดีใจจังที่ห้องนี้เข้ามาส่งงานกันอย่างอุ่นหนาฝาคั่ง  ฝากบอกคนที่ยังไม่เข้ามาส่งรีบดำเนินการก่อนที่จะเจอกันวันอาทิตย์นี้ค่ะ (ช้าอด!)

แล้วเจอกันค่ะ (^_^)

ดราภรณ์

 

แก้ไขข้อความที่ 29 และ 36 ค่ะ

รหัส 255

โจทย์

ในตลาดเนื้อหมูได้มีการเปลี่ยนแปลงจาก กก.ละ 40 บาท เป็น กก.ละ 50 บาททำให้ผู้บริโภคหันไปซื้อเนื้อไก่แทน จากเดิมเนื้อไก่ขายได้ 60 กก.เป็น 90 กก.ต่อวัน

แทนค่า   Edc   =    Qx1 = 60     Qx2  =  90 

                           Py1 = 40      Py2  =  50

                    =    60 - 90  X   40 + 50

                          60 + 90      40 - 50

                   =    -30     x     90

                         150          -10

                   =   1.80

 

จากการคำนวณสรุปได้ว่าเนื้อไก้สามารถเป็นสินค้าทดแทนกันได้

รหัส  305

สุนิตตรา  นนปู่

โจทย์

   ราคาดอกไม้สดในตลาดแห่งหนึ่งได้มีการเปลียนแปลงไปจากเดิมดอกมะลิขายกก.ละ 70 บาทเป็น  100 บาท  ทำให้ดอกรักมียอดขายเพิ่มจากขายได้วันละ 60 กก.เป็น 90กก. ต่อวัน

แทนค่า     Edc  =    Qx1 = 60    Qx2  =  90

                             Py1 = 70    Py2  =  100

 

                      =   60 - 90  x    70  + 100

                           60 + 90       70  - 100

                      =   -30       x      170

                           150              -30

                       =   1.33

ค่าที่คำนวณได้มีค่าเป็นบวกเท่าว่าดอกมะลิและดอกรักสามารถเป็นสินค้าทดแทนกันได้

 

นางสาวโชติมณี  ขันธิคุณ   รหัส 226  เรียน วันอาทิตย์ เช้า

โจทย์  หลินปิงมีรายได้ 10,000 บาท หลินปิงได้ซื้อเืสื้อใน จำนวน 2  ตัว ถ้าหลินปิงมีรายได้เพิ่ม  12,000  บาท  หลินปิง ซื้อเสื้อในเพิ่มขึ้นเป็น  5  ตัว  จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

สูตร        Edi      =     Q1-Q2     x    Y1 + Y2

                               Q1+Q2           Y1 - Y2

 

                        =    2-5       x     10,000+12,000  

                              2+5             10,000- 12,000  

 

                        =   -3        x     22,000

                              7               -2,000 

 

                        =    -66,000                  

                              -14,000

 

                           =    4.71

ดังนั้น  ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ เท่ากับ  4.71  เป็นสินค้าปกติ

 

คำถาม online ครั้งที่ 2

หากนักศึกษาเป็นผู้ผลิตหรือนักธุรกิจ จะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานไปใช้ประโยชน์ต่อกิจการของตนเองได้อย่างไร

กรุณาส่งคำตอบภายในวันอาทิตย์ที่ 2 พ.ค. 53 ค่ะ

 

ขอส่งการบ้าน เรียน วันอาทิตย์ เวลา 8.30 - 11.00 รหัส 35143136 ค่ะ

***ถ้าข้าพเจ้าเป็นนักธุรกิจ ข้าพเจ้าจะนำความรู้จากการเรียนวิชาเศรษศาสตร์จุลภาค 1 เรื่องอุปทานไปใช้เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับระบขนส่งโลจิสติกส์ ระบบการขนส่งกระจายสินค้า บริการและข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการสะดวกรวดเร็วต่อการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพอย่างสูงสุด ตั้งแต่ผู้ส่งจนถึงผู้รับปลายทาง

ระบบโลจิสติกส์จะทำหน้าเป็น suppier ที่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้าที่เป็นสินค้าสำเร็จรูปหรือวัตถุดิบซึ่งมีการส่งมอบถึง customer เพราะต้องมีกระบวนการเข้ามาช่วยในระบบ ซึ่งสัมพันธ์กันกับองค์กรภายนอกด้วย จัดการผลิตแบบ Economies of Speed และการกระจายสินค้าไปสู่ผู้บริโภคได้อย่างทันเวลา แบบที่เรียกว่า Real Time การประสานรวมกระบวนการทางธุรกิจที่ครอบ คลุมจากผู้จัดส่งวัตถุดิบผ่านระบบธุรกิจอุตสาหกรรมไปสู่ผู้บริโภคขั้นสุดท้าย โดยมีการส่งผ่านผลิตภัณฑ์การบริการและข้อมูลสารสนเทศควบคู่กันไป การสร้างมูลค่าเพิ่มในตัวผลิตภัณฑ์ (Value Added) การนำเสนอ มูลค่าเพิ่มสู่ผู้บริโภคขั้นสุดท้าย ซึ่งผู้บริหารต้องเข้าใจว่าปัจจัยสำคัญที่การบริหารแบบ "Best Practice" มักเกิดจากการต่อต้าน ภายในองค์กรเอง ทั้งสาเหตุจากการสูญเสียผลประโยชน์ของพนักงานจากการเสียต้นทุนในการขนส่ง

     วิภานันท์ เกตุโชติ  รหัส 245  อาทิตย์ (เช้า)

     ถ้าหากข้าพเจ้าเป็นผู้ผลิตหรือนักธุรกิจ จะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานไปใช้ในประโยชน์ต่อกิจการของตนเอง คือ

1. การดำเนินงานของการผลิตต้องผลิตให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้ เริ่มตั้งแต่การจัดเตรียมวัตถุดิบ การผลิต และการนำเสนอสินค้าต่อผู้บริโภคเน้นเรื่องในคุณภาพมาตรฐานและการมีกำลังการผลิตที่เพียงพอกับความต้องการที่แท้จริงของตลาด

2. การทำวิจัยและพัฒนา เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบของสินค้าและการกำหนดราคาเพื่อให้เกิดความเหมาะสมต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคในแต่ละกลุ่ม รวมถึงการคิดค้นผลติภัณฑ์ใหม่ ๆ

3. สินค้าที่นำออกสู่ตลาด ต้องเป็นสินค้าที่มีคุณภาพและมาตรฐานที่ดี และผ่านการควบคุมการผลิตโดยการนำเอาเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยมาใช้ เพื่อการผลิตสินค้าคุณภาพที่ส่งผลถึงความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่จะมีต่อตัวสินค้าและเป็นที่ยอมรับของตลาด

4. บุคลากรต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญต่องานในแต่ละหน้าที่ ที่ตนรับผิดชอบและมีเจ้าหน้าที่เทคนิคที่มีความรู้ ความชำนาญ เพื่อดูแลในส่วนของการซ่อมบำรุงให้เครื่องจักรปฏิบัติงานให้เต็มประสิทธิภาพตลอดเวลา

5. มีแหล่งเงินทุนที่ดี ที่จะสามารถให้ความช่วยเหลือสนับสนุนตลอดเวลา

หากดิฉันเป็นผู้ผลิตและนักธุรกิจ

ความยืดหยุ่นของอุปทานช่วยกำหนดราคาสินค้าได้ ถ้าตัวเราต้องการเพิ่มรายได้ โดยการลดราคาสินค้าลงจะต้อคำนึง ถึงความยืดหยุ่นของอุปสงค์ แล้วเรายังต้องคำนึงถึงความยืดหยุ่นของอุปทานของสินค้าด้วย ถ้าสินค้ามีความยืดหยุ่นสูง เราผู้ผลิต สามารถเพิ่มปริมาณการผลิตได้ทันตามความต้องการ การลดราคาสินค้าจะทำให้รายได้ของผู้ผลิตเพิ่มขึ้น แต่ถ้าอุปทานของสินค้ามีค่าความยืดหยุ่นต่ำ เราผู้ผลิตไม่สามารถเพิ่มปริมาณการผลิตให้ทันกับความต้ิองการได้ การลดราคาสินค้ากลับทำให้รายได้ของผู้ผลิตลดลง และยังนำความรู้มาวางแผนทางด้านการผลิตได้ด้วย สามารถเลือกวิธีการผลิตที่เหมาะสม ต้นทุนการผลิตต่ำได้รับผลกำไรจากการลงทุนมากขึ้น

เรียนเช้าวันอาทิตย์ เวลา 8.30น.-11.00น. รหัส 236 คะ

น.ส.เกศรินทร์ หงษ์ใจ อาทิตย์-เช้า รหัส 310

ถ้าหากข้าพเจ้าเป็นนักธุรกิจ จะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานไปใช้ในประโยชน์ต่อกิจการของตนเอง คือ

1.นำความรู้ในเรื่องความยืดหยุ่นของอุปทานไปช่วยในการวางนโยบายด้านราคาที่เสนอขาย เมื่อราคาสูงจะทำให้ผู้ขายผลิตสินค้าจำนวนมากแต่ถ้าราคาสินค้าลดลงผู้ขายจะลดจำนวนการผลิตลง

2.นำความรู้ในเรื่องความยืดหยุ่นของอุปทานไปช่วยในกรรมวิธีการผลิตจะทำให้ต้นทุนการผลิตลดลงได้มากกว่าคือถ้าสามารถลดต้นทุนการผลิตที่มีกรรมวิธีการผลิตดีแล้วการใช้ต้นทุนเท่าเดิมแต่ผลผลิตได้รับมากขึ้นกำไรก็เพิ่มขึ้นด้วย

3.นำความรู้ในเรื่องความยืดหยุ่นของอุปทานไปช่วยในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้เพอให้สินค้ามีคุณภาพได้มาตรฐาน

ส่งการบ้านค่ะ รหัส 251 เรียนวันอาทิตย์ เวลา 8.30-11.00

ถ้าดิฉันเป็นผู้ผลิต จะนำความรู้ทางด้านอุปทานไปใช้ในการดำเนินธุรกิจ

มีการจัดระบบให้มีความยืดหยุ่น และสามารถปรับตัวรองรับความเปลี่ยแปลงของตลาดได้ จัดสรรทรัพยากรอย่างถูกเวลา และสถานที่เพื่อสร้างคุณค่า ที่เป็นผลิตภัณฑ์และการบริการ ผลได้และผลเสียทางการเงิน ตอบสนองลูกค้าให้ได้มากที่สุด แม่นยำที่สุดมีความสูญเสียน้อยที่สุด ทราบข้อมูลทางธุรกิจเพื่อช่วยในการลดสินค้าคงคลัง การเพิ่มผลผลิต การปรับมุมมองการดำเนินงาน และสามารถกำหนดกลยุทธได้อย่างถูกต้อง เพื่อความเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืน

โฉมณภา สุขยานี รหัส 225 เรียนวันอาทิตย์เช้า

ถ้าข้าพเจ้าเป็นนักธุรกิจ ข้าพเจ้าจะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานมาใช้ในการประกอบธุรกิจของตนเองคือ

1. เราสามารถนำความรู้เรื่องความยืดหยุ่นของอุปทานไปใช้ในการวางนโยบายด้านราคา เช่น ถ้าสินค้าทีเราผลิตออกสู่ตลาดมีความยืดหยุ่นอุปสงค์ มาก เราอยากมีรายได้สูงขึ้นก็จะลดราคาสินค้า เราต้องคำนึงความยืดหยุ่นของอุปทานด้วย ถ้าอุปทานของสินค้ามีความยืดหยุ่นสูง การลดราคาสินค้าจะทำให้รายได้ของเราเพิ่มขึ้น แต่ถ้าอุปทานมีความยืดหยุ่นต่ำ การลดราคาสินค้าจะทำให้เรามีรายได้ลดลง

2. เราอาจนำความรู้เกี่ยวกับความยืดหยุ่นมาใช้ในการวางแผนในด้านการผลิตเพราะถ้าเราทราบความยืดหยุ่นของอุปทาน ปัจจัยการผลิตสินค้า จะทำให้เราสามารถวางแผนในการผลิตได้อย่างถูกต้อง

3. เราสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประทศที่มีต่อการค้าระหว่างประเทศได้

4. เราสามารถนำความรู้เรื่องความยืดหยุ่นของอุปทานในการนำสินค้าส่งออกสู่ตลาด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานตามความต้องการของตลาด และผ่านการควบคุมการผลิตโดยการนำเอาเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยมาใช้ และเป็นที่ยอมรับของตลาดทั่วไป

รหัส 247 เรียน อาทติย์เช้า 8.30-11.00 น.

ถ้าดิฉันเป็นผู้ผลิตหรือนักธุรกิจจะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานไปใช้ประโยชน์ต่อกิจการคือ

ในการกำหนดราคาสินค้าในตลาดปัจจุบันนี้ ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดก็คืออุปสงค์และอุปทานที่ต้องมีทั้งสองคู่กันไป อุปทานหรือปริมาณการเสนอขายก็ส่งผลต่อระดับราคาสินค้าหรือบริการในตลาดให้ขึ้นหรือลงได้ และแน่นอนถ้าไม่มีขายสินค้าหรือบริการก็ไม่สามารถเกิดการซื้อขายได้ เพราะถ้าสินค้าเกิดจากการที่ผู้ซื้อเป็นผู้กำหนดเพียงอย่างเดียวก็จะไม่เกิดแรงจูงใจให้ผู้ผลิตอยากที่จะผลิตหรืออยากที่จะขายได้ ก็ไม่มีการซื้อขายหรือบริการเกิดขึ้นในตลาดได้

น.ส.สุวัชรา บุญวาสนา รหัส 312 เรียนอาทิตย์เช้า

ถ้าข้าพเจ้าเป็นผู้ผลิตหรือนักธุรกิจ ข้าพเจ้าจะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานมาใช้ในการประกอบธุรกิจคือ

จะนำความรู้เรื่องความยืดหยุ่นของอุปทานไปช่วยในการวางนโยบายด้านราคา และใช้ในการวางแผนด้านการผลิต คือ ถ้าอุปทานของสินค้ามีความยืดหยุ่นสูง เราก็สามารถเพิ่มการผลิตสินค้าเพื่อให้ทันต่อความต้องการของลูกค้าได้ เพราะลูกค้าคือปัจจัยสำคัญของธุรกิจของเรา แต่ถ้าอุปทานของสินค้ามีความยืดหยุ่นตำ เราก็จะไม่สามารถเพิ่มปริมาณการผลิตให้ทันต่อความต้องการของลูกค้าได้ จึงทำให้เราสามารถวางแผนล่วงหน้าได้

น.ส. นิจวรรณ ใบ๋สกุล รหัส 230 เรียนวันอาทิตย์เช้า 08.30 - 11.00

ถ้าข้าพเจ้าเป็นนักธุรกิจ ช่วยให้หน่วยธุรกิจสามารถดำเนินกลยุทธทางด้านราคาได้อย่างถูกต้องว่าสินค้าชนิดใดควรตั้งราคาสินค้าไว้สูงหรือต่ำเพียงใด ควรเพิ่มหรือลดราคาสินค้า จึงจะทำให้รายได้รวมกำไรของธุรกิจจะเพิ่มขึ้น

นางสาวจารุวรรณ คารีขันธ์ อาทิตย์-เช้า รหัส 295

ถ้าข้าพเจ้าเป็นผู้ผลิตหรือนักธุรกิจ ข้าพเจ้าจะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานมาใช้ในการประกอบธุรกิจคือ

1.นำความรู้เกี่ยวกับความยืดหยุ่นมาใช้ในการวางแผนในด้านการผลิตเนื่องจากผู้ผลิตต้องซื้อปัจจัยการผลิตเพราะถ้าเราทราบความยืดหยุ่นของอุปทานของปัจจัยการผลิตสินค้า จะช่วยให้วางแผนการผลิตได้ถูกต้องยิ่งขึ้น

2.นำความรู้เกี่ยวกับความยืดหยุ่นมาใช้ในการวางนโยบายด้านราคาเมื่อราคาสูงจะทำให้ผู้ขายผลิตสินค้าจำนวนมากแต่ถ้าราคาสินค้าลดลงผู้ขายจะลดจำนวนการผลิตลง

นางสาวปิยะภรณ์ แก้วไธสง อาทิตย์-เช้า รหัส 306

หากนักศึกษาเป็นผู้ผลิตหรือนักธุรกิจ จะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานไปใช้ประโยชน์ต่อกิจการของตนเองได้อย่างไร

อุปทาน (Supply) หมายถึง ปริมาณสินค้าจำนวนใดจำนวนหนึ่ง ที่ผู้ขายเต็มใจขาย

ถ้าข้าพเจ้าเป็นผู้ผลิตหรือนักธุรกิจ ข้าพเจ้าจะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานมาใช้ในการประกอบธุรกิจ โดยการเตรียมความพร้อมเพื่อจะนำไปใช้ประโยชน์ในการประกอบธุรกิจ อุปทานหรือปริมาณการเสนอขายก็ส่งผลต่อระดับราคาสินค้าหรือบริการในตลาดให้ขึ้นหรือลงได้ เมื่อเราเป็นนักธุรกิจเราต้องมีการวางแผนการทำงานโดยการสำรวจความต้องการของตลาดว่ามีความต้องการอะไรมากที่สุด เพื่อจะได้ตอบสนองความต้องการหรือผลิตสินค้าของเราเพื่อให้ลูกค้าพึงพอใจกับสินค้าของเราที่ทำขึ้นมาเพื่อให้ได้ผลผลิตและได้กำไรมากขื้นและทำให้ลูกค้าพึงพอใจมากที่สุด และมีประสิทธิภาพมากที่สุดเพื่อจะได้ทำให้กิจการของเราไปได้ดี

เรียนวันอาทิตย์-เช้า รหัส 255

หากข้าพเจ้าเป็นผู้ผลิตหรือนักธุรกิจ  จะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานมาใช้ดังนี้

1.นำอุปทานมาใช้ในการคำนวณหาปริมาณการผลิตเพื่อให้สอดคล้องกับอุปสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค

2.สามารถเพิ่มหรือลดต้นทุนในการผลิตโดยการคำนวณหาค่าความยืดหยุ่น   หากอุปสงค์และอุปทานมีการเพิ่มหรือลดตามภาวะเศษฐกิจ

3.นำอุปทานมาช่วยให้การตั้งราคา ณ ระดับราคาต่างๆ เพื่อให้ได้ผลตอบแทนดีที่สุดต่อธุรกิจ

4.ใช้ในการพยากรณ์ราคาสินค้าในอนาตคเพื่อสำรองวัตถุดิบในการผลิตหากมีการเปลี่ยนแปลงที่สูงขึ้น

น.ส.ภัทรมล รักไมตรี อาทิตย์-เช้า รหัส 304

ถ้าหากดิฉันเป็นนักธุรกิจ   จะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานไปใช้ในประโยชน์ต่อกิจการของตนเอง คือ

     1.นำความรู้ที่ได้ไปใช้ในเรื่องความยืดหยุ่นของอุปทาน  ช่วยวิเคราะห์การกำหนดราคาขายของสินค้าที่จำหน่ายอยู่

     2.นำความรู้ที่ได้ไปใช้ในเรื่องการวางแผนในด้านการผลิตเพราะจะทราบความยืดหยุ่นของอุปทาน  ปัจจัยการผลิตสินค้า  จะทำให้สามารถวางแผนในการผลิตได้อย่างถูกต้อง

     3.นำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ  เช่น  นโยบายภาษี  นโยบายการแก้ปัญหาดุลการชำระเงินขาดดุล

นางสาวชลธิชา พันธุ์เพ็ง อาทิตย์บ่าย รหัส 296

1.การดำเนินงานของการผลิตต้องผลิตให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้ เริ่มตั้งแต่การจัดเตรียมวัตถุดิบ การผลิต และการนำเสนอสินค้าต่อผู้บริโภคเน้นเรื่องในคุณภาพมาตรฐานและการมีกำลังการผลิตที่เพียงพอกับความต้องการที่แท้จริงของตลาด

2.สามารถเพิ่มหรือลดต้นทุนในการผลิตโดยการคำนวณหาค่าความยืดหยุ่น หากอุปสงค์และอุปทานมีการเพิ่มหรือลดตามภาวะเศษฐกิจ

3.นำอุปทานมาช่วยให้การตั้งราคา ณ ระดับราคาต่างๆ เพื่อให้ได้ผลตอบแทนดีที่สุดต่อธุรกิจ

รหัส  227  เรียน วันอาทิตย์ (เช้า)

          โดยมีการสำรวจตลาดก่อน การดำเนินงานทางด้านการผลิตสินค้านั้น เพื่อให้ทราบถึงความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายและผลิตสินค้าตรงตามต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ถ้าสินค้านั้นมีการผลิตออกมามาก และมีการแข่งขันทางการตลาดสูง ก็ไม่ควรที่จะผลิตสินค้านั้นออกมา เพราะ จะทำให้เสี่ยงต่อการลงทุน

 

รหัส  294  เรียน  วันอาทิตย์ (เช้า)

                ในการผลิตสินค้า ถ้าเรารู้ว่าตลาดมีความต้องการมากน้อยเพียงใด ถ้าตลาดมีความต้องการมาก แต่มีผู้ผลิตน้อย เราก็ควรจะผลิตสินค้านั้น เพราะสินค้ามีน้อย แต่คนต้องการมาก จะทำให้ราคาสินค้าสูงขึ้น

ถ้าดิฉันเป็นนักธุรกิจ

 1.ฉันจะนำการคำนวนของอุปทานมาใช้ให้สอดคล้องกับผู้บริโภค

2. ฉันจะสำรวจความต้องการของตลาดเพื่อนำมาใช้กับอุปทาน

3. นำการคำนวณแบบอุปทานมาใช้เพื่อให้เกิดกำไรที่สูงสุด

 

เรียนเช้าวันอาทิตย์  วิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค รหัส 226

ถ้าดิฉันเป็นนักธุรกิจ

 1.ฉันจะนำการคำนวนของอุปทานมาใช้ให้สอดคล้องกับผู้บริโภค

2. ฉันจะสำรวจความต้องการของตลาดเพื่อนำมาใช้กับอุปทาน

3. นำการคำนวณแบบอุปทานมาใช้เพื่อให้เกิดกำไรที่สูงสุด

 

โชติมณี  ขันธิคุณ อาทิตย์เช้า 226

1.ใช้ในการพยากรณ์ราคาสินค้าในอนาตคเพื่อสำรองวัตถุดิบในการผลิตหากมีการเปลี่ยนแปลงที่สูงขึ้น

2.นำความรู้ในเรื่องความยืดหยุ่นของอุปทานไปช่วยในกรรมวิธีการผลิตจะทำให้ต้นทุนการผลิตลดลงได้มากกว่าคือถ้าสามารถลดต้นทุนการผลิตที่มีกรรมวิธีการผลิตดีแล้วการใช้ต้นทุนเท่าเดิมแต่ผลผลิตได้รับมากขึ้นกำไรก็เพิ่มขึ้นด้วย

3.นำอุปทานมาใช้ในการดำเนินธุรกิจให้เกิดผลเสียต่อธุรกิจน้อยที่สุด

รหัส 240 เรียน วันอาทิตย์ตอนเช้าค่ะ

ถ้าดิฉันเป็นนักธุรกิจจะนำความรู้เรื่องอุปทานไปใช้ในเรื่องของการกำหนดราคาของสินค้า และการสำรวจความต้องการของลูกค้าเพื่อให้ธุรกิจของเราสามารถผลิตสินค้าได้ตรงตามความต้องการของลูกค้าทั้งด้านราคาสินค้าและตัวผลิตภัณฑ์

ภัคนันท์ โอสถ รหัส 234 เรียน( อาทิตย์ เช้า )

ถ้าข้าพเจ้าเป็นนักธุรกิจ จะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานไปใช้เพื่อให้ธุรกิจประสบผลสำเร็จคือ

1. สามารถเพิ่มหรือลดต้นทุนในการผลิตโดยคำนวณหาค่าความยืดหยุ่น

2. นำอุปทานมาช่วยในเรื่องราคาเพื่อคำนวณหาผลตอบแทนที่ดีที่สุด

3. สามารถวิเคราะถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและแก้ไขได้

จิราพร กลมมล รหัส 224 เรียนอาทิตย์เช้า

ถ้าข้าพเจ้าเป็นนักธุรกิจ จะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานไปใช้เพื่อให้ธุรกิจประสบผลสำเร็จคือ

1. นำอุปทานมาใช้ในการคำนวณการผลิตและหาปริมาณสินค้าตามความต้องการของลูกค้า

2. นำอุปทานมาสำรวจความต้องการทางตลาดได้

3. นำอุปทานมาคำนวนด้านราคาเพื่อหาผลตอบแทนที่ดีที่สุด

สีดา จันทรา รหัส 250

เรียนวันอาทิตย์เช้า

ถ้าข้าพเจ้าเป็นนักธุรกิจ

1. จะนำอุปทานมาพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้ากับปริมาณการเสนอขายสินค้า

2. สามารถนำอุปทานมาวิเคราะห์ราคาและปรับเปลี่ยนได้

3. นำมากำหนดราคาการขายของตลาดโดยใช้อุปทาน

รหัส 229 เรียน อาทิตย์เช้า

ถ้าดิฉันมีธุรกิจเป็นของตัวเอง ดิฉันจะนำ ความรู้เกี่ยวกับอุปทาน มาใช้ในธุกิจ คือ

1.การสำรวจราคาในท้องตลาด ณ ราคาปัจจุบัน

2.การคาดคะเนความน่าจะเป็นของสินค้าในท้องตลาดเกี่ยวกับ สินค้า และราคา

3.ความหยื่ดหยุ่นของราคาวัตถุดิบที่นำมาใช้ในการผลิตสินค้า

เรียน อาจารย์ท่เคารพ

วันอาทิตย์ที่ 2 พ.ค 53

ขอลาหยุด 1 วันนะคะเนื่องจากมาเผ่าศพญาติที่ต่างจังหวัด กลับไม่ทันคะ

ขอบคุณค่ะ

รหัส 305 เรียนวันอาทิตย์ (เช้า)

หากดิฉันเป็นผู้ผลิตหรือนักธุรกิจ จะนำความรู้เกี่ยวกับอุปทานไปใช้ประโยชน์ต่อกิจการดังนี้

1.จะนำความรู้เกี่ยวกับเรื่องอุปทานมาใช้ในการกำหนราคาเมื่อราคาสูงขึ้นจะทำให้ผู้ขายสามารถผลิตสินค้าจำนวนมากแต่ถ้าราคาสินค้าลดลงผู้ขายจะลดจำนวนการผลิตลง

2.ใช้ในการวางแผนด้านการผลิต คือ ถ้าอุปทานของสินค้ามีความยืดหยุ่นสูง เราก็สามารถเพิ่มการผลิตสินค้าเพื่อให้ทันต่อความต้องการของลูกค้าได้

สวัสดีค่ะ

ขณะนี้เราปิดโหวต (อุ้ย!ไม่ใช่)   ปิดรับการส่งงานครั้งที่ 1 และ 2 แล้วน่ะค้ะ  ตอนนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมผลอยู่ค่ะ  จะแจ้งผลให้ทราบต่อไป...........

จบข่าว

สรุปจำนวนผู้ส่งงาน

คำถามครั้งที่ 1 มีผู้ส่งงาน 23 คน  ดังเลขท้าย 3 ตัวที่ออก ดังนี้

" 224  225  226  227  229  230  234  236  240  245  247  250  251  255  294  295  296 304  305  306  310  312   136 "

คำถามครั้งที่ 2 มีผู้ส่งงาน 22 คน  ดังเลขท้าย 3 ตัวที่ออก ดังนี้

" 224  225  226  227  229  230  234  236  240  245  247  250  251  255  294    296 304  305  306  310  312   136 "

นักศึกษาสามารถตรวจผลการส่งงานได้ตั้งแต่บัดนี้  สำหรับงวด(งาน)ครั้งหน้า  จะประกาศให้ทราบโดยทั่วกันเร็วๆนี้

..............................จบข่าว..................................................

ขอบคุณอาจาย์ค่ะ ที่ประกาศงานที่ส่ง จะได้รู้ว่างานชิ้นไหนยังไม่ได้ส่งค่ะ

อาจาย์ค่ะ แบบฝึกหัดบทที่ 4 เรื่อง กำหนดราคาดุลยภาพ ที่อาจารย์ save ให้ drive ต้องทำส่งด้วยใช่ไหมค่ะ

แบบฝึกหัดบทที่ 4 (Sheet) ไม่ต้องทำส่งค่ะ  ให้ลองทำดูแล้วจะเฉลยในห้องค่ะ

โจทย์ น้องฝน ร้านขายเฟอร์นิเจอร์มีรายได้ต่อวัน 5,000 บาท ร้านเฟอร์นิเจอร์ได้มีการซื้อตู้เสื้อผ้าจำนวน 5 ตู้ ถ้าร้านเฟอร์นิเจอร์มีรายได้ต่อวันเพิ่ม 7,000 บาท ร้านเฟอร์นิเจอร์ซื้อตู้เพิ่มขึ้นเป็น 7 ตู้ จงหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

สูตร     EDI     =       Q1-Q2 x Y1+Y2

                              Q1+Q2   Y1-Y2

                    =       5-7  x  5,000+7,000

                             5+7 x  5,000-7,000

                    =       -2  x  12,000

                             12  x  -2,000

                    =      -24,000

                            - 1,988

                    =   12.07

คำตอบ : ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ เท่ากับ 12.07  เป็นสินค้าปกติ

 

งานชื้นที่ 2

นางสาวน้ำฝน มีขวัญ รหัส 297

ถ้าดิฉันเป็นนักธุรกิจ

1. การนำเอาอุปทานมาช่วยในเรื่องของการตั้งราคา ของสินค้าระดับต่างๆ เพื่อให้เกิดผลกำไรสูงสุด และลูกค้าพึงพอใจต่อสินค้าที่เราจำหน่าย

2.การนำเอาอุปทานมาช่วยในเรื่องการคำนวณหาปริมาณการผลิต เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของตลาดไม่มากเกินไปหรือน้อยเกินไป

ลำดับที่76-77

ชิ้นงานของนางสาวน้ำฝน มีขวัญ รหัส 297

ไม่ทราบว่าอาจารย์ยังจะรับงานอยู่หรือเปล่า

พอดีว่าเดือนเมษายน นู๋ลาทั้งเดือน

เลยไม่ได้ทำงานส่งอาจารย์ค่ะ

จึงขอส่งย้อนหลังทั้ง 2 ชิ้นค่ะ

To คุณน้ำฝน

ขออนุญาตไม่นับส่งย้อนหลังน่ะค้ะ  ยังไงก็รอส่งครั้งต่อๆไปให้ครบทุกครั้ง และก็ตามส่งแบบฝึกหัด(บนกระดาษ) ให้ครบแล้วกันน่ะค่ะ  (^_^)

อาจารย์ค่ะงานชิ้นที่ 2 หนูส่งงานนะค่ะ แต่ผลโหวดส่งงานไม่เห็นมีรหัสหนูเลย รหัส 295 เรียนอาทิตย์เช้า ส่งตั้งแต่วันที่ 27 เมษา แล้วนะค่ะ

อาจารย์ค่ะงานชิ้นที่ 2 หนูส่งงานแล้วนะค่ะ แต่ผลโหวดส่งงานไม่เห็นมีรหัสหนูเลย ส่งตั้งแต่วันที่ 27 เมษาแล้วนะคะ

รหัส 295 เรียนอาทิตย์ เช้า

ขอประกาศรายชื่อผู้ส่งงานเพิ่มเติมค่ะ

ผู้โชคดีได้แก่..................คุณจารุวรรณ 295 .............

ขออภัยที่ตกหล่นค่ะ เช็คให้เรียบร้อยแล้วค่ะ

(^_^)

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท