Mid project evaluation ..


Pediatric pain management in urban and rural Thailand 2007-2011..Apr 28, 2010 at Srinagarind hospital, Thailand

การจัดประชุมการประเมินผลของโครงการวิจัยความความปวดในเด็กอีสานช่วงครึ่งทาง :  Mid Project evaluation and Empowerment of Nurse Facilitator

April 28, 2010  at Srinagarindranusorn building, Room 2, 3 floor, Srinagarind Hospital, Srinagarind Hospital and Faculty of Medicine. Khon Kaen University.

Dsc05979

 

ท่าน ศ. นพ. ยศอนันต์ ยศไพบูลย์ รองผู้อำนวยการ รพ. ศรีนครินทร์กล่าวเปิดงาน

Dsc05978

กล่าวรายงาน และผลการดำเนินโครงการวิจัยความปวดในเด็ก โดยทัวหน้าโครงการทีมไทย ท่าน ศ. นพ. สมบูรณ์ เทียนทอง

Dsc059881

Dsc059921

09.10 - 09.30     Concept of PARIHS model and 3 years of Pediatrics Pain Research project โดยท่านอาจารย์สมบูรณ์ งานวิจัยใช้กรอบ PARIS เป็น Action research 2007-2011 อีก 13 เดือนจะสิ้นสุดโครงการ

 Dsc01261Dsc01264                                          

09.30 – 09.45     Communication Diaries and Bi-monthly report     Kesanee Boonyawatanangkool..key success ที่จะทำให้ระบบการจัดการความปวดในเด็กมีประสิทธิภาพ ส่วนสำคัญอีกส่วนมาจาก Nurse facilitators ซึ่งมีจำนวน 22 คนที่เข้าร่วมในโครงการิจัย ตอนนี้มีเพิ่มขึ้น เข้า WS 35 คน

Dsc01270

Dsc01272

Dsc05998

Dsc01281

09.45 – 11.15     Context data collections according to PARIHS   

Darunee Jongudomkan

Pulsuk   Siripul                                                                                                                                        Kesanee Boonyawatanangkool

Dsc01330

11.15 – 11.30     Q&A

Dsc013081

11.30 – 12.30     Lunch

Dsc01320

12.30 – 13.30     Visit Srinagarind Pediatric wards NF: Sucheela and Sudarat

Dsc06001

Dsc012195

13.30 – 15.40     Group discussion:                                    Pulsuk/ NF Srinagarind

Experiences sharing of NF (Coffee break provided)

Dsc06005

ดีใจศรีนครินทร์เรามี sucrose ใช้ลดความปวดในเด็กทารกที่ได้รับหัตการปวดเฉียบพลัน เช่น เจาะเลือด ตอนนี้เรามีพาราเหน็บก้นในเด็กที่รับประทานยายาก หรืองดน้ำงดอาหาร ฯลฯ

Dsc06007

Dsc06008

15.40 – 16.00     Take away knowledge: evidences of Oral Sucrose and paracetamol suppo;   Wimonrat Sriraj

   Dsc060112                                                                                

16.00  Closing                                                Somboon Thienthongและท่านอาจารย์ Allen กล่าวถึงความประทับใจ เพราะทุกครั้งที่มาติดตามความก้าวหน้าของโครงการวิจัย

 

Dsc013510

ภาพที่ฉันมอง ในฐานะผู้ร่วมวิจัย และผู้ปฏิบัติงานในคลินิก (  OBSERVED CHANGES JAN 2009 – JAN 2010) การจัดการความปวดในเด็กทั้ง 7 โรงพยาบาลเครือข่าย มีอะไรเกิดขึ้นที่เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีที่บ่งบอกถึงบุคลากรทีมสุขภาพ สนใจและให้ความสำคัญกับการจัดการความปวดมากขึ้น ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารเพิ่มขึ้น มีแนวปฏิบัติ มีนโยบายกำกับ มีการจัด workshop พัฒนาศักยภาพทั้ง Pharm, non-pharm pain management,การนำ evidenced มาใช้ เช่น 24% sucrose ลด pain ใน newborn และผู้ป่วยเด็กได้รับการจัดการความปวดครอบคลุมมากขึ้น..แต่การพัฒนาต่อเนื่อง ความยั่งยืนเป็นสิ่งสำคัญ เพราะการจัดการความปวดไม่ใช่แฟชั่น จริงไหมคะ

 

 

Kesanee..Co-investigator, Pediatric pain management in urban and rural Thailand..May 1, 2010..12:02..pm

 

 ลิงค์ http://www.news.kku.ac.th/kkunews/content/view/4598/59/ KKU news..

                      

หมายเลขบันทึก: 355288เขียนเมื่อ 1 พฤษภาคม 2010 12:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 22:50 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (6)
P
มาตายี ขอบคุณหลาย มีความสุขวันหยุดนะคะ

แวะมาทักทายค่ะ ยังระลึกถึงอยู่ค่ะ

P
ขอบคุณทั้งคุณแม่คุณลูกครับผม..สบายดีค่ะ คิดถึงเช่นกันครับผม
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท