สาเหตุ แผ่นดินไหวใหญ่ 12-17 มิ.ย., 8 ก.ค, 9 และ 21 กันยายน 2553


เตรียมรับมือ แผ่นดินไหว 9 และ 21 กันยายน 2553 (2010)

จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 12 มิถุนายน คศ 2010

ระดับความรุนแรง:    มาก

คำเตือน บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการ ศึกษาปฏิกริยาของพระอาทิตย์ และผลกระทบของปฏิกริยาพระอาทิตย์ทึ่อาจจะมีต่อโลก จุดประสงค์หลักคือเพื่อ ให้ผู้อ่านได้ตระหนักถีงปรากฏการณ์ธรรมชาตินอกโลกที่มีผลต่อโลก และมีความเชื่อมโยงกับตำแหน่งของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาล

การทำนายปฏิกริยาพระอาทิตย์ยังอยู่ในช่วงของการศีกษาวิจัย แต่ละกรณีศึกษาจะมึความแตกต่างกันและจะมีผลกระทบต่อโลกที่แตกต่างกัน การศีกษาผลกระทบของปฏิกริยาพระอาทิตย์ทึ่อาจจะมีต่อโลกนั้นยังต้องมีการเก็บ ข้อมูลทางสถิติอีกมากเพื่อใช้ในการวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคตให้แม่นยำมาก ขึ้น

ในกรณีวันที่ 12 มิถุนายน เป็นกรณีศีกษาใหม่ซึ่งปฏิกริยาพระอาทิตย์จะเกิดในแนวตั้งฉากกับโลกเป็นครั้ง แรกของปีนี้ ดังนั้นขอให้ผู้อ่านที่สนใจได้ทำการศึกษาไปพร้อมๆ กัน

ปรากฏการณ์ครั้งนี้จะเริ่มต้นประมาณวันที่ 8 มิถุนายน คศ 2010 ซี่งเป็นวันที่มีดาวเคราะห์เรียงตัวกันระหว่าง ดาว ศุกร์ พระอาทิตย์ และ ดาวพฤหัส ซี่งคาดว่าจะเป็นตัวจุดฉนวนปฏิกริยาพระอาทิตย์เป็นหลัก และ คาดว่าเราจะได้เห็นเปลวพลังงานขนาดใหญ่ปรากฏขี้นที่พระอาทิตย์ และอาจจะเหนี่ยวนำให้เกิดแผ่นดินไหวขี้นประมาณ 6.5 ริตเตอร์ (ซี่งเกิดตามที่คาดการณ์ไว้แต่อยู่ในระดับ 6 ริตเตอร์) 

แนวเรียงตัวในวันที่ 8 มิถุนายน คศ 2010 เวลาประมาณ 18 UTC

ในวันที่ 12 มิถุนายน คศ 2010 จะมีปรากฏการณ์ดาวเคราะห์เรียงตัวกันครั้งใหญ่อีกครั้งหนี่ง เป็นการเรียงตัวกันระหว่าง โลก ดาวพฤหัส และ ดาวยูเรนัส นอกจากนั้น แล้ว ยังมีการเรียงตัวกันระหว่าง โลก พระจันทร์ และ ดวงอาทิตย์ ในเวลาประมาณ 11:30 UTC.

 

การเรียงตัวระหว่าง โลก ดวงจันทร์ และ ดวงอาทิตย์ ในเวลาประมาณ 11:30 UTC ของวันที่ 12 มิถุนายน คศ 2010

ซี่งเรารายงานปรากฏการณ์ครั้งนี้มากกว่า 4 สัปดาห์ก่อนเกิดเหตุเพราะเห็นว่าเหตุการณ์ครั้งนี้จะมีความสำคัญมากอันหนี่ง เพราะปฏิกริยาพระอาทิตย์มีแนวโน้มจะสูงขี้นอย่างมากตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม โดยดูจากจำนวนจุดดับบนดวงอาทิตย์และคาดว่าจะสูงสุดในวันที่ 12 มิถุนายน ก่อนที่จะลดลงอีกครั้ง ซี่งเป็นการอ้างอิงจากการคำนวณแรงกระทำจากดาวเคราะห์ที่พี้นผิวของดวงอาทิตย์ซี่งเคยได้นำเสนอก่อนหน้านี้ โดยปฏิกริยาครั้งนี้จะสูงสุดในเวลาประมาณ 23:00 UTC ซี่งคาดว่าจะทำให้พระอาทิตย์ปลดปล่อยพลังงานขนาดใหญ่ออกมาและส่งผลกระทบต่อโลก เพิ่มเติม แต่เนื่องจากโลกอยู่ในตำแหน่งตั้งฉากกับการเรียงตัวหลักและยังไม่มีกรณี ศีกษาแบบนี้มากนักจากสถิติในอดีตของปีนี้ อาจจะทำให้การคาดการณ์ผลกระทบที่จะเกิดกับโลกผิดพลาดได้ แม้ว่าพระอาทิตย์จะมีปฏิกริยาสูงในช่วงนั้นก็ตาม ซี่งขอให้ผู้อ่านติดตามสถานการณ์และเรียนรู้กรณีศีกษาไปด้วยกันกับผู้จัดทำ  

ตำแหน่งของดาวเคราะห์ในวันที่ 12 มิถุนายน คศ 2010

ประมาณการณ์แรงกระทำจากดาวเคราะห์ที่พี้นผิวของดวงอาทิตย์ ในเดือน มิถุนายน คศ 2010 ซึ่งสูงสุดในวันที่ 12 มิถุนายน เวลาประมาณ 23:00 UTC

ผลกระทบต่อพระอาทิตย์

ทางผู้จัดทำคาดว่าเราจะเริ่มเห็นเปลวพลังงานขนาดใหญ่ที่ดวงอาทิตย์ในวัน ที่ 8-11 มิถุนายน รวมถีงจำนวนจุดดับบนดวงอาทิตย์จะเพิ่มตัวสูงขี้น เปลวพลังงานนี้จะหลุดออกมาในวันที่ 12 มิถุนายน และจะทำให้เกิดแผ่นดินไหวบนโลกตามมาในวันนั้น และส่งผลกระทบต่อเนื่องอีกสองวันหลังจากนั้น

ในวันที่ 17 พฤษภาคม มีรายงานจาก spaceweather.com ว่าเกิดเปลวพลังงานขนาดใหญ่ขี้นในซีกเหนือของพระอาทิตย์ขนาดยาวกว่า หนี่งแสนกิโลเมตร ซี่งยังไม่ทราบว่าเหตุการณ์นี้จะเชื่อมโยงถึงสิ่งที่จะเกิดขี้นในอีกยี่สิบกว่าวันข้างหน้าหรือไม่  แต่ทางเวปคาดว่าเปลวนี้อาจจะส่งผลกระทบต่อโลกเร็วกว่านั้นคือในวันที่ 22-23 พฤษภาคม ซี่งคงต้องติดตามกันต่อไป - update 28 พฤษภาคม 2010 เปลวนี้ได้ออกมาแล้วและส่งผลกระทบในวันที่ 27 พฤษภาคม ตามการวิเคราะห์ใน http://www.truth4thai.org/planetaryalignment/May2310 

ในวันที่ 31 พฤษภาคม ได้เกิด filament (แถบสนามแม่เหล็กขนาดใหญ่ทางซีกเหนือของดวงอาทิตย์) คล้ายกับที่เกิดในวันที่ 17 พฤษภาคม ที่ผ่านมา ถ้าศีกษากรณีที่เกิดในวันที่ 17 นั้นจะพบว่ามันใช้เวลาประมาณ 8 วันในการเคลื่อนตัวไปยังอีกฝั่งหนี่งก่อนจะปล่อยพลังงานออกไป ถ้าเหตุการณ์ครั้งนี้เหมือนกับวันที่ 17 filament จะเป็นจุดฉนวนแผ่นดินไหวที่จะเกิดขี้นประมาณวันที่ 11 มิถุนายนที่จะถึงนี้ ขอให้ผู้ที่สนใจจับตาดูสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง

30 พฤษภาคม 2010

31 พฤษภาคม 2010

1 มิถุนายน 2010

ในวันที่ 4 มิถุนายน 2010 เราได้เห็นแถบสนามแม่เหล็กขนาดใหญ่ทางซีกเหนือของพระอาทิตย์อย่างชัดเจน และมีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมาในปีนี้ แถบสนามแม่เหล็กนี้จะมีอิทธิพลต่อปรากฏการณ์บนโลกในอีกไม่กี่วันข้างหน้า ซึ่งเมื่อแถบสนามแม่เหล็กนี้หลุดออกมาเมื่อไหร่ เราก็จะเห็นผลกระทบตรงต่อโลกครั้งใหญ่อีกครั้งในอีกประมาณ 1-2 วันหลังจากที่หลุดออกมาเท่าที่สำรวจทางสถิติมาในปีนี้

ในวันที่ 5 มิถุนายน 2010 เกิดการเรียงตัวระหว่าง coronal hole กับโลกซี่งจะส่งผลต่อโลกในรูปแบบของความแปรปรวนของลมสุริยะในวันที่ 7-8 มิถุนายน ซี่งใกล้เคียงกับการเรียงตัวของดาวเคราะห์ระหว่าง ดาววีนัส ดาวพฤหัส และ ดวงอาทิตย์

นอกจากนั้น NOAA ได้พยากรณ์ปฏิกิริยาพระอาทิตย์ว่าจะเพิ่มสูงขี้นในวันที่ 10-12 มิถุนายน ซี่งใกล้เคียงกับทางเวปของเราได้ทำนายไว้ถึงสี่สัปดาห์ล่วงหน้า www.sflorg.com/spaceweather/#12

ในเวลา 15:07 UTC พระอาทิตย์ได้ปลดปล่อย เปลวพลังงาน Coronal Mass Ejection (CME) ขนาดใหญ่ออกมาทางซีกใต้ของดวงอาทิตย์ซี่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของปรากฏการณ์ดาวเรียงตัวในครั้งนี้ ซี่งคาดว่าพลังงานนี้จะส่งผลกระทบต่อโลกในวันที่ 7-8 มิถุนายน 2010 แต่เนื่องจากทิศทางของ CME ไม่ตรงกับโลกจึงไม่ส่งผลกระทบมากนัก ซี่งผลกระทบอาจจะอยู่ในรูปแบบของแผ่นดินไหวประมาณ 6 ริตเตอร์ และสภาพอากาศแปรปรวน แต่เหตุการณ์ยังไม่จบเพียงแค่นี้แต่มีครั้งใหญ่อีกที่ประมาณวันที่ 12 มิถุนายน ซี่งคาดว่าจะเกี่ยวข้องกับแถบสนามแม่เหล็กขนาดใหญ่ทางทิศเหนือของดวงอาทิตย์

ในวันที่ 7 มิถุนายน 2010 เปลวพลังงานพระอาทิตย์ทางซีกเหนือเริ่มลอยสูงจากพี้นผิว และ เสี่ยงต่อการเกิด Hyder flares ในอีกไม่กี่วันข้างหน้าขอให้ทุกท่านที่สนใจ จับตาดูสถานการณ์อย่างใกล้ชิด

ในวันที่ 8 มิถุนายน ดาวเทียม SOHO ได้หยุดให้สัญญาณภาพ EIT 304 ในเวลา 19:19 UTC หลังจากที่มีเปลวพลังงานบางส่วนหลุดออกมาทางซีกตะวันออกเฉียงเหนือของดวงอาทิตย์ นอกจากนั้นสัญญาณภาพ EIT 195 ในเวลา 10:48 UTC ได้เกิดแสงสว่างผิดปกติ ซี่งเหตุการณ์เหล่านี้มักจะเกิดขี้นเมื่อมีคนจำนวนมากพยายามสังเกตุปรากฏการณ์ และพยายามจะคาดการณ์สถานการณ์ของพระอาทิตย์

ในวันที่ 9 มิถุนายน ดาวเทียม SOHO กลับมาส่งสัญญาณภาพเช่นเดิมและทำให้เราเห็นปฏิกริยาที่พระอาทิตย์ทางฝั่งตะวันออกมากขี้น ซี่งจะเห็นได้ว่า filament เตรียมจะหลุดจากพระอาทิตย์ นอกจากนั้นจุุดดับบนดวงอาทิตย์เบอร์ 1078 มีขนาดใหญ่ขี้น ตามรายงานของ Spaceweather.com 

ในช่วงวันเดียวกันยังมีอุกกาบาตขนาดใหญ่แทรกซีมเข้ามาใน ระบบสุริยะจักรวาล

ในวันที่ 11 มิถุนายน พบจำนวนจุดดับบนดวงอาทิตย์เบอร์ 1078 มีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ทางซีกตะวันออกเฉียงใต้ของดวงอาทิตย์ ซี่งทาง Spaceweather.com คาดการณ์ว่าจะส่งพลังงาน CME ระดับ M-Class ซี่งเป็นพลังงานระดับเกือบสูงสุดในเร็วๆนี้ ซึ่งต้องคอยดูว่าจะระเบิดออกมาเมื่อไหร่

นอกจากนั้นยังมีรายงานจาก spaceweather.com เกี่ยวกับ filament ที่ก่อตัวขึ้นทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ซี่งทางเวปของเราได้คาดการณ์ไว้เช่นเดียวกันก่อนหน้านี้ 

ผลกระทบต่อโลก

ปรากฏการณ์ครั้งนี้จะส่งผลกระทบต่อโลกโดยตรงในรูปแบบของสภาพอากาศแปรปรวน แผ่นดินไหว หรือ ภูเขาไฟระเบิด ซึ่งตำแหน่งที่จะเกิดนั้นขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่พระอาทิตย์ปลดปล่อยพลังงานออกมา ซี่งเป็นการยากในตอนนี้ที่จะบอกตำแหน่งอย่างเที่ยงตรงเพราะโลกหมุนรอบตัวเองอยู่ตลอดเวลา เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่พระอาทิตย์ขี้นจะส่งผลกระทบต่อทุกโซนบนโลกในแนวเดียวกันหรือตั้งฉากกับพระอาทิตย์ ถ้าคาดการณ์พื้นที่ผิดพลาดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

ในวันที่ 8 มิถุนายนนั้นจะมีพี้นที่เสี่ยงบริเวณ อเมริกาฝั่งตะวันตก ทวีปแอฟริกา และ ประเทศญี่ปุ่น ซี่งไม่ทราบตำแหน่งที่แน่ชัด

ส่วนในวันที่ 12 มิถุนายน เวลาประมาณ 11:30 UTC พี่นที่ๆ ได้รับผลกระทบโซนแรกได้แก่ บริเวณเอเซียตะวันออกเฉียงเหนือ ซี่งอาจะเป็นหมู่เกาะสุมาตรา ขนาดของแผ่นดินไหวจะอยู่ระหว่าง 7-8.5 ริตเตอร์ ซี่งอาจจะทำให้เกิดสึนามิตามมาก็เป็นได้ โซนที่สองได้แก่ประเทศในยุโรปแถวอิตาลี สเปน หรือ กรีก ส่วนโซนที่สามได้แก่ประเทศในอ่าวเม็คซิโก หรือทางฝั่งตะวันตกของประเทศอเมริกา

พี้นที่ๆได้รับผลกระทบในเวลาประมาณ 11:30 UTC

ในอีก 11-12 ชั่วโมงต่อมาจะเกิดแผ่นดินไหวอีกครั้ง ซี่งเป็นช่วงที่แรงกระทำสูงสุดซี่งพี้นที่ๆได้รับผลกระทบก็จะเป็นโซนเดิมที่ กล่าวข้างต้น ซี่งเหตุการณ์ทั้งสองครั้งนี้อาจจะมีขนาดใหญ่พอๆกันก็เป็นได้

เพิ่มเติมการคาดการณ์ภัยพิบัติในช่วงบนโลกวันที่ 12 - 17 มิถุนายน 2010 

เนื่องจาก filament และ จุดดับ ที่เกิดขี้นที่พระอาทิตย์ในช่วงวันที่ 10 มิถุนายน 2010 อยู่ในทิศทางเข้าหาดาวพฤหัส ทางเวปของเราคาดว่าปฏิกริยาพลังงานจะสูงสุดในทิศทางนั้นเช่นกัน ซี่งเป็นทิศในแนวตั้งฉากกับโลก จีงมีความเป็นไปได้ว่าพลังงานนี้จะไม่ส่งผลกระทบรุนแรงเท่ากับในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา หรือเท่ากับที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ดังนั้นเรื่องของผลกระทบต่อโลกนั้นก็จะปรับระดับความรุนแรงลง ซึ่งถ้าเกิดเป็นแผ่นดินไหวบนโลกจะมีขนาดระหว่าง 6.5-8 ริตเตอร์แทน ส่วนช่วงเวลาที่เกิดเหตุนั้น คาดว่าจะเกิดหนี่งครั้งในวันที่ 12-13 มิถุนายน และหลังจากนั้น จะส่งผลกระทบต่อโลกอีกทีประมาณวันที่ 15 มิถุนายน ซี่งพี้นที่ๆได้รับผลกระทบคาดว่าจะใกล้เคียงกับที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า

ลำดับเหตุการณ์ภัยธรรมชาติที่เกิดขี้นในช่วงดาวเคราะห์เรียงตัว

ในวันที่ 5 มิถุนายน เกิดพายุทอร์นาโดพัดถล่มทางภาคตะวันตกด้านกลางของสหัรัฐอเมริกา http://news.bbc.co.uk/2/hi/world/us_and_canada/10250215.stm ซี่งคาดว่าเกิดจากปฏิกริยาพระอาทิตย์ในวันที่ 2 มิถุนายนที่ผ่านมา

วันที่ 7 มิถุนายน เกิดภูเขาไฟระเบิดที่ประเทศรัสเซีย http://en.rian.ru/natural/20100607/159327856.html

และมีรายงานข่าวภูเขาไฟระเบิดอย่างต่อเนื่อง สามครั้งต่อชั่วโมงที่ประเทศเอควาดอร์ http://momento24.com/en/2010/06/06/ecuador-tungurahua-volcano-continues-with-three-explosions-per-hour/

 

และยังเกิดอุบัติเหตุทางการบินจำนวนมากในช่วงวันที่ 5-7 มิถุนายน ที่ผ่านมา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/index2.php

วันที่ 8 มิถุนายน มีรายงานข่าวว่าปฏิกริยาภูเขาไฟที่ฟิลิปปินส์มีปฏิกริยาสูงขี้น www.philstar.com/Article.aspx 

วันที่ 9 มิถุนายน ทางรัฐบาลฟิลิปปินส์ได้เตือนชาวบ้านในหมู่บ้านประมาณ 6 พันคน เตรียมการอพยพออกจากพี้นที่เสี่ยงต่อภูเขาไฟระเบิด newsinfo.inquirer.net/inquirerheadlines/regions/view/20100609-274790/6000-Taal-villagers-told-to-move-out และ

เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.8 ริตเตอร์ เวลา 8:57 UTC บริเวณประเทศฟิลิปปินส์ http://www.emsc-csem.org/index.php?page=current&sub=detail&id=172653

นอกจากนั้นยังเกิดแผ่นดินไหวที่เกาะวาเนาตู (Vanautu) ขนาด 6.0 ริตเตอร์เวลา 23:23 UTC http://www.emsc-csem.org/index.php?page=current&sub=detail&id=172761 ซี่ งเกิดช้ากว่าที่คาดการณ์เอาไว้หนี่งวัน

ในวันที่ 10 มิถุนายน เกิดน้ำท่วมขนาดใหญ่ที่รัฐเท็กซัส http://www.statesman.com/news/local/heavy-rains-unleash-floods-along-comal-guadalupe-738354.html?srcTrk=RTR_661354

ในวันที่ 11 มิถุนายน ได้มีข่าวทางเมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกาเตรียมแผนซ้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉินขนาดใหญ่ในช่วงวันที่ 13 - 17 มิถุนายน ถือว่าเป็นจังหวะที่ดีทีเดียว http://www.nbcchicago.com/news/local-beat/National-Guard-Drill--95947264.html

 

แอมมี่เพิ่มเติม - วันที่ 12 มิถุนายน 2553 แผ่นดินไหวเกิดขึ้นจริงค่ะ ขนาด 7.5 ริคเตอร์ ที่นอกชายฝั่งประเทศอินเดีย ตามข่าวบอกว่า ไหวอยู่ประมาณ 4 วินาที ในเวลาประมาณตี 1 ของประเทศอินเดีย ห่างจากซีกตะวันตกของหมู่เกาะนิโคบาร์ไปประมาณ 150 กิโลเมตร (95 ไมล์) ที่ความลึก 35 กิโลเมตร (22 ไมล์)  และไม่มีรายงานความเสียหายค่ะ

(New Delhi, India (CNN) -- A 7.5-magnitude earthquake struck off the coast of India early Sunday, according to the U.S. Geological Survey. There were no immediate reports of damage or casualties.

about 150 km (95 miles) west of the Nicobar Islands at a depth of 35 km (22 miles))

(รายงานจาก CNN http://edition.cnn.com/2010/WORLD/asiapcf/06/12/india.earthquake/index.html)

 

ขอขอบคุณข้อมูลข้างต้นทั้งหมดจาก http://www.truth4thai.org/planetaryalignment/June12_10

หมายเลขบันทึก: 365881เขียนเมื่อ 11 มิถุนายน 2010 22:48 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 18:31 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (22)

แผ่นดินไหว-สึนามิจะ ไม่เกิด 12 มิ.ย.นี้

กรมอุตุฯทำหนังสือชี้แจงเรื่องการเกิดสึนามิและแผ่นดินไหวในทะเล อันดามัน มหาสมุทรอินเดียและในทะเลด้านอ่าวไทย มหาสมุทรแปซิฟิก

ตามที่ได้เกิดข่าวคาด คะเนเกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ในทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย และในทะเลด้านอ่าวไทย มหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งอาจก่อให้เกิดคลื่นสึนามิ ส่งผลกระทบร้ายแรงต่อประเทศไทย เหมือนกรณีที่เกิด เมื่อเดือนธันวาคม 2547 นั้น กรมอุตุนิยมวิทยาขอชี้แจง ดังนี้

1. การพยากรณ์ การเกิดแผ่นดินไหว ว่าจะเกิด ณ ตำแหน่งและเวลาใดๆ ด้วยเทคโนโลยีปัจจุบัน นักแผ่นดินไหวยังไม่สามารถพยากรณ์ได้ และยังอยู่ในขั้นตอนการวิจัยเท่านั้น นอกจากนี้หน่วยงานหลักที่มีหน้าที่รับผิดชอบด้านแผ่นดินไหวและสึนามิของโลก เช่น Pacific Tsunami Warning Center (PTWC) , Japan Meteorological Agency (JMA) , Intergovernmental Occanographic Commission (IOC) , World Meteorological Organization (WMO) ก็ยังไม่มีการเตือนภัยหรือแสดงหลักฐานข้อมูลใด ที่จะมีการบ่งชี้ว่าจะเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2553 ดังกล่าว

2. การศึกษา วิจัย ปัจจุบันพบว่ามีแนวโน้มการเกิดแผ่นดินไหว บริเวณทะเลอันดามันนั้น อาจจะเกิดแผ่นดินไหวด้านตะวันตก ของตอนกลางถึงตอนใต้เกาะสุมาตรา ซึ่งส่งผลกระทบต่อประเทศไทยน้อยมากในแง่ความสั่นสะเทือน และหากเกิดสึนามิ ก็ไม่ส่งผลกระทบถึงประเทศไทย เนื่องจากส่วนใหญ่พลังงานและคลื่นสึนามิที่จะก่อความเสียหาย มีทิศทางไปทางตะวันตกเฉียงใต้ออกสู่ทะเลลึก มหาสมุทรอินเดีย เช่นเดียวกับกรณีแผ่นดินไหวใหญ่ซึ่งเกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2548 และแผ่นดินไหวใหญ่ ซึ่งเกิดเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2552 ที่เป็นเหตุการณ์ซึ่งไม่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย ส่วนการเกิดคลื่นสึนามิด้านมหาสมุทรแปซิฟิก นั้น บริเวณที่มีความเป็นไปได้มากที่สุดคือ แนวรอยเลื่อนใต้ทะเล ด้านตะวันตกของประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งอยู่ห่างจากประเทศไทยนับพันกิโลเมตร หากเกิดคลื่นสึนามิขึ้นจริงและมีขนาดใหญ่เพียงพอ จากการคำนวณของกรมอุตุนิยมวิทยา คลื่นจะใช้เวลาเดินทางมาถึงประเทศไทยประมาณ 14 ชั่วโมง ทำให้ประเทศไทยมีเวลามากพอต่อการเตือนภัยและอพยพประชาชนสู่ที่ปลอดภัย

3. ระบบการเฝ้าระวังการเกิดแผ่นดินไหว และระบบการเตือนภัยสึนามิหรือภัยธรรมชาติชนิดต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐ รวมทั้งการแพร่กระจายข้อมูลผ่านสื่อสารมวลชนต่างๆ ของประเทศไทยในปัจจุบันมีประสิทธิภาพสูง และมีการปฏิบัติงานตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้น ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิ หรือภัยธรรมชาติชนิดอื่นๆ จะได้รับข้อมูลข่าวสารการเตือนภัยอย่างรวดเร็ว หากเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน

4. ขอให้ประชาชนอย่าได้ตื่นตระหนก ให้ติดตามข่าวจากทางราชการโดยตรงและเชื่อมั่นในหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งมีการเตรียมพร้อมตลอดเวลาในกรณีของภัยแผ่นดินไหวและสึนามิหรือภัย ธรรมชาติอื่นๆ

Content by Voice TV

10 มิถุนายน 2553 เวลา 17:46 น.

เก็บรวบรวมข่าวสารต่างๆ ที่น่าสนใจค่ะ

แผ่นดินไหวที่อินเดีย 6.4ริกเตอร์ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2553

สำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐฯ รายงานเกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 6.4ริคเตอร์ นอกหมู่เกาะอันดามันของอินเดียเมื่อเช้านี้ สำนักงานสำรวจธรณีวิทยา สหรัฐฯ หรือ USGS รายงานว่า ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.4ริคเตอร์ที่นอกหมู่เกาะอันดามันของอินเดียเมื่อเช้าวันอังคารตามเวลาท้อง ถิ่น โดยเกิดที่ระดับความลึก 127 กิโลเมตร และมีศูนย์กลางแผ่นดินไหวห่างประมาณ 120 กิโลเมตร จากเมืองพอร์ตแบลร์ของหมู่เกาะอันดามัน ที่ตั้งอยู่ในแถบอ่าวเบงกอล ศูนย์เตือนภัยสึนามิในมหาสมุทรแปซิคที่รัฐฮาวายของสหรัฐฯเตือนว่ามีความเป็น ไปได้ แม้จะน้อยมาก ที่จะเกิดสึนามิในบริเวณใกล้ศูนย์กลางแผ่นดินไหว ซึ่งเจ้าหน้าที่สมควรใช้ความระมัดระวัง แต่ไม่มีภัยคุกคามว่าอาจจะเกิดสึนามิที่มีอำนาจการทำลายล้างเป็นบริเวณกว้าง ในขณะที่พม่าตั้งอยู่ทางเหนือของหมู่เกาะอันดามัน และมีอินโดนีเซียอยู่ทางใต้ ส่วนกรุงนิวเดลีของอินเดียอยู่ห่างออกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือมากกว่า 2,500 กิโลเมตร หมู่เกาะอันดามันได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากสึนามิในเอเชียเมื่อปี 2547 ที่เกิดตามหลังแผ่นดินไหวรุนแรง นอกเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย ที่ส่งคลื่นยักษ์เข้าสร้างความเสียหายในหลายประเทศรอบมหาสมุทรอินเดีย และที่ผ่านมาเกิดแผ่นดินไหวบ่อยครั้งในทะเลอันดามัน จากการที่แผ่นเปลือกโลกอินเดียชนกับแผ่นเปลือกโลกพม่าซึ่งมีขนาดเล็กกว่า ตามแนวที่รู้จักกันในนาม "อันดามัน เทรนซ์"

Content by VoiceTV

1 มิถุนายน 2553 เวลา 09:20 น.

ทำนายแผ่นดินไหวใหญ่ ในประเทศไทย วันที่ 12 มิถุนายน 2553

จากรายการ "เรื่องเด่นเย็นนี้" ช่อง 3

ข้อมูลจาก ดร.ก้องภพ อยู่เย็น

สัมภาษณ์ ดร.สมิธ ธรรมสโรช อดีต ผอ.ศูนย์เตือนภัยพิบัติแ่ห่งชาติ

อาจเกิดจากดาวเรียงตัวกันและลมสุริยะ แผ่นดินไหวใหญ่ขนาด 7-9 ริคเตอร์ ระหว่าง มิถุนายน - ตุลาคม 2010

12 มิถุนายน 2553 เวลา ตี 1 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 7 - 8.5 ริคเตอร์

8 กรกฎาคม 2553 เวลา 4 ทุ่ม (UTC ประเทศไทย ตีห้า) 7 - 8 ริคเตอร์

9 กันยายน 2553 เวลา 6 โมงเย็น (UTC ประเทศไทย ตี 1) 7.5 - 8.5 ริคเตอร์

21 กันยายน 2553 เวลา 10 โมงเช้า(UTC ประเทศไทย 5 โมงเย็น) 7 - 7.5 ริคเตอร์

7 ตุลาคม 2553 เวลา ตี 4 (UTC ประเทศไทย 11 โมงเช้า) 8-9 ริคเตอร์

ตุลาคม - ธันวาคม จะรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จนถึงปี 2013

อ่านเพิ่มเติม ดร.ก้องภพ อยู่เย็น

http://gotoknow.org/blog/dr-ammy/362297

FYI http://earthquakepredictionbytiempe.blogspot.com/

http://4.bp.blogspot.com/_iwPhx5Pwcek/TBEBcOHMZfI/AAAAAAAAEmQ/-m2b6HeDxPA/s1600/Overview+06-13-10

For Sunday, 13 June 2010.

LEGEND for OVERVIEW: Size = My surety of area for quake.

Red Circle = Probable quake to STRONG quake.

Triangle = Very Strong/Stronger quake (Usually takes extra days).

Blue Circle, etc. = Uncertainty of symptom area for probable quake.

Gold Circle = Volcanic symptom. (If I find a matching symptom in my database I will give a probable magnitude.)

Places to watch. Good luck to all. For Sunday, 13 June 2010. --------------------------------------

CACAHOATAN, CHIS area (15.18 -91.96) (Probable 4 and probable multiples)

ALASKA PENINSULA area (54.383 -162.576) (Probable 3 and probable multiples)

BONIN ISLANDS, JAPAN REGION (28.66N 142.49E) (Second day symptoms. Probable 5 and probable multiples) Possibly NORTH ATLANTIC OCEAN (58.10 -12.66) (Unproven symptom. Probable 3.5 and probable multiples)

ALAMAGAN REG, N. MARIANA ISLANDS (17.61N 145.99E) (Felt volcanic. Probable 5.5 or stronger and probable multiples)

FRANCE area (50.34N 1.12E) (May include Switzerland/Northern Italy. Probable 3 and probable multiples)

Greece/Aegean Sea/Turkey (Non-specific. Probable 3 and probable multiples)

Germany (49.4N 7.0E) (Probable 4 and probable multiples)

ICELAND REGION (68.13N 18.37W) (Different symptoms and more symptoms and second day symptms. May include Norwegian Sea - probable 5 and probable multiples) The New Madrid Fault/Ridgely, TN (36.180N 89.470W) (Probable 2 and probable multiples) Utah/Helper area (39.73N 110.76W) (Probable 2.5 and probable multiples) Possibly

TATAR STRAIT, RUSSIA (47.15N 141.91 E) (New theory for migraine. Probable 5.5 or stronger and probable multiples)

TAJIKISTAN area (37.51N 72.02E) (Probable 4 and probable multiples) Norway Basin area (66.76 -2.50) (Probable 3) Possible 6 or stronger in Chile/Argentina - Chunk symptoms but difficult to locate coordinates or timing - may not occur until 2 July, if at all. Peace to all.

ตกลงมันจะเกิดแผ่นดินไหวหรือป่าวค่ะ

น่ากลัวจัง

หนูอยู่อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานีค่ะ

ถ้ามีคลื่นจิง

บ้านหนูจะโดนหนักรึป่าวค่ะ

The Global Disaster Alert and Coordination System provides near real-time alerts about natural disasters around the world and tools to facilitate response coordination, including media monitoring, map catalogues and Virtual On-Site Operations Coordination Centre.

http://www.gdacs.org/

6.0 quake registered off Vanuatu

Posted at 06:46 on 10 June, 2010 UTC

A magnitude 6 earthquake struck Vanuatu this morning but seismologists report there was no tsunami warning or reports of casualties or damage.

The United States Geological Survey says the earthquake, which was measured around 18 kilometres deep, was centred 155 kilometres from Port Vila.

A weather forecaster at Vanuatu’s meteorological office says the tremor was not felt in Port Vila and there had been no reports of damage or injuries.

News Content © Radio New Zealand International

คุณนัทคะ

ข่าวแจ้งว่า ผลที่จะเกิดบริเวณอ่าวไทย น่าจะน้อยกว่าทางฝั่งทะเลอันดามันค่ะ

วันนี้ แอมมี่ได้ดูคุณสรยุทธ (ช่อง 3) รายการเรื่องเด่นเย็นนี้ ท่านดร.สมิธ ท่านว่าไว้อย่างนั้นนะคะ

ไม่อยากให้เกิดเลยค่ะ

ท่านบอกว่า เตือนๆ ให้ระวังอันตรายกันไว้ ไม่เกิดได้มันก็จะดีที่สุด ...

แต่ถ้าเกิดจริงจะได้เตรียมหนีทันนะคะ

ขอให้พระคุ้มครอง บุญรักษาค่ะ

สวัสดีค่ะ dr ammy

แวะมาศึกษาด้วยคนนะคะ

Earthquake hits border region of China, Kyrgyzstan and Tajikistan

By the CNN Wire Staff June 10, 2010

-- Updated 0929 GMT (1729 HKT)

(CNN) -- A moderate earthquake rattled far-western China on Thursday, near its border with Kyrgyzstan and Tajikistan, the U.S. Geological Survey reported.

The magnitude 5.6 quake hit southern Xinjiang province and was centered about 120 kilometers, or 75 miles, west-northwest of Kashi.

There were no immediate reports of casualties or damage.

The Xinjiang region is seismically active. In March 2008, a powerful 7.2 magnitude quake hit a remote area of the region, followed by a series of moderate to light quakes.

Giant sinkhole shocks neighborhood in Guatemala City

From Helena de Moura, CNN
June 2, 2010 -- Updated 1501 GMT (2301 HKT)
http://uktodaynews.com/wp-content/uploads/2010/06/guatemala-sinkhole.jpg

(CNN) -- Residents of a center-city neighborhood in Guatemala City, Guatemala, are still in shock after a massive sinkhole opened last weekend, gobbling several buildings and nearly an entire intersection, according to local officials.

Over the weekend, the nearly perfect cylindrical crater developed and consumed whatever was on its surface, including structures and utility lines. There were no reports of deaths related to the sinkhole.

The sinkhole's destruction added to the tragic events in Central America related to Tropical Storm Agatha, which left a death toll of more than 175 people in the region that includes Guatemala, Honduras and El Salvador.

The 20-meter (about 66 feet) diameter sinkhole is about 30 meters (about 100 feet) deep.

Guatemala City's human rights ombudsman, Sergio Morales, confirmed reports that since 2005, residents in the area had complained of rumblings, fissures and sinking terrain.

"Yes, we can attest that they have been complaining since 2005 and we are looking into the initial complaints, " said Morales.

"We are looking into the original response by municipal authorities," he said.

In an interview with the newspaper Prensa Libre, neighborhood association president Augusto Lopez Rincon said he believed that excessive traffic caused by commercial trucks was to blame for the sinkhole.

Gallery: Agatha wreaks havoc on Central America

There are unconfirmed reports that the street's infrastructure was weakened by the storms, officials said. David Monterroso, geology director of Guatemala's Disaster Relief Agency, told Prensa Libre there should be an in-depth analysis of the soil consistency to determine how many houses near the sinkhole are still in danger of collapsing.

He said according to preliminary studies, the bottom of the sinkhole is irregular and that sewers and water lines may have contributed to the sinkhole's formation.

The size and shape of the crater led some of the more than 1,000 readers posting comments on the story on CNN.com to debate how it could have formed and whether it was even real.

"The picture looks unreal, 'Photoshoped' but it may just look that strange," OhioInd posted.

Edhead76 replied: "Believe me this picture is no fake. Guatemala has a very odd terrain. They have a lot of mountainous regions and the capital is somewhat level, but artificially. they have mudslides all the time."

According to the U.S. Geological Survey (USGS), sinkholes are common where the rock below the land surface is limestone, carbonate rock, salt beds or rocks that can naturally be dissolved by ground water circulating through them.

One local resident believes ground water has something to do with the sinkhole.

"It sounds like there's a river down there," said business owner Armando Gomez. "I don't think that the earth gave way and that was that. There's something else that caused it."

USGS studies show that new sinkholes have emerged recently as a result of land-use practices such as ground-water pumping, and from construction and development practices.

In 2007, another sinkhole claimed three lives in Barrio San Antonio in Guatemala City.

วันที่12นี้พระอาทิตย์ทรงกลดแล้วเวลา9.30 ประมาณนั้นยืนดูจนตาลายเลย แล้วเมฆยังมีสี ฟ้า ชมพู เหลือง ด้วย เกิดจากสาเหตุอะไร อยู่ที่เพชรบุรี ปรากฏการณ์เกิดไม่กี่นาที ก็หายไป

เป็นไงละ เกิดขึ้น จริง ๆ ดีนะ ไม่มีความเสียหาย จิ้งจก ทัก เค้าว่า เรายังต้องฟัง ทำไม ดร. ถึงสองคน ถึงพูดแล้ว ไม่ฟังนะ

MAP 5.1 2010/06/13 07:05:37 7.717 91.897 35.0 NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION

MAP 5.1 2010/06/13 06:26:05 7.773 92.067 35.0 NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION

MAP 5.0 2010/06/13 04:01:07 7.793 92.043 35.0 NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION

MAP 6.1 2010/06/13 03:32:55 37.405 141.602 7.7 NEAR THE EAST COAST OF HONSHU, JAPAN

MAP 5.0 2010/06/13 02:20:24 -17.613 -66.594 271.1 COCHABAMBA, BOLIVIA

MAP 5.3 2010/06/12 22:44:41 7.721 91.982 19.3 NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION

MAP 5.4 2010/06/12 22:41:29 -10.910 166.092 102.0 SANTA CRUZ ISLANDS

MAP 7.5 2010/06/12 19:26:50 7.748 91.938 35.0 NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION

MAP 5.0 2010/06/12 15:56:54 54.542 -161.469 44.3 ALASKA PENINSULA

MAP 5.3 2010/06/12 15:44:57 28.805 128.621 39.5 RYUKYU ISLANDS, JAPAN

MAP 5.0 2010/06/12 13:36:40 -5.729 102.595 35.0 SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA

ขอบคุณมากค่ะ คุณนก

7.5-magnitude quake strikes off India coast

June 12, 2010 -- Updated 2214 GMT (0614 HKT)

STORY HIGHLIGHTS

* 7.5-magnitude earthquake hits India coast

* No injuries or damages reported

* Tsunami watch canceled

* Witness in Chennai, India: "Man, that felt scary"

 

New Delhi, India (CNN) -- A 7.5-magnitude earthquake struck off the coast of India early Sunday, according to the U.S. Geological Survey. There were no immediate reports of damage or casualties. A local tsunami watch for India was issued by the Pacific Tsunami Warning Center, but was later canceled. "Man, that felt scary. My whole bed shook," said Inderjith Mathivanan in Chennai, India, who felt the tremor last for about four seconds.

The quake struck around 1 a.m. local time about 150 km (95 miles) west of the Nicobar Islands at a depth of 35 km (22 miles). It was downgraded by USGS from an earlier magnitude of 7.7.

 

A receptionist at the Marine Hill, Port Blair SeaShell Hotel on the islands described the quake as "a little bit shaking, the land." Sumit Govind said the quake caused no damages to the islands. Police confirmed no loss of life or damage on the Andaman or Nicobar Islands. Officials are monitoring the situation and are ramping up patrols in the area, police said.

CNN's Katy Byron and Eve Bower contributed to this report.

  • ได้รับอีเมลแจ้งเตือนเรื่อง "อย่าไปริมทะเลในเดือนกรกฎาคมนี้" ซึ่งอาจจะตรงกับ Solar Flare ครั้งต่อไป (8-9 กรกฎาคม 2010) ก็ได้นะคะ
  • รับฟังไว้ก็ดี  จะได้หลีกเลี่ยง ไม่เกิดอันตรายกับตนเองและครอบครัวค่ะ
  • ข่าวแจ้งว่า Solar Flare อะ ไม่ทำให้เกิดคลื่นยักษ์ซึนามินะคะ  แต่แผ่นดินไหวใต้ทะเลซึ่งมีผลจากลมสุริยะนั่นตากหาก  ที่สามารถก่อให้เกิดคลื่นซึนามิได้  ดังนั้น เมื่อเกิดแผ่นดินไหวใหญ่มากๆใต้ทะเล  จึงมีการออกประกาศแจ้งเตือนภัยจากคลื่นยักษ์ค่ะ
  • แผ่นดินไหวที่เฮติ ขนาด 7 ริคเตอร์  (จำสภาพความรุนแรงได้มั๊ยคะ) เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 เดือนมกราคม 2010 (January 10, 2010)
  • แผ่นดินไหวที่ชิลี ขนาด 8.8 ริคเตอร์  เกิดขึ้นในเดือนถัดมา 27 กุมภาพันธ์ 2010 (February 27, 2010)

แผ่นดินไหวที่ชิลี

รายงานแผ่นดินไหวในรอบ 15 วัน

แผ่นดินไหว ที่ TAIWAN
ขนาด : 5.2 ริกเตอร์
จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว : TAIWAN
วันที่ : 15 มิถุนายน 2553 07:31 น.
ละติจูด : 24° 06' 36'' เหนือ
ลองจิจูด : 121° 42' 00'' ตะวันออก
ความลึกจากระดับผิวดิน : 15 กิโลเมตร
เพิ่มเติม :

วันที่ เวลา จุดศูนย์กลาง ละติจูด ลองจิจูด ขนาด ลึกจากพื้นดิน หมายเหตุ
15 มิ.ย. 53 07:31 TAIWAN 24° 06' 36'' N 121° 42' 00'' E 5.2  15   
13 มิ.ย. 53 14:05 NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION 7° 45' 36'' N 91° 50' 24'' E 5.1  10   
13 มิ.ย. 53 13:26 NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION 7° 47' 24'' N 92° 00' 00'' E 5.1  18   
13 มิ.ย. 53 11:01 NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION 7° 49' 48'' N 92° 05' 24'' E 5.0  42   
13 มิ.ย. 53 05:44 NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION 7° 42' 00'' N 91° 58' 12'' E 5.4  40   
13 มิ.ย. 53 02:26 NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION 7° 37' 48'' N 91° 54' 00'' E 7.5  10   
12 มิ.ย. 53 22:45 RYUKYU ISLANDS, JAPAN 28° 46' 48'' N 128° 44' 24'' E 5.1  60   
12 มิ.ย. 53 10:49 MINAHASA, SULAWESI, INDONESIA 1° 01' 48'' N 120° 07' 48'' E 5.0  44   
11 มิ.ย. 53 09:25 PHILIPPINE ISLANDS REGION 17° 49' 12'' N 119° 30' 00'' E 5.2  20   
10 มิ.ย. 53 09:13 MINDANAO, PHILIPPINES 7° 16' 12'' N 126° 58' 48'' E 5.0  60   
03 มิ.ย. 53 16:24 NORTHERN SUMATRA, INDONESIA 4° 47' 24'' N 95° 42' 00'' E 5.5  60   
02 มิ.ย. 53 08:01 KEPULAUAN TALAUD, INDONESIA 4° 18' 36'' N 126° 52' 48'' E 5.1  46   
01 มิ.ย. 53 02:51 หมู่เกาะอันดามัน ประเทศอินเดีย 11° 07' 48'' N 93° 46' 12'' E 6.6  136   
31 พ.ค. 53 17:16 MORO GULF, MINDANAO, PHILIPPINES 6° 57' 36'' N 123° 58' 12'' E 6.2  40   
29 พ.ค. 53 01:32 KEP. MENTAWAI REGION, INDONESIA 3° 58' 48'' S 100° 44' 24'' E 5.3  10   
26 พ.ค. 53 15:53 SOUTHEAST OF RYUKYU ISLANDS 25° 52' 48'' N 129° 55' 48'' E 6.1   
  เวลาไทย       ริกเตอร์ กิโลเมตร  

ที่มา กรมอุตุนิยมวิทยา

จะมีผลกระทบต่อกทม.หรือภาคอีสานมั้ยคะ

แล้วประเทศไทยนั้นกระทบต่อภาคใดบ้างคะ

รายงาน แผ่นดินไหวในรอบ 15 วัน

วันที่ เวลา จุดศูนย์กลาง ละติจูด ลองจิจูด ขนาด ลึกจากพื้นดิน หมายเหตุ
19 มิ.ย. 53 06:09 ANDAMAN ISLANDS, INDIA REGION 13° 24' 36'' N 93° 00' 36'' E 6.0  40   
18 มิ.ย. 53 08:08 TAIWAN 24° 09' 36'' N 121° 42' 00'' E 5.0   
17 มิ.ย. 53 23:35 SULAWESI, INDONESIA 1° 15' 00'' S 123° 40' 12'' E 5.2  60   
16 มิ.ย. 53 19:24 HALMAHERA, INDONESIA 2° 37' 12'' N 128° 36' 00'' E 5.3  30   
16 มิ.ย. 53 19:10 NICOBAR ISLANDS, INDIA REGION 7° 48' 00'' N 91° 51' 00'' E 5.0  10   
16 มิ.ย. 53 14:50 ANDAMAN ISLANDS, INDIA REGION 14° 09' 00'' N 92° 50' 24'' E 5.0  37   
16 มิ.ย. 53 10:16 Irian Jaya ประเทศอินโดนีเซีย 2° 01' 48'' S 136° 35' 24'' E 7.3  10   
  • วันนี้อ่านเจอจากหนังสือ "ถอดรหัสคำทำนาย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังษี)" โดยทัศนา ทัศนมิตร เขียนเล่าไว้ว่า กรุงเทพเคยเกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่มากเมื่อปีพ.ศ. 2485
  • ท่วมหน้าลานพระบรมรูปทรงม้า จนกระทั่ง ส.ส.ต้องนั่งเรือจ้างมาประชุมสภา
  • ท่วมอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ท่วมถ.ราชดำเนิน เจิ่งนองทั้งสาย  ตลาดบางลำพู  เยาวราช
  • ทางการใช้วัดเล่งเน่ยยี่ ดัดแปลงเป็นโรงพยาบาลชั่วคราว
  • น้ำท่วมอีก 3 ครั้งคือ ปีพ.ศ. 2460, 2485 (รุนแรงที่สุด), 2518
  • http://202.129.48.218/sar/photo/flood24852.jpg
  • ไม่เกี่ยวกับแผ่นดินไหว  แต่น่าสนใจดีค่ะ
แผ่นดินไหวที่ SOUTHWEST OF SUMATRA, INDONESIA
ขนาด : 5.0 ริกเตอร์
จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว : SOUTHWEST OF SUMATRA, INDONESIA
วันที่ : 07 กันยายน 2553 14:22 น.
ละติจูด : 6° 58' 48'' ใต้
ลองจิจูด : 103° 22' 48'' ตะวันออก
ความลึกจากระดับผิวดิน : 30 กิโลเมตร
เพิ่มเติม :

 

รายงานแผ่นดินไหวในรอบ 15 วัน
วันที่ เวลา จุดศูนย์กลาง ละติจูด ลองจิจูด ขนาด ลึกจากพื้นดิน หมายเหตุ
07 ก.ย. 53 14:22 SOUTHWEST OF SUMATRA, INDONESIA 6° 58' 48'' S 103° 22' 48'' E 5.0  30   
07 ก.ย. 53 07:57 SOUTHWEST OF SUMATRA, INDONESIA 7° 00' 36'' S 103° 23' 24'' E 5.7  10   
06 ก.ย. 53 00:34 HALMAHERA, INDONESIA 0° 32' 24'' N 127° 32' 24'' E 5.6  30   
05 ก.ย. 53 16:08 SOUTHWEST OF SUMATRA, INDONESIA 4° 19' 48'' S 100° 49' 48'' E 4.7  30   
04 ก.ย. 53 00:06 SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA 3° 40' 48'' S 101° 52' 12'' E 5.6  60   

ที่จริงเมื่อวันที่ 3 กันยายน ที่ผ่านมา เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 ริคเตอร์ไปแล้ว ที่ประเทศนิวซีแลนด์ค่ะ  เลยต้องคอยตามดูว่า วันที่ 9 กันยายนนี้ จะเกิดที่ไหนต่อ

10-degree map showing recent earthquakes

Magnitude 7.0
Date-Time
Location 43.530°S, 172.120°E
Depth 5 km (3.1 miles) set by location program
Region SOUTH ISLAND OF NEW ZEALAND
Distances 45 km (30 miles) W of Christchurch, New Zealand
200 km (125 miles) SSE of Westport, New Zealand
290 km (180 miles) NNE of Dunedin, New Zealand
330 km (205 miles) SW of WELLINGTON, New Zealand
Location Uncertainty Error estimate not available
Parameters NST=374, Nph=374, Dmin=88.7 km, Rmss=0 sec, Gp= 18°,
M-type=centroid moment magnitude (Mw), Version=9
Source
  • Institute of Geological and Nuclear Sciences, Lower Hutt, New Zealand
Event ID us2010atbj

การเกิดเหตุการณ์ต่างๆที่ดวงอาทิตย์ การเกิดเหตุการณ์ต่างๆบนโลกเช่นแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิดหรือ ปะทุ

เหตุการณ์ต่างๆเหล่านี้มีความสัมพันธ์แบบเหตุและผลอย่างไร ช่วยอธิบายแบบฟิสิกค์ด้วยครับ

ไม่ใช่แค่เอาเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดในช่วงเวลาเดียวกัน มาบอกว่ามันเป็นเหตุและผล

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท