บรรณานุกรมผ้าไทย: งานวิจัย


หลายท่านถามถึงงานวิจัยเกี่ยวกับผ้าทอ ผมได้รวบรวมเอาไว้บางส่วน แต่ไม่แน่ใจว่าจะครบถ้วนสมบูรณ์หรือไม่ ครั้นจะตรวจสอบ หรือค้นเพิ่ม ก็ไม่ค่อยจะมีเวลา จึงขอนำมาฝากเอาไว้ก่อน เผื่อจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้ต้องการใช้งานครับ

 

-ก-

กมลา  กองสุข. ผ้าจก (กลุ่มลาวคั่ง  บ้านกุดจอก  ชัยนาท -  บ้านทับผึ้งน้อย  สุพรรณบุรี). งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

กฤษดา  พิณศรี  และคณะ. ความสัมพันธ์ระหว่างลวดลายที่ปรากฏบนผ้าพิมพ์กับหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี: กรณีศึกษาเฉพาะผ้าพิมพ์ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนคร. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

กองงานวิทยาเขต (2550) การศึกษาวิจัยสภาพการดำเนินงานของผู้ผลิตวัตถุดิบ ช่างทำผลิตภัณฑ์ ผู้ทอ และผู้บริโภคผ้าไทย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

กาญจนา คำสมบัติ  (2549) ระบบฐานข้อมูลลายผ้าไหมพื้นบ้านจังหวัดมหาสารคาม – กาฬสินธุ์.  มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

การใช้ E-Commerce กับสินค้าทางวัฒนธรรม กรณีศึกษาผ้าจก ชาวไท-ยวน ตำบลคูบัว อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี   2547. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เกรียงไกร กันแก้ว (2549) การพัฒนาวัตถุดิบและกระบวนการผลิตผ้าทอพื้นบ้านให้ได้มาตรฐานชุมชน: กรณีศึกษากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านหวายหลึม หมู่ 9 (บ้านอุดมสุข) ต.มะบ้า กิ่งอ.ทุ่งเขาหลวง จ.ร้อยเอ็ด. มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

 

-ข, ค-

ขจีจรัส ภิรมย์ธรรมศิริ (2546) การใช้ผ้าพื้นเมืองไทยของนักคหกรรมศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.   มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

______. (2547) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ผ้าไทยของนิสิต นักศึกษา มหาวิทยาลัยของรัฐ ในกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ขนิษฐา  ตันติพิมล  และสุวิมล  สกุลเดช. ศึกษาลายผ้าไทยในท้องถิ่นทางภาคใต้. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

ขนิษฐา วัชราภรณ์ (2548) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายและไหมพื้นเมืองของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก ธ.ก.ส ในจังหวัดอุบลราชธานี ศึกษาเฉพาะกลุ่ม: กลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านปะอาว, กลุ่มเกษตรกรบ้านยางเกลือ, กลุ่มเกษตรกรบ้านโน่นสว่าง และกลุ่มเกษตรกรบ้านสมพรรัตน์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ขนิษฐา วัชราภรณ์ (2549) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายพื้นเมืองของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก ธ.ก.ส. ในจังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เครือมาศ  วุฒิการณ์. ชีวิต  ศรัทธาและผืนผ้า : การสืบทอดความรู้เรื่องผ้าทอ  อำเภอแม่แจ่ม  จังหวัดเชียงใหม่. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

 -จ-

จักรพรรดิ์ อาจศิริ, ว่าที่ รต. (2545) รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาศักยภาพศูนย์การเรียนรู้ผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตร เพื่อชุมชนเข้มแข็ง : กรณีศึกษากลุ่มประชาคมผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหม่อนบ้านน้ำเกลี้ยงเวียงชัยและ กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองชุมชนวังจาน. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

จารุวรรณ  ขำเพชร และรวิญา พนาพฤกษ์ไพร. (2536) พัฒนาการผ้าหม้อห้อม เมืองแพร่.  งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

จารุวรรณ  ขำเพชร  และอดินันท์  สำเนียง. (2536) การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม การแต่งกายของชาวไทลื้อ. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

จิราภรณ์  อรัณยะนาค. การศึกษาผ้าโบราณ สมัยอยุธยาตอนปลาย ถึง รัตนโกสินทร์ตอนต้นจากผ้าห่อคัมภีร์.

แจ่มจันทร์ ณ กาฬสินธุ์ และคณะ (2548) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาวัตถุดิบและกระบวนการผลิตให้ได้ คุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กรณีศึกษา:ผ้าแพรวาทอมือลายดอกแก้วเบญจรัตน์บ้านโคกกว้าง หมู่ 10 ตำบลมหาไชย อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์

 

-ช, ณ-

โชติรส ภูสมศรี และคณะ (2549) การศึกษาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมแพรวาของกลุ่มแม่บ้านเกษตรโพน บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ณรงค์ฤทธิ์  โสภา และคณะ. การผลิตผ้าไหมของชาวพื้นบ้านที่พูดภาษาเขมรในอีสานตอนใต้. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

ณัฐกานต์ นิตยพัธน์ (2549) การกำจัดสีย้อมและโลหะหนักที่ใช้ในการย้อมผ้าไหมโดย Pleurotus ostreatus.  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณัฐวดี พัฒนโพธิ์ และคณะ (2548) รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าย้อมสีจากธรรมชาติเพื่อธุรกิจชุมชนกุดตาใกล้ กิ่งอำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์

 

-ด, ท, ธ-

ดาราวรรณ วิรุฬหผล (2546) สถานการณ์ ด้านการผลิต การตลาด และโอกาสทางการตลาดของสินค้าศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านภายใต้โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ของภาคเหนือ: กรณีศึกษา ผ้าทอตีนจกของจังหวัดแพร่. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ทรงคุณ  จันทรจร. ผ้าชาวโส้ : ศึกษากรณีชาวโส้ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร และอ.กุสุมาย์ จ.สกลนคร. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

ทัศนีย์  บัวระภา  และคณะ. ผ้าไทญ้อ : ศึกษากรณีชาวไทญ้อ  บ้านแซงบาดาล  ตำบลแซงบาดาล อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

ทิพวัลย์  คำคง. ผ้ามัดหมี่ : อารยธรรมของชาวไทยพวนบ้านหมี่. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

 

-น-

นฤมล  ศรีกิจการ. การทอผ้าไหมที่บ้านกาด อำเภอสันกำแพง  จังหวัดเชียงใหม่: ประวัติและพัฒนาการตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๓ ๒๕๒๔. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

นวลศรี เขตโสภณ  (2547) การสกัดสีย้อมจากไม้ฝางและดอกกระเจี๊ยบสำหรับย้อมผ้าฝ้าย. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

น้องนุช สารภี, ยุพเยาว์ โตคีรีและกชนิภา อุดมทวี (2548) การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการผลิตผ้าไหมทอมือ : กรณีศึกษากลุ่มทอผ้าไหมบ้านคาบเหนือ ตำบลเทนมีย์ อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

นันทรัตน์ เณรวงษ์  (2549) โครงการออกแบบลวดลายสำหรับผ้าคลุมไหล่ ชุด ภาษาดอกไม้. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

นันทิยา จันทร์อ่อน (2545)  รายงานการวิจัยเรื่องรูปแบบศิลปะและการจัดการผ้าทอที่ส่งผลต่อ ความเข้มแข็งและการพึ่งตนเองของชุมชนท้องถิ่น : ศึกษากรณีผ้าไหมแพรวาสายวัฒนธรรมผู้ไท จังหวัดกาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นันทิยา อักษรกิตติ์  (2549) กลยุทธ์การตลาดผ้าฝ้ายทอมือ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

น้ำทิพย์ ทรัพย์จำนง (2540) การศึกษาลายผ้าของชุมชนหมู่บ้านคลองเตย จังหวัดพิษณุโลก. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

นิรมล อัจฉริยะเสถียร (2550) การจัดการความรู้ผลิตภัณฑ์ผ้ากาบบัว : กรณีศึกษาเครือข่ายผ้าทอมือดงอู่ผึ้ง.  มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

นุจิรา รัศมีไพบูลย์ (2549) โครงการการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าจกลาวครั่ง หมู่ที่ 4 บ้านทุ่ง ตำบลห้วยขมิ้น อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

เนาวรัตน์ สอดแสงอรุณงาม ( 2547) การสกัดสีย้อมจากรากยอและดอกดาวกระจายสำหรับย้อมผ้าฝ้าย. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

 

-ป-

ประภาพร โสภาพล (2549) การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นผ้าฝ้ายย้อมสีเปลือกไม้บ้านโนนศึกษา ตำบลนาอุดม อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด. มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.

ประเสริฐ จักโขบลมาศ (2542) รายงานโครงการวิจัยประเภทอุดหนุนทั่วไปเรื่องการพัฒนารูปแบบของหลักค้นหมี่เพื่อใช้สำหรับอุตสาหกรรมทอผ้าไหมขนาดย่อมในชนบท. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ปัณฑิตา ตันติวงศ์ (2540) การศึกษาเพื่ออนุรักษ์ลายผ้าขิตจังหวัดยโสธร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปิ่นเพชร ชูทรงเดช  (2539) การใช้วัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นทำสีย้อมผ้าไหมในจังหวัดสุรินทร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

 

-ผ-

ผะอบ  นะมาตร์ และคณะ. (2536) ผ้าและการสืบทอดความรู้เรื่องผ้า : กรณีศึกษากะเหรี่ยงโปร์ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี  ราชบุรี  และสุพรรณบุรี. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

-พ-

พงศ์ศิริ  นาคพงศ์. อันเนื่องมาจากลวดลายและสีสันบนผืนผ้าไทพื้นเมืองในภาคกลาง. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

พงษ์ศักดิ์  ยวงสะอาด และคณะ. การทำสไลด์เทป เรื่องเทคนิคการผลิตผ้าลายขิด ของบ้านนาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

พรพนา แก่นจันทร์วงค์ (2550) การพัฒนาสีย้อมผ้าสำเร็จรูปจากใบมะเกี๋ยง. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

พิชิต กาญจนเชฐ (2550) การศึกษาวิธีป้องกันการตกสีของผ้าไหมไทย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ไพรัตน์  อนุพันธ์. (2536) ผ้าทอมือ : ความสัมพันธ์ระหว่างพิธีกรรมและความเชื่อในประเพณีของชาวอีสาน. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

______. (2536) ผ้าสามกษัตริย์และผ้าไหมหางกระรอก. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

 

-ภ-

ภัทรธิรา ผลงาม. (2547) การพัฒนาศักยภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP กรณีศึกษาในกลุ่มทอผ้าพื้นเมือง บ้านนาด้วง จังหวัดเลย. มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

ภัทรา จันทราทิตย์ (2547) การรวบรวมลวดลายผ้าทอพื้นบ้าน จังหวัดอุตรดิตถ์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

______. (2548) การรวบรวมลวดลายผ้าทอพื้นบ้าน จังหวัดน่าน. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ภาควิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย (2549) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์แฟชั่นจากผ้าไทยในชนบท. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

 

-ม-

มนตรี เลากิตติศักดิ์ (2550) ศึกษาและทดสอบการพิมพ์ผ้าฝ้ายโดยใช้สีย้อม. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

มนู  อุดมเวช  และคณะ. ผ้าไทดำกับการอพยพ : กรณีตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างการย้ายถิ่นที่อยู่กับความเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

มนูญ จิตต์ใจฉ่ำ (2547) โครงการพัฒนาเครื่องกรอด้ายกึ่งอัตโนมัติ.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

มยุรี  จินตรักษ์  และคณะ. (2536) ผ้าย้อมคราม "จุ๊บหม้อนิล" :  ศึกษาเฉพาะกรณีบ้านสั่งซา  ตำบลบ้านธาตุ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

มะลิวัลย์ สินน้อย. โครงการรวบรวมฐานข้อมูลวัฒนธรรมการทอผ้าไหมของจังหวัดอุบลราชธานี NODA-TE. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

______. โครงการรวบรวมลวดลายผ้าไหมจังหวัดอุบลราชธานี NODA-TE. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

มันทนา สามารถ  (2537) การสำรวจตลาดสิ่งทอของกลุ่มสตรีทอผ้าพื้นเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ศึกษาเฉพาะกรณี. มหาวิทยาลัยขอนแก่น

 

-ร, ล-

เรณู  อรรฐาเมศ. ผ้าไทใหญ่จากมาวโหลงสู่ล้านนาในบริบทของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

ลาวัณย์ ดุลยชาติ และคณะ (2548) โครงการวิจัยชุดห้องสมุดมีชีวิตกรณีศึกษา ระบบสารสนเทศผ้าไหมแพรวาบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ชุมชนบ้านโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์

ลักขณา  ธนาวรรณกิจ. (2536) ความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์จากผ้าจกราชบุรี. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

-ว-

วนิดา ผาสุกดี (2549) สมบัติทางกายภาพของเส้นด้ายและผ้าเส้นใยสับปะรดผสมฝ้าย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วรรณศักดิ์พิจิตร บุญเสริม และคณะ. (2536) ผ้าไทแดงแห่งซำเหนือ: ศิลปะอันยอดยิ่งแห่งการต่ำหูกทอไหมเก็บดอกดวงและลวดลาย. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

วรรณา  วุฒทะกุล  และยุรารัตน์  พันธุ์ยุรา. (2536) ผ้าทอกับวิถีชีวิตของชาวไทย. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

วสันต์ ศรีเมือง (2550). การศึกษาและออกแบบเครื่องกำจัดใยผ้าด้วยไซโคลน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน.

วัชรินทร์  ศรีรักษาและคณะ. (2536) เทคนิคการผลิตหมอนขิดแบบครบวงจร  ของหมู่บ้านศรีฐาน อ. ป่าติ้ว จ.ยโสธร. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

______ (2536) การทำสไลด์เทป เรื่องเทคนิคการผลิตผ้าไหมแพรวา ของ จ.กาฬสินธุ์. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

วัลลภ  ทองอ่อน. (2536) พัฒนาการการผลิตและบทบาททางสังคมของผ้าไหมสันกำแพง  อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

วารุณี สุวรรณานนท์ (2540) ซัมป็วตโซ้ด : ผ้านุ่งไหมชาวไทยเขมรสุรินทร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

วิวรรธน์ พุทธานุ (2545) รายงานการศึกษาเบื้องต้นโครงการวิจัยกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือในโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์.  มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

 

-ศ-

ศิริสุภา เอมหยวก (2548) การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทอผ้าบ้านคลองเตย ตำบลบึงกอก อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์ (2547) การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการออกแบบด้านการผลิต และกระบวนนำเสนอผลิตภัณฑ์จากผ้าทอย้อมสีธรรมชาติเชิงธุรกิจแบบองค์รวม เพื่อพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ ในชุมชนท้องถิ่นของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

 

-ส-

สกุลตรา ธรรมจง (2547) การสกัดสีย้อมจากดอกอัญชันและเปลือกต้นแคสำหรับย้อมผ้าฝ้าย. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

สายเพชร อักโข (2548) ส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการเลือกซื้อผ้ากาบบัวในจังหวัดอุบลราชธานี.  มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

สำอาง จังไพบูลย์ (2548) การพัฒนาสารกั้นสีจากแป้งข้าวไทยในการย้อมผ้าแบบรีซีสต์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สุนทร สุขไทย (2550) การสืบสานการทอผ้าพื้นเมืองของชุมชน ตำบลหาดเสี้ยว อำเภอศรีสัชนาลัย  จังหวัดสุโขทัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

สุนัย  ณ  อุบล  และคณะ. ผ้ากับวิชีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ไท-ลาว  สายเมืองอุบล. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

สุนิสิต  สุขิตานนท์และคณะ. การทอผ้าไหมลายขิด. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

สุพัตรา จิรนันทนาภรณ์ (2536) วงจรศัพท์ในวัฒนธรรมการทอผ้าของชนกลุ่มไทยพวน. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

______. วงจรศัพท์ในวัฒนธรรมการทอผ้าของไทยพวน. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

สุมาพร วงศ์วรชาติ (2549) โครงการออกแบบลายผ้าบาติกลวดลายทิวทัศน์ใต้ท้องทะเล. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

สุมาลย์  กุศลศารทูล. เครื่องมือปั่นด้ายและทอผ้าพื้นเมืองของชนกลุ่มน้อยในภาคกลางของประเทศไทย. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

สุริยา  สมุทคุปติ์ และคณะ. ผ้าและการทอผ้าของผู้หญิงอีสาน : การวิเคราะห์และตีความ. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

สุมาลย์  โทมัส. ผ้านุ่ง : ข้อสังเกตเกี่ยวกับผ้าทอมือในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

______. (2525) ผ้าพื้นเมือง. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

______. (2529) รายงานวิจัยเรื่องผ้าและประเพณีการใช้ผ้าไทย.

______. (2541) ผ้า ไทย-ผ้าไท. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุรีย์ สุทธิสารากร. (2548) รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทอผ้ามุกบ้านติ้วตำบลบ้านติ้ว อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

สุวิมล  วัลย์เครือ และชนิดา  ตั้งถาวรสิริกุล. ผ้าลาว:การอพยพเคลื่อนย้ายของวัฒนธรรมผ้าจากลุ่มแม่น้ำโขงสู่ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

เสรี ชิวค้า               (2546) โครงการวิจัยผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์.  มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

โสภิดา  ยงยอด. ผ้าทอมือในวิถีชีวิตของชาวผู้ไท : กรณีศึกษาในเขต อ.ชานุมาน และ อ.เสนางคนิยม จ.อุบลราชธานี. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

โสภิดา ยงยอด (2549) กระบวนการพัฒนาการทอผ้ามัดหมี่ของชาวอีสาน : กรณีศึกษาบ้านกำพี้ ตำบลกำพี้ อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

โสภิดา ยงยอด (2551) ผ้าทอมือในวิถีชีวิตของชาวผู้ไท : กรณีศึกษาในเขตอำเภอชานุมารและอำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

 

-ห-

หทัยรัตน์ กองศิริเรือง (2547) การสกัดสีย้อมจากดอกคำฝอยและแก่นขนุนสำหรับย้อมผ้าฝ้าย. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

หรรษา ปุณณะพยัคฆ์ (2544) โครงการการใช้เอนไซม์ในกระบวนการเตรียมผ้าฝ้าย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

-อ-

อนงค์พรรณ หัตถมาศ (2547) รายงานการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์หัตกรรม กระเป๋าผ้าพื้นเมือง บ้านนางั่ว อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

อนันต์สิทธิ์  ซามาตร์ และคณะ. (2536) ผ้าทอชาวโย้ย  อำเภอพังโคน และอำเภอวานรนิวาส  จังหวัดสกลนคร. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

อโนทัย ชลชาติภิญโญ (2549) แนวทางการผลิตแบบ Mass Customization: การศึกษาขนาดรูปร่าง ความนิยมความพอดีและความพึงพอใจ ของสตรีไทยที่มีต่อเสื้อผ้าสำเร็จรูป.  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

อำนวยพร  สุนทรสมัย. (2536) การศึกษาผ้าทอของ  อ.นครไทย   จ.พิษณุโลก. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

อัจฉรา ภาณุรัตน์ (2548) รายงานการวิจัยวิธีการให้การศึกษาเพื่อสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมผ้าทอมืออีสานใต้. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

อัจฉรา  ภาณุรัตน์และคณะ. (2536) ความเชื่อและระบบสัญลักษณ์เกี่ยวกับผ้าไหมของชาวไทยกูย. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

______. (2536) เทคนิคดั้งเดิมและการพัฒนาของการทอและการใช้ผ้าไหมในวิถีชีวิตของคนชาติพันธุ์ไทยเขมร. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

อัจฉรา  ภาณุรัตน์ และธนพร เวทย์ศิริยานนท์. (2536) กระบวนการทอผ้ามัดหมี่สองทาง “อันปรม”  ของชาวสุรินทร์. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

อัจฉรา สโรบล (2542) แนวโน้มของรูปแบบผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีธรรมชาติ ในจังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อาณัฐ ศรเสนา (2549) เครื่องทอผ้าไฟฟ้า. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

อินทิรา  ซาฮีร์. (2536) โธตี สาหรี และผ้าปูม. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.      

-ก-

กมลา  กองสุข. ผ้าจก (กลุ่มลาวคั่ง  บ้านกุดจอก  ชัยนาท -  บ้านทับผึ้งน้อย  สุพรรณบุรี) งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

กฤษดา  พิณศรี  และคณะ. ความสัมพันธ์ระหว่างลวดลายที่ปรากฏบนผ้าพิมพ์กับหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี: กรณีศึกษาเฉพาะผ้าพิมพ์ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนคร. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

กองงานวิทยาเขต (2550) การศึกษาวิจัยสภาพการดำเนินงานของผู้ผลิตวัตถุดิบ ช่างทำผลิตภัณฑ์ ผู้ทอ และผู้บริโภคผ้าไทย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

กาญจนา คำสมบัติ  (2549) ระบบฐานข้อมูลลายผ้าไหมพื้นบ้านจังหวัดมหาสารคาม กาฬสินธุ์.  มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

การใช้ E-Commerce กับสินค้าทางวัฒนธรรม กรณีศึกษาผ้าจก ชาวไท-ยวน ตำบลคูบัว อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี   2547. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เกรียงไกร กันแก้ว (2549) การพัฒนาวัตถุดิบและกระบวนการผลิตผ้าทอพื้นบ้านให้ได้มาตรฐานชุมชน: กรณีศึกษากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านหวายหลึม หมู่ 9 (บ้านอุดมสุข) ต.มะบ้า กิ่งอ.ทุ่งเขาหลวง จ.ร้อยเอ็ด.              มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

 

-ข, ค-

ขจีจรัส ภิรมย์ธรรมศิริ (2546) การใช้ผ้าพื้นเมืองไทยของนักคหกรรมศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.               มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

______. (2547) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ผ้าไทยของนิสิต นักศึกษา มหาวิทยาลัยของรัฐ ในกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ขนิษฐา  ตันติพิมล  และสุวิมล  สกุลเดช. ศึกษาลายผ้าไทยในท้องถิ่นทางภาคใต้. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

ขนิษฐา วัชราภรณ์ (2548) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายและไหมพื้นเมืองของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก ธ.ก.ส ในจังหวัดอุบลราชธานี ศึกษาเฉพาะกลุ่ม: กลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านปะอาว, กลุ่มเกษตรกรบ้านยางเกลือ, กลุ่มเกษตรกรบ้านโน่นสว่าง และกลุ่มเกษตรกรบ้านสมพรรัตน์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ขนิษฐา วัชราภรณ์ (2549) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายพื้นเมืองของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก ธ.ก.ส. ในจังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ขนิษฐา หอมสิน (2533) รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการอีสานเขียว ประจำปีการศึกษา 2533 โครงการส่งเสริมและอนุรักษ์อาชีพหัตถกรรมทอผ้า. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เครือมาศ  วุฒิการณ์. ชีวิต  ศรัทธาและผืนผ้า : การสืบทอดความรู้เรื่องผ้าทอ  อำเภอแม่แจ่ม  จังหวัดเชียงใหม่. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

 

-จ-

จักรพรรดิ์ อาจศิริ, ว่าที่ รต. (2545) รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาศักยภาพศูนย์การเรียนรู้ผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตร เพื่อชุมชนเข้มแข็ง : กรณีศึกษากลุ่มประชาคมผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหม่อนบ้านน้ำเกลี้ยงเวียงชัยและ กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองชุมชนวังจาน. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

จารุวรรณ  ขำเพชร และรวิญา พนาพฤกษ์ไพร. (2536) พัฒนาการผ้าหม้อห้อม เมืองแพร่.               งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

จารุวรรณ  ขำเพชร  และอดินันท์  สำเนียง. (2536) การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม การแต่งกายของชาวไทลื้อ. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

จิราภรณ์  อรัณยะนาค. การศึกษาผ้าโบราณ สมัยอยุธยาตอนปลาย ถึง รัตนโกสินทร์ตอนต้นจากผ้าห่อคัมภีร์.

แจ่มจันทร์ ณ กาฬสินธุ์ และคณะ (2548) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาวัตถุดิบและกระบวนการผลิตให้ได้ คุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กรณีศึกษา:ผ้าแพรวาทอมือลายดอกแก้วเบญจรัตน์บ้านโคกกว้าง หมู่ 10 ตำบลมหาไชย อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์

 

-ช, ณ-

โชติรส ภูสมศรี และคณะ (2549) การศึกษาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมแพรวาของกลุ่มแม่บ้านเกษตรโพน บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ณรงค์ฤทธิ์  โสภา และคณะ. การผลิตผ้าไหมของชาวพื้นบ้านที่พูดภาษาเขมรในอีสานตอนใต้. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

ณัฐกานต์ นิตยพัธน์               (2549) การกำจัดสีย้อมและโลหะหนักที่ใช้ในการย้อมผ้าไหมโดย Pleurotus ostreatus.                              มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณัฐวดี พัฒนโพธิ์ และคณะ (2548) รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าย้อมสีจากธรรมชาติเพื่อธุรกิจชุมชนกุดตาใกล้ กิ่งอำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์

 

-ด, ท, ธ-

ดาราวรรณ วิรุฬหผล (2546) สถานการณ์ ด้านการผลิต การตลาด และโอกาสทางการตลาดของสินค้าศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านภายใต้โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ของภาคเหนือ: กรณีศึกษา ผ้าทอตีนจกของจังหวัดแพร่. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ทรงคุณ  จันทรจร. ผ้าชาวโส้ : ศึกษากรณีชาวโส้ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร และอ.กุสุมาย์ จ.สกลนคร. งานวิจัยวัฒนธรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

ทัศนีย์  บัวระภา  และคณะ. ผ้าไทญ้อ : ศึกษากรณีชาวไทญ้อ  บ้านแซงบ

คำสำคัญ (Tags): #ผ้าทอ#ผ้าไทย
หมายเลขบันทึก: 368757เขียนเมื่อ 23 มิถุนายน 2010 20:54 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 01:46 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

สวัสดีครับ คุณราชิต สุพร

ขอบคุณภาพสวยๆ และคำสวยๆ ครับ ;)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท