สรุป ลปรร.PCA NODE ครั้งที่ 3 ที่ อ.หลังสวน ตอนที่ 3


วันที่ 29- 30 พฤศจิกายน 2553

สรุปประเด็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเด็น "การดูแลผู้พิการโดยชุมชน"  โดย

ศูนย์การเรียนรู้กายอุปกรณ์  สถานีอนามัยบ้านควน เริ่มต้นจากการทำวิจัยในกลุ่มผู้พิการ ทำให้ทราบว่าผู้ป่วยยังขาดอุปกรณ์ในการทำกายภาพบำบัด จึงได้รวบรวมกายอุปกรณ์ในท้องถิ่นมารวบรวมไว้เป็นส่วนกลาง แล้วจัดระบบการให้บริการ แบบให้บริการในศูนย์และยืมอุปกรณ์ไปใช้ที่บ้าน กระบวนการที่ได้คือ

-มีเครือข่ายสุขภาพลงเยี่ยมผู้ป่วยและสอนผู้ป่วย  ญาติผู้ป่วยในการทำกายภาพบำบัดและวิธีการใช้กายอุปกรณ์

-ชุมชนเข้มแข็ง

-การใช้กายอุปกรณ์ทำให้ผู้ป่วยอาการดีขึ้นจึงเกิดการยอมรับทั้งประชาชนในหมู่บ้าน  อบต.จึงสนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาศูนย์ฯ

-จัดอบรมผู้ดูแลผู้พิการ แก่อาสาสมัครสาธารณสุขแกนนำ (อสมก.) เพื่อทำหน้าที่เยี่ยมบ้าน  ฟื้นฟูสภาพ  เดือนละ 1 ครั้ง

-มีเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานน้อยแต่สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง

-มีการหมุนเวียนการใช้กายอุปกรณ์ในชุมชน

ประเด็นแลกเปลี่ยนการดูแลผู้พิการโดย CUP สิชล

-ใช้สมุดติดตามเยี่ยมผู้ป่วย(สมุดเล่มเหลือง)

-จัดทำทะเบียนผู้พิการเพื่อง่ายต่อการติดตาม

-แต่งตั้งคณะกรรมการผู้พิการ

-มีศูนย์ดูแลผู้ป่วย 2 ศูนย์ ดูแลผู้พิการในพื้นที่

-มีกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน

-มีอาสาสมัคร  อพมก. ช่วยติดตามเยี่ยมบ้านฟื้นฟูสภาพ 

ประเด็นแลกเปลี่ยนการดูแลผู้พิการโดย สถานีอนามัยบ้านบางทอง

-แบ่งทีมทำงาน 12 ทีม ผู้พิการ 12 กลุ่ม  เพื่อสะดวกในการทำงานและผู้พิการได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง

-มีการศึกษาผู้ป่วยเฉพาะราย

-กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน

-แบ่งเขตรับผิดชอบผู้ดูแลผู้พิการอย่างชัดเจน

-อบรม อสม.แกนนำ ดูแลผู้พิการ

ประเด็นแลกเปลี่ยนการดูแลผู้พิการโดย CUP  ฉวาง (ศูนย์เรียนรู้ผู้พิการวัดกระเบียด)

-กายภาพบำบัด,แพทย์แผนไทย

-เยี่ยมบ้านแบบ inhomeness

1.ผลักดันให้เกิดศูนย์กายอุปกรณ์ในชุมชน

2.สร้างนวัตกรรมด้านกายอุปกรณ์

3.นำตัวอย่างกายอุปกรณ์ไปใช้

4.นำแพทย์ทางเลือกมาใช้

5.เสริมพลังให้แก่ผู้พิการ

6.ค้นหาภูมิปัญญาท้องถิ่นในพื้นที่ 

-การใช้กายอุปกรณ์ทำให้ผู้ป่วยอาการดีขึ้นจึงเกิดการยอมรับทั้งประชาชนในหมู่บ้าน  อบต.จึงสนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาศูนย์ฯ

-จัดอบรมผู้ดูแลผู้พิการ แก่อาสาสมัครสาธารณสุขแกนนำ (อสมก.) เพื่อทำหน้าที่เยี่ยมบ้าน  ฟื้นฟูสภาพ  เดือนละ 1 ครั้ง

-มีเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานน้อยแต่สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง

-มีการหมุนเวียนการใช้กายอุปกรณ์ในชุมชน

ประเด็นแลกเปลี่ยนการดูแลผู้พิการโดย CUP สิชล

-ใช้สมุดติดตามเยี่ยมผู้ป่วย(สมุดเล่มเหลือง)

-จัดทำทะเบียนผู้พิการเพื่อง่ายต่อการติดตาม

-แต่งตั้งคณะกรรมการผู้พิการ

-มีศูนย์ดูแลผู้ป่วย 2 ศูนย์ ดูแลผู้พิการในพื้นที่

-มีกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน

-มีอาสาสมัคร  อพมก. ช่วยติดตามเยี่ยมบ้านฟื้นฟูสภาพ 

ประเด็นแลกเปลี่ยนการดูแลผู้พิการโดย สถานีอนามัยบ้านบางทอง

-แบ่งทีมทำงาน 12 ทีม ผู้พิการ 12 กลุ่ม  เพื่อสะดวกในการทำงานและผู้พิการได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง

-มีการศึกษาผู้ป่วยเฉพาะราย

-กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน

-แบ่งเขตรับผิดชอบผู้ดูแลผู้พิการอย่างชัดเจน

-อบรม อสม.แกนนำ ดูแลผู้พิการ

ประเด็นแลกเปลี่ยนการดูแลผู้พิการโดย CUP  ฉวาง (ศูนย์เรียนรู้ผู้พิการวัดกระเบียด)

-กายภาพบำบัด,แพทย์แผนไทย

-เยี่ยมบ้านแบบ INHOMESSS

สิ่งที่จะกลับไปทำ/สิ่งที่จะนำไปใช้

1.ผลักดันให้เกิดศูนย์กายอุปกรณ์ในชุมชน

2.สร้างนวัตกรรมด้านกายอุปกรณ์

3.นำตัวอย่างกายอุปกรณ์ไปใช้

4.นำแพทย์ทางเลือกมาใช้

5.เสริมพลังให้แก่ผู้พิการ

6.ค้นหาภูมิปัญญาท้องถิ่นในพื้นที่

 

หมายเลขบันทึก: 412687เขียนเมื่อ 8 ธันวาคม 2010 21:06 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 10:36 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ชุมชนใกล้ชิดชาวบ้าน ชุมชนดูแลชาวบ้าน ยิ่งดูแลคนพิการและผู้ด้อยโอกาสด้วยแล้ว เข้าหลักปรัชญาหน้าที่ชุมชนที่ดีเลยครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท