การประเมินกลุ่มปศุสัตว์"กล่มเลียงไก่พื้นเมืองบ้านป่าซาง"


เริ่มต้นจากการพัฒนาหมู่บ้านของพัฒนาชุมเพื่อให้เป็นหมู่บ้านตัวอย่างดีเด่นของอำเภอเวียงเชียงรุ้ง จึงมีงบประมาณในการสนับสนุนอาชีพบางส่วน ให้หมู่บ้านเลือกอาชีพที่สนใจ ในการคัดเลือกเกษตรกรในหมู่บ้านบางส่วนเห็นความสำคัญในการเลี้ยงไก่

ประวัติความเป็นมาของกลุ่มเลี้ยงไก่บ้านป่าซาง

 เริ่มต้นจากการพัฒนาหมู่บ้านของพัฒนาชุมเพื่อให้เป็นหมู่บ้านตัวอย่างดีเด่นของอำเภอเวียงเชียงรุ้ง จึงมีงบประมาณในการสนับสนุนอาชีพบางส่วน ให้หมู่บ้านเลือกอาชีพที่สนใจ ในการคัดเลือกเกษตรกรในหมู่บ้านบางส่วนเห็นความสำคัญในการเลี้ยงไก่จึงขอรับการสนับสนุน สำนักงานพัฒนาชุมชนจึงให้จัดตั้งกลุ่มขึ้นเมื่อปี 2552 มีนายบุญเจริญ ใจน่าน เป็นประธาน และคณะกรรมการ  มีกิจกรรม มีกองทุน มีกฎกติกาข้อบังคับ ครบถ้วนตามแนวทางการสร้างกลุ่ม และได้เชิญให้ เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์จัดอบรมการเลี้ยงไก่ จัดหาไก่ตามทุนเริ่มต้นที่สำนักงานพัฒนาชุมชน สนับสนุน 5000 บาท แล้วมาแบ่งให้สมาชิกกลุ่มที่มีความพร้อมยืมไปเลี้ยงแล้วคืนเงินทุนตามที่ยืมไปพร้อมด้วยดอกเบี้ยร้อยละ 10 ต่อปี  ได้มีการประชุมและอบรมสร้างแผนการผลิตและพัฒนากลุ่มมาตามลำดับ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากวิทยาลัยการอาชีพอบรมการเลี้ยงไก่ไข่แบบปล่อยหลังบ้าน ในปี 2554 และได้ขึ้นทะเบียนกลุ่มจากกรมปศุสัตว์ เมื่อ 1 ธันวาคม 2554

ประเด็นด้านกลไกการบริหารกลุ่ม

1.  ผู้บริหารกลุ่มมีแนวคิดและทัศนคติที่ดีต่อกระบวน การกลุ่ม

-นายบุญเจริญ ใจน่าน  ที่ปรึกษาของกลุ่มมีตำแหน่งเป็นอดีตผู้ใหญ่บ้านได้ริเริ่มให้มีการตั้งกลุ่มร่วมกับนายสมศักดิ์ ใจน่าน เป็นรองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลป่าซาง และกรรมการหลายคนของหมู่บ้าน เห็นความสำคัญของการเลี้ยงไก่เป็นอาชีพเสริมสร้างราย ได้ จึงมีการรวมกลุ่มเพื่อสามารถขอความช่วยเหลืออุดหนุนจากส่วนราชการ ท้องถิ่นได้ให้มีความเข้มแข็งแก้ไขปัญหาไก่ป่วยไก่ตายได้

2.  ที่ทำการกลุ่มใช้ศาลาอเนกประสงค์ของหมู่บ้าน เป็นที่ทำการ และได้ใช้ประโยชน์ในการอบรม  การประชุมแต่ละครั้ง ตลอดจนการ เป็นศูนย์รวมการทำอาหารของกองทุนอาหารสัตว์อีกด้วย 

3.  มีคณะกรรมการที่ได้รับบทบาท แบ่งหน้าที่ชัดเจน

รายชื่อคณะกรรมการบริหารกลุ่มชุดแรก

นายศุภเชษฐ์  ใจน่าน    ประธาน

นายตุ่นแก้ว    จันดีมาก  รองประธาน

นายชาญชัย   มะโนตัน  เลขานุการ

นางแสงดาว  ใจหะวัน  เหรัญญิก

นางอำพร  ใจน่าน  กรรมการ

เมื่อครบวาระ ๒ ปีได้มีการเลือกคณะกรรมการชุดใหม่ตามมติที่ประชุมกลุ่มเมื่อ วันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๖ มีนายบุญเจริญ  ใจน่าน  เป็นประธาน    

4.  มีระเบียบข้อบังคับที่ชัดเจนและได้รับการยอมรับจากสมาชิก

ระเบียบกลุ่มการเลี้ยงไก่บ้านป่าซาง

1.  ระเบียบนี้เรียกว่าระเบียบกลุ่มผู้เลี้ยงไก่บ้านป่าซางหมู่ที่ 3 ตำบลป่าซาง อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย

2.  ระเบียบนี้ตั้งโดยกลุ่มผู้เลี้ยงไก่ โดยมีสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการเริ่มแรกทั้งหมด 8 คน ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 กุมภาพัน ๒๕๕๔ โดยมีผู้ใหญ่บ้านเป็นที่ปรึกษาดูแล ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านเป็นพยาน

3.  ระเบียบของกลุ่มมีข้อบังคับดังนี้

4.  สมาชิกที่เข้าร่วมกลุ่มครั้งแรกจากการ ยื่นความประสงค์ลงทะเบียนเลี้ยงไก่ ณ บ้านผู้ใหญ่บ้านฟรี หลังจากผู้ใหญ่บ้านประกาศประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบ

5.  สมาชิกจะมีการประชุมประจำปี ในเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี เพื่อที่จะประเมินผล รายรับและรายจ่ายของกลุ่ม

6.  สมาชิกจะต้องทำบันทึกการเลี้ยงไก่ จำนวนไก่ที่เลี้ยงและเสนอปัญหาและแนวทางแก้ไขต่อคณะกรรมการและหน่วยงานรับผิดชอบต่อไปป

7.  หากสมาชิกที่นำไก่ไปเลี้ยง มีกรณีไก่ตายให้สมาชิกแจ้งผู้ใหญ่บ้านทราบทั้งรีบแจ้งให้ประธานกลุ่มทราบเพื่อที่จะหาทางช่วยเหลือต่อไป

8.  กรณีไก่ตายด้วยโรคหรือภัยธรรมชาติ ที่เป็นเหตุสดวิสัย ทางกลุ่มจะมีการพิจารณาตามความเหมาะสม ก็จะมีให้ความช่วยเหลือตามน้ำหนักและราคาของไก่ต่อไป

9.  ในที่ประชุมมีมติเห็นควรให้สมาชิกจ่ายค่าดอกเบี้ยให้กับกลุ่มผู้เลี้ยงไก่จากรายละคิดจากทุนร้อยละ ๕ บาทต่อปี หรือต่อรอบโครงการ

10.  เมื่อครบรอบหนึ่งปีหรือเดือนกุมภาพันธ์ ให้สมาชิกเลี้ยงไก่ทุกคนนำเงินมาชำระที่เหรัญญิก ในที่ประชุมประจำปีเพื่อจะได้รวบรวมยอดเงินเพื่อชื้อไก่ให้สมาชิกที่มีความประสงค์เลี้ยงไก่ต่อไป

11.  การสิ้นสุดของคณะกรรมการ มีวาระสองปี แล้วมีการตั้งกรรมการชุดใหม่

12.  การแก้ไขระเบียบจะต้องให้สมาชิกกลุ่มร่วมกันพิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมเป็นมติที่ประชุมใหญ่ประจำปี

5.  มีการเก็บข้อมูลด้านการเลี้ยงสัตว์ของสมาชิกและกลุ่มที่เป็นปัจจุบัน   ยังไม่มีการเก็บอย่างชัดเจนเพียงแต่สอบถามในที่ประชุมบ้างเท่านั้นเอง

6.  มีการสอบถามยอดจำนวนไก่ที่เลี้ยงไว้ทุกครั้งที่มีการประชุมดังนี้

ชื่อ

จำนวนไก่(ตัว)

นายบุญเจริญ ใจน่าน

43

นายสมเมต  มะโนตัน

76

นางอัมพร  ใจน่าน

46

นางสุพรรณ  ปวนปันคำ

42

นางจันทร์ฝน  หอมกลิ้ง

51

นายเงา  ยศยาคำ

44

นางวันเพ็ญ  ใจน่าน

33

นางฟองนวล  ใจน่าน

27

นางเถาวัลย์  ปัญโญกาส

86

นางปัน  ต๊ะนา

72

นายนินทนาท  ตันทอง

89

นายสมศักดิ์  ใจน่าน

53

นายบุญมา  คำเฟย

51

นายสะอาด  ศรีพรม

65

นายศุภเชษฐ  ใจน่าน

76

นางศรีออน  ใจน่าน

66

นายตุ่นแก้ว  จันดีมาก

59

นางลิม  จ๋าจุ่มป๋า

73


7.  มีการประชุมสมาชิกเป็นประจำและสมาชิกส่วนใหญ่เข้าร่วมแสดงความคิดเห็น

8.  มีการประชุมพบปะหารือระหว่างกรรมการอย่างสม่ำเสมอ

9.  มีการกำหนดวัตถุประสงค์และแผนการดำเนินการสู่วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน

เป้าหมายที่สำคัญที่สุดของกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่บ้านป่าซางหมู่ที่ 3

ที่

เป้าหมายที่สำคัญที่สุดของกลุ่ม

ความรู้ที่จะทำให้บรรลุเป้าหมาย

ทักษะจำเป็น

1

มีการเพิ่มจำนวนไก่พื้นเมืองในกลุ่มให้ได้พร้อมขายได้จำนวน 1000 ตัวต่อเดือนในเวลา 6 เดือน

การอบรมการเลี้ยงไก่อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต เช่นหลักสูตรการทำอาหาร แบบประหยัดการพัฒนาการเลี้ยงที่ยั่งยืนการป้องกันโรค

การคัดพ่อพันธ์แม่พันธ์ที่โตเร็วการผสมเทียมไก่การตอนไก่การทำสุมกกไก่แบบต่างๆการทำตู้ฟักไข่

2

การเพิ่มจำนวนแม่พันธ์ให้ได้

รายละ 3 ตัว

ให้ทุกรายจัดหาแม่พันธุ์ไก่จำนวน 3ตัวในระยะเวลา 3 เดือน  (สิงหาคม,กันยายน,ตุลาคม )

การคัดพ่อแม่ไก่พันธุ์ดี

10.  มีการวางแผนการผลิตที่สอดรับกับความต้องการของตลาดและลูกค้า สมาชิกกลุ่มวางแผนร่วมกันจะผลิตไก่พื้นเมืองให้ได้จำนวนมากที่สุดในช่วงเดือนธันวาคม ถึงเมษายน ของทุกปี เนื่องจากมีราคาดีและตลาดมีความต้องการมาก โดยเน้นการเลี้ยงแบบธรรมชาติใช้วัสดุในท้องถิ่นให้มากที่สุด

11.  มีการประเมินสถานภาพและสมรรถนะของการผลิตของกลุ่ม

ชื่อ

จำนวนไก่พ่อ/แม่พันธุ์(ตัว)

รวมทั้งหมด(ตัว)

หมายเหตุ

นายบุญเจริญ ใจน่าน

1/4

43

นายสมเมต  มะโนตัน

2/6

76

นางอัมพร  ใจน่าน

2/5

46

นางสุพรรณ  ปวนปันคำ

2/4

42

นางจันทร์ฝน  หอมกลิ้ง

1/5

51

นายเงา  ยศยาคำ

1/6

44

นางวันเพ็ญ  ใจน่าน

2/4

33

นางฟองนวล  ใจน่าน

1/4

27

นางเถาวัลย์  ปัญโญกาส

2/8

86

นางปัน  ต๊ะนา

2/7

72

นายนินทนาท  ตันทอง

2/9

89

นายสมศักดิ์  ใจน่าน

1/6

53

นายบุญมา  คำเฟย

1/5

51

นายสะอาด  ศรีพรม

1/6

65

นายศุภเชษฐ  ใจน่าน

2/8

76

นางศรีออน  ใจน่าน

2/7

66

นายตุ่นแก้ว  จันดีมาก

2/5

59

นางลิม  จ๋าจุ่มป๋า

2/8

73

12.  มีการวางแผนการผลิตที่สอดรับกับความต้องการของตลาดและลูกค้า

มค.

กพ.

มีค

เมย

พค.

มิย

กค

สค.

กย

ตค

พย

ธค

แผนการผลิตไก่(ตัว)

100

100

100

100

50

50

50

50

50

50

100

100

13.  มีกิจกรรมให้ความรู้แก่สมาชิกทั้งที่จัดเองร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ  มีการอบรมให้ความรู้ด้านต่างๆเป็นประจำโดยเชิญปศุสัตว์อำเภอ พัฒนากรอำเภอ เจ้าหน้าที่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์มาพบปะแนะนำเสริมความรู้ประสบการณ์

14.  มีกิจกรรมการให้บริการเพื่อสนับสนุนการเลี้ยงสัตว์ของสมาชิก

15.  มีกิจกรรมแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนาการเลี้ยงสัตว์ที่เกิดจากความเห็นร่วมของกลุ่ม

  16. มีระบบการทำบัญชี การตรวจสอบและรายงานบัญชีต่อที่ประชุมของกลุ่ม

(มีรายงานการประชุมที่มีการรายงานเงินออมของสมาชิกทุกครั้งที่มีการประชุม จากการบันทึกจะเห็นได้ว่าในปีแรกมีเงินทุนจากการสนับสนุนของสำนักงานพํฒนาชุมชน ๔๐๐๐บาทและต่อยอดให้ปีที่ ๒ อีก ๕๐๐๐บาท และในปีนี้ ธนาคารเกษตรและสหกรณ์ สาขาเวียงเชียงรุ้ง ต่อยอดให้อีก ๘๐๐๐ บาท  

17. มีจำนวนสมาชิกคงเดิมหรือเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

  (ข้อมูลจำนวนสมาชิก เริ่มต้นมี ๘ ราย ปัจจุบันมี๒๖ ราย ตามที่มีการบันทึกผู้ที่เข้าร่วมประชุมกลุ่มครั้งล่าสุด)

18. มีการเพิ่มขึ้นของเงินออมของสมาชิก

  มีรายงานการประชุมที่มีการรายงานเงินออมของสมาชิกทุกครั้งที่มีการประชุม จากการบันทึกจะเห็นได้ว่าในปีแรกมีเงินทุนจากการสนับสนุนของสำนักงานพํฒนาชุมชน ๔๐๐๐บาทและต่อยอดให้ปีที่ ๒ อีก ๕๐๐๐บาท และในปีนี้ ธนาคารเกษตรและสหกรณ์ สาขาเวียงเชียงรุ้ง ต่อยอดให้อีก ๘๐๐๐ บาท

19. มีการเพิ่มขึ้นของทุนดำเนินการหรือทรัพย์สินของกลุ่ม

ทรัพย์สินที่เป็นของกลุ่ม ได้แก่ผสมอาหาร, หรือถัง ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมปสุสัตว์

20. มีการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจากการบริหารทุนดำเนินการของกลุ่มแก่สมาชิกอย่างยุติธรรม

เนื่องจากเงินทุนต่างๆยังมีน้อย กลุ่มบริหารจัดการโดยการจัดหาไก่มาให้สมาชิกที่ต้องการเลี้ยงตามจำนวนเงินทุนและเมื่อครบรอบปี จะให้สมาชิกนำไก่มาคืนตามจำนวนน้ำหนักที่ยืมไปหรือได้รับไป บวกกับดอกเบี้ยร้อยละ ๑๐ ต่อปี


21. มีการเพิ่มขึ้นของจำนวนสัตว์ ผลผลิต และประสิทธิภาพในการเลี้ยงสัตว์ของสมาชิกกลุ่ม

จากการสำรวจการเลี้ยง ปรากฏว่าจำนวนไก่ของเกษตรกรสมาชิกกลุ่มมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกราย

บทบาทการเชื่อมโยงกับชุมนุมท้องถิ่น

22. มีความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการร่วมกันแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนาการเลี้ยงสัตว์ของสมาชิกกลุ่ม

(แนบภาพการพ่นทำลายเชื้อ และภาพสัตว์ ของเกษตรกร แล้วอธิบายว่า ปัจจุบันสัตว์ที่เกษตรกรเลี้ยงมีความแข็งแรง เนื่องจากการแก้ไขร่วมกันของกลุ่ม หรืออาจจะเป็นภาพความสำเร็จของกลุ่มในด้านการมีผลิตภัณฑ์สัตว์อินทรีย์ ซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มกัน หรือเป็นการรวมกลุ่มกันผลิตอาหารเพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงสัตว์ โดยแนบรูปภาพแล้วเขียนอธิบายว่าดำเนินการอะไร สำเร็จอย่างไร )

บทบาทการเชื่อมโยงกับชุมนุมท้องถิ่น

23. มีโครงการหรือกิจกรรมการสนับสนุนจากท้องถิ่นหรือหน่วยงานต่าง ๆ

(แนบตัวโครงการ หรือภาพกิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากท้องถิ่น แล้วเขียนอธิบายว่า เป็นกิจกรรมอะไร ดำเนินการยังไง ท้องถิ่นสนับสนุนอะไรบ้าง  ฯลฯ  )

24. มีกิจกรรมที่แสดงให้เห็นความร่วมมือหรือเชื่อมโยงกับกลุ่มหรือเครือข่ายอื่น ๆ

มีการประชุมร่วมกับกลุ่ม........................เพื่อ.....................................................

(แนบภาพถ่าย หรือ เอกสาร อื่น ๆ ที่เชื่อมโยงกับกลุ่มหรือเครือข่ายอื่น เช่น ด้านการตลาด หรือการศึกษาดูงานกับกลุ่มอื่นๆ โดยให้อธิบายใต้รูปว่า ทำอะไร กับกลุ่มไหน )

25. มีการนำสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสาธารณะหรือชุมชน

(แนบรูปภาพที่สมาชิกร่วมทำกิจกรรม เช่น  ร่วมงานบุญ พิธีกรรม หรืองานอื่น ๆพร้อมอธิบายภาพ)

26. มีกิจกรรมร่วมกันเพื่อการอนุรักษ์หรือพัฒนาสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน

 มีการปลูกต้นไม้ข้างทาง ?

(แนบรูปภาพที่สมาชิกร่วมทำกิจกรรม เช่น ตัดต้นไม้ข้างทาง ถางหญ้า  หรืองานอื่น ๆพร้อมอธิบายภาพ)


หมายเลขบันทึก: 540786เขียนเมื่อ 28 มิถุนายน 2013 11:09 น. ()แก้ไขเมื่อ 29 มิถุนายน 2013 19:45 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ขอบคุณท่า ปศุสัตว์  เป็นเรื่องที่มากที่นำข้อมูลการบันทึกการเลี้ยงไก่

พัทลุงก็ทำโครงการเลี้ยงไก่เหมือนกัน

ไก่พันธ์ประดู่หางลาย หาซื้อได้ที่ไหนครับ

เชิญแลกเปลี่ยนการเลี้ยงไก่ที่นี้ครับ(http://www.gotoknow.org/dashboard/home#/posts/540138)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท