บัวชูฝัก
นาย เศกสรร ครูเศก แสงจินดาวงศ์เมือง (สายวงศ์คำ)

นาฏศิลป์๓


การเรียนนาฏศิลป์มีความมุ่งหมายดังนี้

   1. เพื่อเป็นการปลูกฝังและส่งเสริมนิสัยทางศิลปะแก่ผู้เรียน

   2. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจยิ่งขึ้น

   3. เพื่อเป็นการส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมของชาติให้คงอยู่สืบไป

   4. เพื่อเป็นการฝึกให้รู้จักกล้าแสดงออก 

การเรียนนาฏศิลป์ทำให้เกิดประโยชน์ดังนี้

   1. ทำให้เป็นคนรื่นเริงแจ่มใส

   2. มีความสามัคคีในหมู่คณะ

   3. สามารถยึดเป็นอาชีพได้

   4. ทำให้รู้จักดนตรีและเพลงต่าง ๆ

   5. ทำให้เกิดความจำและปฏิภาณดี

   6. ช่วยให้เป็นคนที่มีบุคลิกท่าทางเคลื่อนไหวสง่างาม

   7. ช่วยในการออกกำลังกายได้เป็นอย่างดี

   8. ได้รับความรู้นาฏศิลป์จนเกิดความชำนาญ  สามารถปฏิบัติได้ดีมีชื่อเสียง

          (สุมิตร  เทพวงษ์.2548 :4)

          การเรียนนาฏศิลป์ผู้ที่เริ่มเรียนควรมีคุณสมบัติดังนี้

       1. ต้องมีความสนใจและตั้งใจจริง

       2. ต้องทำใจให้รักและนิยมในศิลปะแขนงนี้

       3. ต้องมีสมาธิแน่วแน่ในขณะปฏิบัติ

       4. ต้องเป็นผู้ที่ช่างสังเกต

       5. ต้องพยายามเลียนแบบครูให้มากที่สุด

       6. ต้องเป็นผู้ที่ไม่ท้อถอยต่อความยากของบทเรียน  หรือความเมื่อยล้าที่เกิดขึ้น

       7. ต้องเป็นผู้ที่ขยันในการทบทวนฝึกซ้อมท่ารำอยู่สม่ำเสมอ

    หมายเลขบันทึก: 673312เขียนเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2019 19:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2019 19:12 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


    ความเห็น (0)

    ไม่มีความเห็น

    พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
    ClassStart
    ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
    ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
    ClassStart Books
    โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท