วัคซีนไฟเซอร์ ต้องอยู่ในระบบความเย็นจัด


วัคซีนไฟเซอร์ ป้องกันโควิดมาถึงไทยแล้ว ฉีดให้ใครบ้าง วางแผนกันไปแล้ว

สิ่งที่น่ากังวลคือระบบขนส่งColdChain ต้องใช้ความเย็นจัด

https://www.thairath.co.th/scoop/theissue/2098620

นายกสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์ ให้ข้อมูลว่า

ความเย็นระดับลบ70นั้น เป็นความท้าทาย

ความเย็นระดับนี้ จะมีสภาพแวดล้อมทำงานไม่ง่าย

ต้องลงทุน หากจำเป็นต้องส่งวัคซีนที่ต้องรักษาอุณหภูมิ ต่ำกว่าลบ70องศา

 

ตอนอินเดียวางแผนฉีดวัคซีน ประชากรเป็นพันล้าน

ก็กังวลเรื่องระบบColdChain

จึงใช้วัคซีน Covaxin (เหมือนSinovac/SinoPharm)

และ Covishield (เหมือนAstarZeneca) เป็นหลัก

ทั้ง2ชนิดเก็บที่2-8องศา ซึ่งอินเดียก็ไม่มั่นใจนัก ว่าจะมีปัญหาเมื่อดำเนินการหรือไม่

มีการตรวจสอบระบบความเย็น และซักซ้อมการขนส่ง  ปรับปรุงอยู่หลายรอบ ก่อนเริ่มการลงมือฉีดวัคซีนครั้งยิ่งใหญ่

https://www.bbc.com/news/world-asia-india-55748124

วัคซีนmRNA อย่างไฟเซอร์ และโมเดอร์นานั้นต้องเก็บที่อุณหภูมิต่ำมากๆ เพราะไลปิดที่หุ้มอยู่สลายเร็วมาก

ข่าวการติดเชื้อหลังวัคซีนครบ (Breakthrough Infection) ในอิสราเอล และสหรัฐ อาจเกิดจากประสิทธิภาพของวัคซีนเอง

หรือปัจจัยจากการขนส่ง และเก็บรักษา ส่งผลต่อวัคซีนที่ต้องเก็บในที่เย็นจัด

อิสราเอล ใช้วัคซีนไฟเซอร์ทั้งประเทศ เคสกำลังเพิ่ม

สหรัฐ ใช้วัคซีนไฟเซอร์/โมเดอร์นา เป็นหลัก เคสกำลังเพิ่ม

สหราชอาณาจักรใช้วัคซีนแอสตราซีนีกา/ไฟเซอร์/โมเดอร์นา เป็นหลัก เคสเริ่มลด

ชิลีใช้วัคซีนซิโนแวค/แอสตราซีนีกา/ไฟเซอร์ เคสเริ่มลด

มีวัคซีนประสิทธิภาพต่ำผสม แต่Logisticอาจง่ายกว่า

ในสหรัฐ สันนิษฐานว่ามีพวกต่อต้านวัคซีน (AntiVaxx) และพวกยังไม่แน่ใจ ขอรอดูก่อน (Vaccine hesitancy) ยังไม่ยอมฉีดวัคซีน เป็นปัจจัยให้เคสเพิ่ม

แต่ดูข้อมูลรวมๆ รัฐที่ฉีดวัคซีน%สูง เคสก็เพิ่ม

แคลิฟอร์เนีย นิวยอร์ก แมสซาชูเสตต์ มิชิแกน ที่ตั้งโรงงานวัคซีนไฟเซอร์

ต้องเฝ้าดูกันต่อไป

หมายเลขบันทึก: 691800เขียนเมื่อ 5 สิงหาคม 2021 11:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 สิงหาคม 2021 11:29 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท