ประชาธิปไตย : เผด็จการทางความคิดในโลกปัจจุบัน เอกสารอ้างอิง & footnote


การแปลงรูปแบบจาก MS Word มาลง blog ยังดูเป็นปัญหาใหญ่ของผมเช่นเดิม เฮ้อ
เอกสารอ้างอิงหลัก
                 กระมล  ทองธรรมชาติ และ คณะ.หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : อจท.(ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔).ศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔.
                 เอกรินทร์ สี่มหาศาล และ คณะ. ตำราแม่บทมาตรฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : อจท.(ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔).  
                     Arblaster, Anthony. Democracy. Buckingham-Philadelphia : Open University Press(2002).
                            Hattersley, Alan F. A Short History of Democracy. UK : Oxford University Press(1930).
                 Held, David. Model of Democracy. California : Stanford University Press(1987).
                 Nettleship, Richard L.
                          a)        Leeson, Spencer (ed.) Lecture on Plato’s Republic. New York : st. Martin Press(1961).
                                 b)        Bradley, Andrew C. (ed.)  Philosophical Remains. New York : Macmillan(1901).
                                 c)        Leeson, Spencer (ed.) The Theory of Education in Plato’s Republic. Oxford : Clarendon Press (1935).
                   Plato. Politeia.
                                  a)        Bloom, Allan (trans.).The Republic of Plato. Cambridge : Cambridge University Press, (1963).
                           b)        Lee, Desmond (trans.). The Republic. London : Penguin(2002).
 เอกสารอ้างอิงประกอบ
                    ณัฐธงชัย  วิชญางกูล(แปล), โซลอนแห่งเอเธนส์ และ ไลเคอร์คัสแห่งสปาร์ตาร์ : ทฤษฏีประชาธิปไตยและเผด็จการ. แปลจาก Frederick Ungar, Friedrich Schiller, an Anthopology foe Our Time with an Account of His Life and Work.(เอกสารไม่ทราบที่มา, ห้องสมุด ศจ. ดร.ดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
                    นิธิ เอียวศรีวงศ์, วัฒนธรรมของชนชั้นกลางไทย, สังศิต พิริยะรังสรรค์, ผาสุก พงษ์ไพจิตร(บก.)  ชนชั้นกลางบนกระแสประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ : 179(๒๕๓๖) น. ๕๐ - ๕๖.
                    ประยูร ธมฺมจิตฺโต. ปรัชญากรีก : บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. กรุงเทพฯ : ศยาม (๒๕๔๔).
                    ปรีชา เอี่ยมพงศ์สานต์, ทฤษฏีชนชั้นกลาง, สังศิต พิริยะรังสรรค์, ผาสุก พงษ์ไพจิตร (บก.) ชนชั้นกลางบนกระแสประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ : 179(๒๕๓๖) น. ๗๕.
                    สมเกียรติ วันทะนะ. อุดมการณ์การเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (๒๕๔๔).
                    อเนก เหล่าธรรมทัศน์. ม๊อบมือถือ. กรุงเทพฯ : มติชน (๒๕๓๖).
                    Andrew, A., “ The Growth of the City-State,” Hugh Lloyd-Jones(ed.) The Greek World. Balltimore : Pelican(1961) p. 34 – 36.
                    Fukuyama, Francis. The End of History and The Last Man. New York : Free Press (2002).
                    Geisse jr., Harold L., “Philosophy, Religion, and Science,” Hellas  and Rome : The Stories of Greco-Roman Civilization. p. 287 – 293.
                     Thucydides. History of The Peloponnesian War. Rex Warner(trans.) London : Penguin(1972).
อ้างอิงอิเลคทรอนิกส์
[www.moe.go.th.]
[www.marxism.org.] 
note
[1] ดูทฤษฎี และวิธีการทางปรัชญาของโซคราตีส โดยการตีความโดยสรุปจากงานของพลาโตนั้นพอจะมองได้ว่า โซคราตีสเสนอว่าเหตุผลเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ ช่วยให้คนพ้นมโนภาพที่แต่ละคนมีในแต่ละสิ่ง ซึ่งต่างคนต่างมีนิยามของแต่ละคน โซคราตีสจะใช้วิธีตั้งคำถามเพื่อหานิยาม โดยผู้นิยามนั้นเป็นผู้อธิบายนิยามของตน  เช่น ความดี  ดู ประยูร ธมฺมจิตฺโต. ปรัชญากรีก : บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. น. ๑๒๑ ๑๒๗. อนึ่ง วิธีการของโซคราตีสเรียกว่า dialectic [1] Plato. The Republic of Plato. Book VI(508 e) Allan Bloom(trans.) p. 189.[1] Sir Desmond Lee. The Republic. p.195.[1] Being หรือ ภาวะ ถูกใช้ครั้งแรกโดย Parminedes เพื่อโต้แย้งปรัชญาเรื่องการเปลี่ยนแปลง(อภาวะ)ของ Heracritus กล่าวอย่างสรุป ความเปลี่ยนแปลงเป็นเพียงปรากฏการณ์หน้าฉาก แก่นแท้หรือภาวะของโลกไม่เคยเปลี่ยนแปลง จะเข้าใจว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงได้ก็ด้วยการใช้เหตุผล ปรัชญาของพาร์มิเนเดสเป็นจุดเริ่มต้นของปรัชญาจิตนิยม(idealism) ดูรายละเอียดเพิ่ม ประยูร ธมฺจิตฺโต. อ้างแล้ว น. ๖๕ ๖๘. ส่วนปรัชญาของเฮราคริตุส เล่มเดียวกัน น. ๕๓ - ๕๗.[1] Logos เป็นรากศัพท์ของ reason เฮราคลิตุสกล่าวว่า ผู้เข้าถึง logos จะพบเอกภาพในสรรพสิ่ง แม้ในสิ่งที่ขัดแย้งกัน เช่น ดีคือเลวน้อย และเลวคือดีน้อย เป็นต้น ดู ประยูร ธมฺจิตฺโต. เพิ่งอ้าง น. ๕๕.  [1] ในระบบศีลธรรมแบบกรีก  agathon ถือเป็นความดีพื้นฐานที่สมบูรณ์แบบ เป็นความปรารถนาสูงสุด และด้วยความเชื่อว่าภาวะของมนุษย์ และตัวมนุษย์นั้นมี logos ในทางหนึ่งมนุษย์ใช้เหตุผลโดยสิ่งแวดล้อมดลใจ มนุษย์จึงเป็นหนทางสู่ความสมบูรณ์ในตัวเอง และด้วยการดลใจนั้นเกิดจากเหตุผลที่เป็นสิ่งที่ควบคุมความดี จุดจบของมนุษย์จึงเป็นการเดินทางสู่ความดี และสิ่งเหล่านี้คือสิ่งที่พลาโต้นำมาพัฒนาเป็นทฤษฏี ดู Harold L. Geisse, jr., “Philosophy, Religion, and Science,” Hellas  and Rome : The Stories of Greco-Roman Civilization. p. 287 – 293.[1] ดังที่เรารู้จักม้าได้ เพราะความเป็นม้า(the horse-ness), รู้จักคนเพราะความเป็นคน(the man-ness), รู้จักไทยเพราะความเป็นไทย(the Thai-ness) ฯลฯ ดังนั้น จะรู้จักความดีได้ก็ควรจะเป็นเพราะ ความ - ความดี (the good-ness) ดูข้อเสนอให้แปล arete เป็น goodness ทั้งหมดได้ที่ Richard L. Nettleship. Philosophical Remains. (Volume I; part IV : Plato’s conception of Goodness and the Good) p. 240 – 246. และเนทเทิลชิพได้อธิบายความคิดในส่วนนี้ของเขาไว้อีกแห่ง ว่า arete คือคุณค่าของสรรพสิ่ง คนที่ดีคือคนทีทำหน้าที่ของตนอย่างดี ผู้ที่เติมเต็มความดีด้วยการทำหน้าที่อย่างดีจึงเป็นผู้มีคุณค่าของคน(คนที่ดี/แบบของคน) ซึ่งก็ไม่ได้หมายความเฉพาะคนผู้นั้นมีเฉพาะ virtue ที่ในภาษาอังกฤษให้ความหมายทางศีลธรรมเท่านั้น ดู Richard L. Nettleship. Lecture on Plato’s Republic. p. 225 – 226.[1] Plato. The Republic of Plato. Book IV(444 d - e) Allan Bloom(trans.) p. 189.[1]  Sir Desmond Lee. The Republic. p. xxxviii.[1] Richard L. Nettleship. The Theory of Education in Plato’s Republic. p. 5.[1] ผมใช้ syntrophos แปลตรงตัวว่า companion หรือนัยยะหนึ่งอาจแปลได้ว่า to participate ส่วน anta สื่อความหมายว่า to copy ส่วน antanaklastikos แปลตรงตัวว่า reflective [1] สรุปความมาจาก Richard L. Nettleship. Lecture on Plato’s Republic. p. 242 – 258[1] โดยสรุปโสคราตีสถูกถามว่า arete นั้นได้มาด้วยการสอน หรือ ได้มาโดยการกระทำ หรือได้มาโดยธรรมชาติ (The Meno. 70A) [1] Richard L. Nettleship. Philosophical Remains. p. 265.[1] ซึ่งในรายละเอียดแล้วผมคิดว่าข้อสรุปของผมแบบนี้ไม่ถูก และเป็นการใช้ Platonic ที่เลว แต่ผมยกมานั้นเพื่อจะบอกว่าหากมองอย่างคร่าวๆจะเป็นเช่นนี้ แต่สำหรับพลาโต้มันอาจไม่เป็นเช่นนั้น[1] สมมติว่า เด็กชาย ก. ไม่เคยอ่านหนังสือหรือมีความรู้ใดๆเลยนอกจากหนังสือเล่มหนึ่งที่กล่าวว่า วงกลมมีลักษณะดังนี้      เด็กชาย ก. จะไม่สามารถเข้าใจถึงแบบของวงกลมที่สมบูรณ์ที่เป็นจริง เขาก็จะสร้างสมมติฐานของวงกลมจากสิ่งที่เขารับรู้จาก ความรู้(หนังสือ) และเขาก็จะคิดว่าวงกลมเบี้ยวๆของเขา คือวงกลมอันสมบูรณ์ แต่ในขณะที่ความรู้ในระดับการคำนวณ(hypothetical)ของพลาโต้นั้น เป็นเรื่องในเชิงคณิตศาสตร์ และเรขาคณิต วงกลมของเด็กชาย ก. จึงเป็นวงกลมที่สมบูรณ์ไปไม่ได้จนกว่าเด็กชาย ก. จะได้อ่านหนังสือคณิตศาสตร์(รับรู้ความรู้) แต่หากในห้องของเด็กชาย ก. ไม่มีหนังสือคณิตศาสตร์ หรือหนังสือคณิตศาสตร์ในห้องถูกเขียนขึ้นจากลายมือ(ที่วงกลมไม่ได้จำลองแบบของวงกลมในอุดมคติ) คำถามคือการคำนวณอย่างที่พลาโต้อธิบายเกิดขึ้นหรือไม่ ผมตอบเลยว่าทั้งเกิด และไม่เกิด คือเกิดการใช้เหตุผลคำนวณและสร้างตรรกะ,สมมติฐานถึงวงกลมอันสมบูรณ์ แต่วงกลมไม่มีวันสมบูรณ์ในโลกแห่งความเป็นจริงเพราะ ทัศนะที่เด็กชาย ก. มีนั้น หากเป็นใน ทัศนะแบบพลาโต้ เด็กชาย ก. ผิดตั้งแต่ต้น หรือนั่นคือเด็กชาย ก. ก้าวพ้นการรับรู้ในระดับความเชื่อแล้ว แต่ยังไปไม่ถึงระดับการคำนวณ เขาตกอยู่ในระดับบางอย่างที่พลาโต้ไม่ได้อธิบาย การที่มนุษย์ผู้ใดจะสามารถอธิบาย ความเป็นจริงในมุมของเขา นั้น ไม่สามารถไกลไปกว่าพื้นฐานความรู้หรือทัศนะของผู้ที่ตกอยู่ภายใต้ โครงสร้างความรู้ เลย [1] Alan F. Hattersley. A Short History of Democracy. p. 27 – 29.[1] ดูเพิ่มเติม ณัฐธงชัย  วิชญางกูล(แปล), โซลอนแห่งเอเธนส์ และ ไลเคอร์คัสแห่งสปาร์ตาร์ : ทฤษฏีประชาธิปไตยและเผด็จการ. แปลจาก Frederick Ungar, Friedrich Schiller, an Anthopology foe Our Time with an Account of His Life and Work.(เอกสารไม่ทราบที่มา, ห้องสมุด ศจ. ดร.ดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).[1] และเมื่อประชาชนโดยมากของกรีกเป็นคนจน ในทางหนึ่งประชาธิปไตยจึงถูกมองว่าเป็นการปกครองของพวกคนจน ดู Anthony Arblaster. Democracy. p. 15.[1] ดูรายละเอียดประวัติศาสตร์โดยสังเขปที่ Alan F. Hattersley. A Short History of Democracy. p. 76 – 140. และเพิ่มเติมที่ David Held. Model of Democracy. p. 36 – 102.[1] Aristotle. Politics. Book I(1253 A) ...แน่นอนว่าทุกสิ่งที่ปรากฏมีจุดมุ่งหมายสู่ความดีสูงสุด และเพื่อผลสัมฤทธิ์อันสมบูรณ์ และด้วยนครรัฐเกิดจากธรรมชาติ ดังนั้นมนุษย์โดยธรรมชาติคือสัตว์การเมือง และเพื่อชีวิตที่ดีแล้วมนุษย์ดำรงอยู่ไม่ได้หากปราศจากเมือง....[1]Thucydides. History of The Peloponnesian War. Book II : Pericles’ Funeral Oration(431/0. 37 – 41) Rex Warner(trans.) London : Penguin(1972) p. 143 - 151[1] แต่เดิมชาวกรีกใช้กฎหมายเพื่อดำรงเอกสิทธิ์ของชนชั้นสูงให้มีมากกว่าชนชั้นล่าง และไม่ได้มีการบันทึกเนื่องด้วยไม่มีการใช้ตัวอักษร กฎหมายลายลักษณ์อักษรเก่าที่สุดในสังคมกรีกเท่าที่ค้นพบคือที่จารึกหินเดรรอส เกาะ ครีต(Dreros of Crête ; 7th century BC)โดยพัฒนาภาษาเขียนมาจากภาษาของพวก Φοινίκη(โฟนีเชียน) และพวก Αίγυπτος(ไอยคุปต์) โดยกฎหมายที่มีชื่อเสียงที่สุดของกรีกฉบับแรกเกิดในยุคของ Draco ซึ่งถือว่าเด็ดขาด, โหดเหี้ยมและมีบทลงโทษรุนแรง(จนถูกกล่าวขานว่า The Reign of Draconian Law) ซึ่งส่งผลให้ โซลอนทำการปฏิรูปดังกล่าวมาแล้ว ซึ่งกฎหมายของโซลอนเป็นกฏหมายที่ยืดหยุ่นและให้สิทธิกับพลเมืองเข้ามามีกิจกรรมทางการเมืองในนครรัฐอย่างเท่าเทียม และด้วยการปฏิรูปทางกฎหมายนี้เองสังคมของกรีกจึงเข้าสู่ยุดแห่งภูมิปัญญา(The Solon’s Greek Enlightenment)  ดู A. Andrew, “ The Growth of the City-State,” Hugh Lloyd-Jones(ed.) The Greek World. Balltimore : Pelican(1961) p. 34 – 36.[1] สมเกียรติ วันทะนะ. อุดมการณ์การเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (๒๕๔๔) น.  ๑๗๔.[1] Anthony Arblaster. Democracy. p. 1.[1] สรุปจาก  Alan F. Hattersley. A Short History of Democracy. p. 208 – 235. และ David Held. Model of Democracy. p. 243 - 250.[1] David Held. Model of Democracy. p.1.[1] Francis Fukuyama. The End of History and The Last Man. p. xi.[1] Francis Fukuyama. The End of History and The Last Man. p. 346 - 347[1] ปรีชา เอี่ยมพงศ์สานต์, ทฤษฏีชนชั้นกลาง, สังศิต พิริยะรังสรรค์, ผาสุก พงษ์ไพจิตร(บก.) ชนชั้นกลางบนกระแสประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ : 179(๒๕๓๖) น. ๗๕.[1] สรุปจาก อเนก เหล่าธรรมทัศน์. ม๊อบมือถือ. กรุงเทพฯ : มติชน(๒๕๓๖)[1] นิธิ เอียวศรีวงศ์, วัฒนธรรมของชนชั้นกลางไทย, สังศิต พิริยะรังสรรค์, ผาสุก พงษ์ไพจิตร(บก.)  เล่มเดียวกัน. น. ๕๐ - ๕๖.[1] พจนานุกรมอิเลคทรอนิคส์ [1] ศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔.(สรุปและตัดตอนในส่วนที่เกี่ยวข้องเท่านั้น)

[1] สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม(สาระการเรียนรู้ทั้งหมดที่กำหนด)

สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรมมาตรฐาน ส ๑. :    เข้าใจประวัติ ความสำคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ สามารถนำหลักธรรมของศาสนามาเป็นหลักปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันมาตรฐาน ส ๑. :   ยึดมั่นในศีลธรรม การกระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม และศรัทธาในพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือมาตรฐาน ส ๑. :   เข้าใจประวัติ ความสำคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ค่านิยมที่ดีงาม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตน บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขสาระที่ ๒ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรมมาตรฐาน ส ๒. :   ปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองที่ดี ตามกฎหมาย ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุขมาตรฐาน ส ๒. :  เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข[1] ช่วงชั้นที่ ๒ ประถมศึกษาปีที่ ๔ : เอกรินทร์ สี่มหาศาล และ คณะ. ตำราแม่บทมาตรฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : อจท.(ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔). และ ช่วงชั้นที่ ๓ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ : กระมล  ทองธรรมชาติ และ คณะ.หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : อจท.(ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔).[1] โดยแบ่งการปกครองที่มีในโลกเพียง ๓ แบบ คือประชาธิปไตย, เผด็จการ และคอมมิวนิสต์ ดู กระมล  ทองธรรมชาติ และ คณะ.หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. น.  ๑๗๔ ๒๐๓.[1] Alan F. Hattersley. A Short History of Democracy. p. 252.[1] Anthony Arblaster. Democracy. p. 54. 
คำสำคัญ (Tags): #ปรัชญาการเมือง
หมายเลขบันทึก: 90197เขียนเมื่อ 13 เมษายน 2007 17:37 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 14:34 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

 mean  ...

สรุป ทั้งหมด...

  • แนวคิดเรื่องแบบของพลาโต้บอกว่า แบบของความดีเป็นแบบสุงสุด
  • จะมีเกณฑ์วัด ความดีสุงสุดของประชาธิปไตยได้หรือไม่?
  • พัฒนาการทางการเมืองมาสู่ประชาธิไตยในยุคปัจจุบันก็เพื่อปกป้องสิทธิและเสรีภาพของชนชั้นกลาง
  • ประเทศไทยถูกปลูกฝังให้เชื่อว่า ประชาธิปไตยเป็นระบอบที่ดีที่สุด
  • การปลูกฝังเช่นนั้น เป็นเผด็จการ และปิดกั้นสิทธิเสรีภาพทางด้านความคิด
  • เมื่อเรายังไม่สามารถค้นหาความดีสูงสุดของประชาธิปไตยตามความคิดเรื่องแบบของพลาโตได้
  • แสดงว่า ประชาธิปไตยยังเชื่อถือไม่ได้ว่าเป็นระบอบที่ดีที่สุด

แนวคิดน่าจะนำเสนอทำนองนี้... อาตมาก็ลองอ่านเล่น...

เจริญพร

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท