อนุทินล่าสุด


sr
เขียนเมื่อ

ดัชนีทุจริตไทย

2023 Corruption Perception Index for Thailand
ประมวลข้อมูล 3 แหล่ง เหตุดัชนีทุจริตไทยลดไปอยู่(อันดับ)ที่ 108 คะแนน(35/100)ต่ำสุดเท่าปี 56 และ 59 https://www.isranews.org/article/isranews-scoop/125925-isranews-CCPIICccc.html
_for more info: _
https://www.transparency.org/en/cpi/2023

For comparison (score/rank) : lower score/higher rank means higher perceived corruption
Singapore 83/5, Japan 73/16, South Korea 63/32, Malaysia 50/57, China 42/76, India 39/93, Indonesia 34/115, Philippines 34/1111115, Laos 28/136, Cambodia 22/158, Myanmar 20/162



ความเห็น (1)

ที่ประชุมจัดทำงบฯป.ป.ช. เห็นชอบใช้ 1.8 พันล. แก้ปัญหาทุจริต มี ‘อนุทิน’ เป็นปธ. https://www.isranews.org/article/isranews/125947-anutin-2.html

ที่ประชุมเห็นชอบจำนวน 56 หน่วยงาน รวม 74 โครงการ งบประมาณจำนวนทั้งสิ้น 1,802,062,900 บาท จำแนกเป็น 3 แนวทาง ดังนี้

  • แนวทางที่ 1 ปลูกฝังวิธีคิด ปลุกจิตสำนึกให้มีวัฒนธรรมและพฤติกรรมซื่อสัตย์สุจริต จำนวน 45 หน่วยงาน รวม 53 โครงการ งบประมาณ 1,116,150,400 บาท
  • แนวทางที่ 2 ป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ จำนวน 15 หน่วยงาน รวม 19 โครงการ งบประมาณ 395,436,600 บาท
  • แนวทางที่ 3 ปราบปรามการทุจริต จำนวน 4 หน่วยงาน รวม 5 โครงการ งบประมาณ 290,475,900 บาท
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
sr
เขียนเมื่อ

จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร 2566

ราชกิจจาฯเผยแพร่ประกาศสำนักทะเบียนกลาง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ณ 31 ธ.ค. 2566 รวม 66,052,615 คน เฉพาะสัญชาติไทย 65,061,190 คน https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/19079.pdf
ชาย 31,703,501 คน หญิง 33,357,689 คน
กรุงเทพมหานครมีจำนวนราษฎรมากที่สุด 5,471,588 คน นครราชสีมา 2,625,794 คน อุบลราชธานี 1,869,608 คน เชียงใหม่ 1,797,075 คน ขอนแก่น 1,779,373 คน ชลบุรี 1,618,066 คน อุดรธานี 1,558,528 คน บุรีรัมย์ 1,573,230 คน นครศรีธรรมราช 1,540,953 คน



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
serena wallas
เขียนเมื่อ

je suis mpj jqs j qs qmpsoqs oqkjsôkq pqosjpoqpo pqiousjd qpsiudpqisudpqsudp qiudpqsu qspduqp qp qs pq sdu



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
Wasawat Deemarn
เขียนเมื่อ

เขียน … ที่บ้าน

“…

ฟุตบอลไทย แพ้ อุซเบกิสถาน ๑ : ๒

โค้ชวางแผนให้ครึ่งแรก ตั้งรับ โดยใช้ผู้เล่นตัว (สำ) รอง ๆ ลงมา

ถ้ายันเสมอได้ ครึ่งหลังก็จะใช้ผู้เล่นตัวจริงลงมาบุกเพื่อทำประตู

แต่ผิดแผน ครึ่งแรกเสียประตู ก่อน ๑ ลูก

ผู้เล่นที่เลือกลงมาก็มีความผิดพลาดมากมาย

ความผิดพลาดที่ทำให้เพื่อนร่วมทีมเหนื่อยกว่าเดิม

ชี้ให้เห็นว่า ระดับผู้เล่นที่ลงมาหลายคนในครึ่งแรก

Class ยังไม่ถึง หรือ ไม่เทียบเท่าตัวจริงเกินไป

น่าเสียดาย …

…”

๓๑ ม..ค.๖๗

หลังเที่ยงคืน



ความเห็น (1)
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ดร. จันทวรรณ ปิยะวัฒน์
เขียนเมื่อ

หนึ่งเดือนผ่านไป VO2Max ขึ้นมาเป็น 44 แล้ว ผลจากการวิ่ง Pace 6



ความเห็น (1)
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
ดร. จันทวรรณ ปิยะวัฒน์
เขียนเมื่อ

เลขสวยนะ 6 โล เพซ 6



ความเห็น (1)

อ ธวัชชัย สบายดีนะคะ ดูสุขภาพแข็งแรง

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
sr
เขียนเมื่อ

ชีวิต ในปี 2567 (13)

(A new series on life issues in this year) Example 13: How to Live Properly
A body (of anybody) can be view as a ‘system’ with ‘input’, ‘output’, ‘control’ and ‘relation’ (position in space-time or ecological environment). When we look at food as input to our body and assess what ‘good food’ is (for our body), we often use indicators like taste, appearance, price, chemical residual, and (for some people) other intrinsic characters such as sugar content, fats, vitamins and minerals. For athletes, energy and protein contents may be important, too.

In a more (perhaps) scientific way, we ought to look at our body system and assess our need to maintain (adequate supplies for requirements for) proper functions over ‘long life’. We ought to look at energy and material expenditure (for the use of our body in activities in the environment) and aim to supply energy and materials to compensate (balance) these expenditures. [In other words: to obey conservation of energy and materials principles but with considerations for ‘growth’ and ‘decay’ (or aging).]

Like in industrial systems, we choose and process carefully the ‘input’, and we carefully choose and produce the ‘output’. Because we live in en environment, where and when our body is in relations to other bodes and things will limit our input and output. We relying on ‘control’ to keep our body system ‘going’ and ‘ourselves’ (as an intelligent being –body and mind) ‘going towards our goals’.

We ought to think in dynamic terms, in fuzzy terms (in some definite ‘ranges’ between min and max), quantum terms (as possibilities of ‘each in all’ that may happen), and intentional terms (to achieve targets through prioritization of resources). There are often ‘trade-off’ in the system. All input, output, control and relations can be ‘out-of-harmony’ and chaotically going.

But this is ‘life’ and in 2567 we need to rethink and relearn our way of life.



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
sr
เขียนเมื่อ

ชีวิต ในปี 2567 (12)

(A new series on life issues in this year) Example 12: Addictive narcotics (easy drugs)

Narcotic drugs (ยาบ้า ยาอี [Methamphetamine] ฝิ่น เฮโรอีน) are a major problem destroying fabrics of society especially young and very young population. Current anti-measure (rewarding police and informers for drug arrests -see https://www.thaidrugpolice.com/learning/8 [ยาบ้าเม็ดละ 3 บาท]) seems unsuccessful in stop drug spread (as shown by reports of drug arrests on newspapers every day ).

The sources of drugs seem to be over the northern border where ethnic tribes are calling for self-rule governments/administrations. Many groups are armed and collecting fund from various businesses and trades including traffic transit (checkpoints and passes/tolls). Thailand is a major market despite campaigns to stem consumption and addiction.

Recent change of drug control to allow possession of a small amount for own consumption would boost the trade and allow ‘stocking’ of some drugs (meaning easier access to drugs and easier to overdose ) which may cost and reduce health facilities.

Time to rethink?



ความเห็น (1)

These headlines are found on one page of norsorpor.com :โค่น 8 เครือข่ายยึดยาบ้าบิ๊กล็อต 25 ล้านเม็ด-ไอซ์ 1 ตัน พบพ่อให้ลูกอายุ 12 ปี นั่งรถตบตา ตร. [แนวหน้า]ปส.ทลาย 8 เครือข่ายยึดยาบ้า 25 ล้านเม็ด ไอซ์ 1 ตัน ยึดทรัพย์อีก 15 ล้านบาท [ผู้จัดการ]ตะลึง!สกัดแก๊งยานรกชายแดนเวียงแหง ยึดยาบ้าถึง 6 ล้านเม็ด-ไอซ์ 29 กก. [ผู้จัดการ] ไล่ล่ากันระทึก!รถขนยาบ้าซุกโกดังฯเชียงรายถึง 5 ล้านเม็ด-พม่าจับด้วย 2 ล้าน แถมไอซ์-ฝิ่นอีกบิ๊กล็อต [ผู้จัดการ]

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
sr
เขียนเมื่อ

ชีวิต ในปี 2567 (11)

(A new series on life issues in this year) Example 11: Life over 60

All indicators say Thailand is quickly becoming a super-ager society . This means there will be very high number of people over 60 years of age and much lower numbers of younger people in Thailand. There will be more people with age-related issues:- dependency on pensions and income support (likely more taxes on working people and businesses)
- age-related health problems: body control and functions, eyesight, hearing, immunity, mobility, memory, speaking, teeth,… (provision for affordable eye cares and eye glasses, hearing aids, mobility aids [walking stick, wheelchair,… access to buildings, transport, public facilities,…, [ suffice to say that a wide range of architectural, procedural, service issues need re-imagined and re-engineered] )
- safety from physical, mental and financial attacks (prevention and handling will need to include easily accessible and usable alarm and report devices –passive surveillance cameras are not quite useful.)
- education, entertainment and leisure – there are age-related constraints such as place, time, transport to venue that can prevent healthful activities among _agers
.
- [of course there are more issues. Would we think about them and add to this list? We don’t have long to go before we are super-agers and need to direct government and business to serve us.]



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
มาลีพันธุ์ ภูมา โรงเรียนวัดท่างาม อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
เขียนเมื่อ

หลักการบริหารโรงเรียนวัดท่างาม”PDCAP Model”



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
มาลีพันธุ์ ภูมา โรงเรียนวัดท่างาม อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
เขียนเมื่อ

นายชัชชานนท์ พลฤทธิ์ ได้รับรางวัล ครูดีพลังแห่งแผ่นดิน “คุรุคุณธรรม”ประจำปีการศึกษา 2566 ประเภท ข้าราชการครู จากกระทรวงศึกษาธิการ



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
มาลีพันธุ์ ภูมา โรงเรียนวัดท่างาม อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
เขียนเมื่อ

นางมาลีพันธุ์ ภูมา ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติครูดีพลังแห่งแผ่นดิน “คุรุคุณธรรม” ประจำปี 2566 ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา จากกระทรวงศึกษาธิการ



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
มาลีพันธุ์ ภูมา โรงเรียนวัดท่างาม อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
เขียนเมื่อ

นางมาลีพันธุ์ ภูมา รางวัล”คุรุชน คนคุณธรรม” ประเภท ผู้บริหารสถานศึกษา ระดับเขตตรวจราชการ ปี 2566



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
sr
เขียนเมื่อ

Amazing Thailand

A 1,200 Km road ambulance trip to save a 10 month old Laotian Child

A report ผอ.รพ.หนองคาย เผยสาเหตุส่งตัวเด็กลาว 10 เดือน ผ่าตัดด่วน [ https://www.naewna.com/local/782605 ] tells of a story of a humanitarian and international endeavor to rush a 10 month old Laotian child born with a heart defect from the Nongkai Hospital (หนองคาย in Thailand) to King Chulalongkorn Memorial Hospital ( โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย in Bangkok) for an urgent heart operation. The child was moved by an ambulance with police escort over 615 kilometers (on the Friendship Highway connecting Laos and Thailand). The operation was successful and the child is expected to recover back in Nongkai Hospital (also by road ambulance) before returning home in Laos.

The reason for not using air transport was given that the child could be stressed by unfamiliar vehicles of transport.

There are 35 more cases (of Laotian patients requiring special treatments only available in Bangkok hospitals) on the list awaiting operations. So, this is the beginning of a long story of friendship that Laos and Thais can build on and that humanitarian cooperation is better in action than in words.



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
Wasawat Deemarn
เขียนเมื่อ

เขียน … ที่บ้าน

“…

เชียงใหม่ อากาศหนาวเย็นแบบจริง ๆ จัง ๆ ได้ ๓ คืนแล้ว โดยนับตั้งแต่ปลายเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๖ จนถึงก่อนหน้านี้ ก็อากาศหนาวระดับที่ยังรับได้ ไม่ต้องใส่เสื้อกันหนาวมาก ตอนเช้าอากาศดี แต่ตอนนี้เข้าขั้นทะลุทะลวงเข้าในเสื้อกันหนาว จึงพอสรุปได้ว่า หนาวที่สุดก็ช่วงนี้ แต่ก็ไม่กี่วันก็คงจะจากไป เข้าสู่ฤดูร้อนแล้ว เพราะกลางวันเริ่มร้อนแบบแห้ง ๆ ดอกไม้สีเหลืองเริ่มเบ่งบานแล้วบางพื้นที่

…”

๒๔ มกราคม ๒๕๖๗

ตีหนึ่งกว่า ๆ



ความเห็น (2)

เช้านี้หนาวจริงๆค่ะอาจารย์

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
sr
เขียนเมื่อ

ชีวิต ในปี 2567 (10)

(A new series on life issues in this year) Example 10: megaprojects or Conflicts of Interest

We are currently showered with stories of Tailand’s megaprojects (such as Digital Wallet Giveaway, Ranong-Chumpon Landbridge, ‘to be number One rice-exporter’, Muay Thai softpower,…). All projects seem to need ‘large investment’ to [kick]start. A few projects ‘loans’ that will be eroding Thailand’s ability to pay for new initiatives or [emergent] needs for many generations. Digital Wallet Giveaway and Landbridge projects are of course the top talks of the town.

The reasons for these megaprojects being controversial are that benefits or return of investment are clearly not certain or worth the certain debts (large and long term loans commitments). [Current 2024] Government fails time and time again to give solid evidence of the ‘return for investment’ (of Taxpayers money). Only solid evidence that we have is that we and our children ‘will have to pay the debts’.

Many megaprojects (Thailand had initiated/participated) have or are filing for ‘geopolitical’ reasons. Take the Dawei Deep Sea Port project in Myanmar (started 2005 and faltering 2010) with support from China and Thailand (both were hoping to extend ‘business’ into the Indian Ocean Rim). Today, Thailand had finished the links from Bang Yai (Nakon Pathom)-Kanchanaburi-Nam Phu Ron (on the border). Ital-Thai construction had completed[?] a usable (mostly unsealed) road from Nam Phu Ron to Dawei. China had a rail link from Dawei to Pagan and beyond (aimed to link all the way back to China.

This illustrates ‘the waste’ of investment in megaprojects that Thailand is repeating.

[NB. Australia is building a deep sea port for $250M; Nigeria is building Lekki deep sea port for $1.5B; Thailand to build 2 deep sea ports and rail+road links for $33.8B; – perhaps the price is not right.]



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
sr
เขียนเมื่อ

ชีวิต ในปี 2567 (9)

(A new series on life issues in this year) Example 9: Infectious Diseases, Immunization and I

The COVID-19 pandemic had raised a number of issues on health and well-being of everyone and all .- The issue of man-made (man-assisted) epidemic diseases [see “หมอธีระวัฒน์” เผยความจริงต้นตอที่มาโควิด พร้อมแจงละเอียดยิบเหตุยุติวิจัยไวรัสค้างคาว https://mgronline.com/qol/detail/9670000005954 ; need 30 minutes to scan, more to really read the article]
- The advanced technologies in Immunization issues: need to vaccinate the mass in a short time, need to develop effective vaccine in a short time, need to make available the vaccines to high-risk/vulnerable people equitably, … against profiteering manipulation and corruption. [Quick actions are leaving long-term (side) effects in the population now and perhaps in generations to come.]
- What is my or your individual thought infectious diseases and immunization?
Confused? More calculative (assessing costs/benefits; but do we have factual data in understandable form)? How many times do you or I have to do this? Do government, you or I pay for possibly diseases developed by devilish some (overseas) government agencies?

Health issues are more complex and will cost more in many various forms. Is this a national problem?



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
สุจิตรา คงภักดี
เขียนเมื่อ

ช่วงนี้ฝึกความอดทนด้วยการใช้ขาเพียงข้างเดียวในการทำกิจวัตรประจำวัน.. !!!ทุกคนอย่าเพิ่งตกใจไปนะคะ ขาอีกข้างป่วยค่ะ เพราะช่วงปีใหม่ เดินหกล้มทำให้ข้อเท้าหัก ตอนนี้เลยต้องเข้าเฝือกไว้ค่ะพยายามฝึกจิตให้สงบ แต่ยังไงๆ จิตก็สงบไม่ลงค่ะ ฟุ้งกระเจิดกระเจิงเครื่องไม้เครื่องมือสำหรับพยุงร่างกายมีเต็มบ้านล่ะค่ะ



ความเห็น (1)

ขอบคุณค่ะ และสวัสดีปีใหม่ค่ะ อ.วัต

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
sr
เขียนเมื่อ

ชีวิต ในปี 2567 (8)

(A new series on life issues in this year) Example 8: Weather Watch Warning
Is it not time we learn weather language - the symbols, charts and words?
Climate Change is now impacting us severely. But we have the Bureau of Meteorology of many countries working for us. It is wise to learn to understand their language so we can ‘think’ and ‘imagine’ what weather (rains, floods, droughts, fires, winds, seas, PM2.5, UV, temperature,…) may affect our living day by day. Why don’t we make use of the information/infographics available?

  • Bad storms can disrupt phone, electricity, traffic, … our services and facilities need to respond to extreme changes in weather; floods can cut roads, electricity ( –> phone, EV, lighting, cooking,…)
  • Bad seas can disrupt fishing (food supply), shipping (goods supply), beach changes (erosion, rubbish, drownings), salt water tides (on farm land)
  • High PM2.5, high UV, high temperature, high tides,…

Are we and our emergency response teams learning to deal with Weather Watch and Warnings?



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
Lilly Chanel
เขียนเมื่อ

หมู่บ้าน ลองกอง 200 ปี บ้านซีโป “บ้านซีโป ม.3 ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ เนื่องจากเป็นหมู่บ้านเก่าแก่ มีลองกองอายุ 200 ปี ที่ตกทอดมาหลายชั่วอายุคน ชุมชนซีโป เป็นเจ้าบ้านที่ดี มีมิตรไมตรีจิตให้กับผู้มาเยือนและนักท่องเที่ยว ซึ่งจะสร้างรอยยิ้ม และความสุขบนเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถี ในพื้นที่ปลายด้ามขวานแห่งนี้ ที่ยังมีเรื่องราว และภาพลักษณ์ที่สวยงามของพื้นที่ ที่รอต้อนรับนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวด้วยความประทับใจ มีการการแสดงดิเกร์ ฮูลู กวดลองกองช่อสวย การแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน และการแสดงจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนบ้านซีโป แข่งขันนกกรงหัวจุก บรรยากาศเป็นไปอย่างคึกคัก บ้านซีโป หมู่ที่ 3 ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส ก็ยังมีร่องรอยประวัติศาสตร์ความเป็นมาของลองกองซีโป ด้วยหลักฐานที่เป็นต้นลองกองอายุกว่า 200 ปี ยืนเด่นเป็นตระหง่านและยังคงความสมบูรณ์ ให้ผลผลิตได้จนถึงปัจจุบัน ผู้บริโภคส่วนใหญ่จะรู้จักลองกองนราธิวาสในชื่อของลองกองตันหยงมัส ซึ่งมีที่มาจากการขนส่งในสมัยก่อนที่อาศัยรถไฟเป็นหลัก ตันหยงมัส เป็นตำบลหนึ่งของอำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งอำเภอระแงะนอกจากจะเป็นที่ตั้งของบ้านซีโป ต้นกำเนิดของการค้นพบลองกองแล้ว พื้นที่อำเภอระแงะ ยังมีการปลูก และเป็นแหล่งผลิตต้นกล้าพันธุ์ลองกองคุณภาพที่ส่งจำหน่ายไปทั่วประเทศ ซึ่งสามารถสร้างรายได้และหล่อเลี้ยงชีพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตลอดมาและยังมีอุทยานแห่งชาติน้ำตกซีโป เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาสของประเทศไทย มีพื้นที่ 122.74 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่สี่อำเภอของจังหวัด ได้แก่ อำเภอจะแนะ อำเภอระแงะ อำเภอรือเสาะ และอำเภอศรีสาคร ปัจจุบันอุทยานอยู่ในระหว่างการสำรวจเพื่อดำเนินการร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดเป็นอุทยานแห่งชาติต่อไป คำว่า “ซีโป” เพี้ยนมาจาก “สีโป” ซึ่งเป็นคำภาษายาวีท้องถิ่น หมายถึงต้นส้านหรือมะตาด ซึ่งมักขึ้นบริเวณน้ำตก[1]



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
sr
เขียนเมื่อ

ชีวิต ในปี 2567 (7)

(A new series on life issues in this year) Example 7: good food, good air, good water,…

  • vegan diet rich in fruits, vegetables, grains, nuts and beans is the gold standard for keeping good weight and good health,.. (see https://scitechdaily.com/replacing-animal-products-with-a-plant-based-diet-leads-to-weight-loss-finds-new-analysis/ )
  • air : good air is getting harder to find. Will we have to buy good air (in bottles) like we buy water?
    We are worried by PM2.5 – all kinds of particles (and aerosols, smogs,..) not just dirty, black tiny ‘dust’
  • water : we are already buying drinking water. But water using in cooking in restaurants and other food outlets, is it clean? No tiny plastics, no chemicals (pesticides, herbicides, toxins, heavy metals,…), no residuals of soaps, shampoos, detergents, alcohols (of the wrong kinds), harmful bacteria and virus,…

Is it our government function to ensure that we have good air, good water, good food, good and safe housing before good economy, good education, … and good government?



ความเห็น (2)

กฎหมาย PRTR เตรียมเข้าสภาฯ เปิดข้อมูลมลพิษ https://www.thaipost.net/news-update/525452/ 29/1/2567
– ร่างกฎหมาย PRTR ภาคประชาชน (Pollutant Release and Transfer Register)

นักวิชาการ มธ. เสนอกลไกทางเลือกแก้ PM 2.5 https://www.thaipost.net/general-news/526956/
There are : ร่างพ.ร.บ. อากาศสะอาด เข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร 7 ฉบับ และที่ประชุมได้มีมติรับหลักการไปแล้ว
And the alternative measure : carrot and stick .

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
Wasawat Deemarn
เขียนเมื่อ

เขียน … ที่บ้าน

“…

เจ้าน้ำตาล หมาจรที่ผมดูแลอยู่ที่คณะฯ เป็นเพื่อนกับเจ้าปีใหม่และเจ้าด่าง ได้เสียชีวิตลงในเช้ามืดของวันครู (สมกับเป็นหมาของคณะผลิตครู)

สักประมาณวันพุธที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๗ ป้าแม่บ้านผู้ดูแลมันโดยตรง ให้ข้าวให้น้ำทุกวัน บอกว่า เจ้าน้ำตาลไม่ค่อยกินอาหาร ดูซึม ๆ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๗ ผมจึงเอารถยนต์ออกเพื่อไปรับมันไปหาคุณหมอปัท หมอประจำของเจ้าปีใหม่ คุณหมอให้ยาและขอตรวจเลือด ซึ่งผลเลือดออกในวันศุกร์ที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๗ ว่า เจ้าน้ำตาลเป็นไตวายขั้นสุดท้าย

วิธีการรักษาที่ดีที่สุด คือ การให้น้ำเกลือทุกวัน พร้อมให้ยาบรรเทาอาการ แต่โรคนี้ยังไม่สามารถรักษาให้หายได้ เราทำได้เพียงให้มันไปสบายที่สุดเท่านั้น

ผมต้องพาป้าแม่บ้านกับน้อง รปภ. ที่รักเจ้าน้ำตาลมาก ๆ ไปฝึกแทงสายน้ำเกลือที่คลินิคคุณหมอปัท ๒ วัน เพราะเขาว่างตอนเย็นกัน ผมอยู่ไกลจากมอ ๕๐ กิโลเมตร ไป ๆ มา ๆ ไม่สะดวก จึงหวังให้พวกเขาช่วยดูแล เพราะอยู่ใกล้กว่า

เจ้าน้ำตาลได้รับน้ำเกลือ ตั้งแต่วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ มกราคม จนถึงวันจันทร์ที่ ๑๕ มกราคม รวมเป็นเวลา ๕ วันเท่านั้น ก็จากไป

ป้าแม่บ้าน ได้นำเจ้าน้ำตาลไปฝังไว้ใต้ต้นลมแล้ง หลังคณะ อันเป็นสถานที่ที่มันชอบไปนอนเล่น ตอนมีชีวิตอยู่

ขอให้ไปสู่สุคติ และไปเกิดในที่ดี ๆ นะเจ้าน้ำตาล

…”

๑๗ มกราคม ๒๕๖๗

๑ วันที่น้ำตาลจากไป



ความเห็น (2)

Commiserations.

I have many dog friends in my life, I know the sorry feeling when a friend is gone. I still remember them and the time we had together.

ขอบคุณมากครับ ท่าน sr ;)…

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
126-ตะวัน เเสงสุริยะ
เขียนเมื่อ

ภูเรือ - เชียงคาน หนาวสะท้านใจ (1) ทานตะวันเหลืองอร่ามที่ไร่คุณปู่



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
128-สาวิภา เกลี้ยงกมล
เขียนเมื่อ

อาจิบังราเมง เป็นอาหารที่ชอบมาก รสชาติกล่มกล่อม หากินได้ง่ายตามห้างโดยทั่วไป ร้านน่านั่งพนักงานบริการดีมาก



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
Nitichon Wengsamoot
เขียนเมื่อ

Into the forest Cafe กระบี่🍽 ร้านนี้จะมีทั้งอาหารคาวและขนมหวานเยอะแยะมากมาย วันนี้ไปทานเฉพาะขนมหวาน มีให้เลือกเยอะ รสชาติดี🌲 มุมถ่ายรูปที่ต้องไปโดนเลยคือข้างหน้าร้าน ออกแบบมาได้สวยมาก แต่ภายในร้านก็สวยไม่แพ้กันนะคะ ในร้านร่มรื่น มีพื้นที่เยอะ เหมาะสำหรับมานั่งชิลๆได้เลย



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท