เมื่อ NASA ถูกเขย่า...ด้วยความพยายามเขย่ง...ของนักฝัน


Appreciative Coaching

ต่อจากบทก่อนครับ

 

ในทางนวัตกรรม บริษัท ประเทศ องค์กรต่างๆ รู้จักใช้ประโยชน์จากการ "ประกวด" ครับ

 

เพราะมักจะได้อะไรที่นอกกรอบ เสมอ

 ..............................................................................................

อย่างกรณีนี้

 

อดีต คนต่างเชื่อกันว่า การจะไปอวกาศ ต้องเป็นเรื่อง ของ นาซ่า รัสเซีย เท่านั้น

 

แล้วก็มีคนแหกกฏ โดยเซอร์ริชาร์ด บรอนสัน นักคิด นักลุย

 

จัดการประกวด ว่าถ้าใครสามารถสร้างยานอวกาศ ด้วยงบประมาณ (ไม่สูงมากๆอย่างน่าซ่า) ได้ จะได้รางวัล 10 ล้านดออล่าร์

 

แล้วก็ได้ผลครับ มีคนคิดได้จริง Click

 

ครับตั้งแต่วันนี้น ความเชื่อที่ต้อง NASA รัสเซีย และงบประมาณแพงๆ เท่านั้น จะสร้างยานอวกาศได้  ได้กลายเป็นอดีต

 .................................................................................................

ผมเคยอ่านหนังสือด้านนวัตกรรม เขาบอกว่า ทางลัดสั้นสุด ของการสร้างนวัตกรรมอย่างก้าวกระโดด อย่างง่ายๆ คือ "การประกวด" ครับ

............................................................................................

ผมฝันเห็น

 

รายการ

 

ACADEMY Fantasia, the Star

 

ค้นฟ้าความดาวนักประดิษฐ์ นักคิดนวัตกรรมสังคม...

 

นักคิดสาระพัด

 

อะไร อีกหลายอย่าง

 

อยากเห็น The Star ด้านดาราศาสตร์

 

ด้านพลังงานทางเลือก

 

ด้านสันติศึกษา

 

ด้านจิตปัญญาศึกษา....และอื่นๆ

 ..............................................................................................

ตอนนี้เป็นตอนต่อเนื่องจาก บทความข้างล่างนี้ครับ

 

ผมกำลังบอกอะไรครับ

 

ถ้าเรามีทุนโครงสร้างดี เราจะสร้างทักษะใหม่ๆ สร้างความเป็นไปได้ใหม่ๆให้องค์กร และประเทศชาติครับ  

 

กรณีนี้ท่านเซอร์ริชาร์ด ใช้นโยบายฉลาด อย่างการประกวดครับ ทำให้เกิดก่เปลี่ยนแปลง ด้านความคิดไปเลยครับ ถึงกับจะนำไปสู้การเปลี่ยนแปลงหล่ายๆอย่าง

 

 

ตอนนี้โครงการประกวดใหม่ๆของท่าน เช่นใครเสนอวิธีการแก้โลกร้อนได้ ก็จะได้รางวัลหลายล้านครับ

 

อันนี้เป็นการกระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวอีกแบบครับ 

 

...............................................................................................

บทความเดิม

Appreciative Coachingทำไปเพื่ออะไร 

 

คำตอบ (ในมุมมองของผม) คือ

1. เพื่อให้คนค้นศักยภาพตัวเองให้เจอ ประมาณว่ามุ่งพัฒนาคนให้เก่ง ดี มีความสุข มากขึ้น  (Human Capital) เมื่อได้แล้ว ต้องยกระดับ เป็น  

2. ทำให้เขาทำงานร่วมกับคนเก่ง คนไม่เก่ง คนอื่นๆได้  แถมไปช่วยยกระดับคนอื่นได้อีก (Social Capital) 

สุดท้าย  

3. จุดประกายให้เขาพัฒนานโยบาย เอกสาร ขั้นตอนดีๆ ระบบดีๆ เพื่อทำให้ ระบบฟูมฟักสองอย่างแรก คือให้ระบบมันสร้างคนเก่ง ดี มีความสุขขึ้นมาด้วยตัวมันเอง - อันนี้หินสุด (Structural Capital) 

ตรงนี้ ในด้านสังคมถือเป็น Strcutural Capital อย่างหนึ่งครับ

คำสำคัญ (Tags): #appreciative inquiry
หมายเลขบันทึก: 357162เขียนเมื่อ 9 พฤษภาคม 2010 10:03 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 22:52 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

น่าจะมีการเลือกตั้งนายก แบบ The star นะครับ :)

ก๊อกๆๆ วันนี้ท่าน ด๊อกเตอร์..หัวเราะแล้วรึยังค่ะ

หัวเราะวันละนิดจิตแจ่มใสค่ะ

ขอบคุณมากครับครูบันเทิง ที่แวะเข้ามาเป้นกำลังใจครับ

จะยิ้มเยอๆครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท